Political Science Corner

" Educating the Mind without Educating the Heart. is no education at All " .. Aristotle


มุมรัฐศาสตร์ ?

ด้วยความที่รัฐศาสตร์เป็นสหวิทยาซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ต่างๆมากมาย

มุมรัฐศาสตร์นี้ก็เป็นมุมเล็กๆมุมหนึ่งที่ได้รวบรวมสิ่งที่ได้ี่เคยศึกษา เคยค้นคว้า

มาให้ผู้ที่สนใจศึกษาได้ใช้เป็นมุมหนึ่งในการเรียนรู้วิชารัฐศาสตร์

โดยนำเสนอแบบย่อและสามารถเข้าใจได้ไม่ยากนัก

ต้องขอขอบคุณครูอาจารย์ที่เคยให้ความรู้ และเพื่อนๆรามคำแหงที่เคยร่วมสรุปข้อมูลต่างๆร่วมกันมาตลอด

หวังว่า ณ มุมนี้ จะมีประโยชน์ต่อการค้นคว้าหาความรู้แก่ผู้ศึกษาวิชารัฐศาสตร์ในระดับต่างๆได้บ้าง

. .............. ........................Admin - .ดร.สุปรีชา หิรัญบูรณะ


สรุปย่อวิชาพื้นฐานทางรัฐศาสตร์


 

การเมืองการปกครอง

1.การศึกษารัฐศาสตร์ - ความหมายของรัฐศาสตร์, กระบวนทัศน์ ,พัฒนาการของรัฐศาสตร์ แนวการวิเคราะห์ (Approaches)

2.ปรัชญาการเมือง- นักปรัชญาการเมืองสมัยโบราณ, นักปรัชญาการเมืองตะวันตกสมัยกลาง, นักปรัชญาการเมืองตะวันตกสมัยใหม่ และ นักปรัชญาการเมืองตะวันตกสมัยปัจจุบัน

3.ประวัติศาสตร์ระบบการเมืองไทย - ประวัติศาสตร์การเมืองไทย และ ระบบพรรคการเมืองไทยกับบทบาททางการเมือง

4.การปกครองท้องถิ่นในประเทศไทย - ปัญหาของการปกครองท้องถิ่น, ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลางกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ แนวทางการพัฒนา

5.การเมืองและการปกครองเปรียบเทียบ


ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

6.ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ - สังคมชุมชนระหว่างประเทศ, ความร่วมมือ, ความขัดแย้ง

7.ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ - ทฤษฎีพึ่งพาอาศัยกัน,   ทฤษฎีบูรณาการทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ , ทฤษฎีดุลแห่งอำนาจ, ทฤษฎีบูรณาการ, ทฤษฎีสัจนิยม, ทฤษฎีสัจนิยมแนวใหม่, แนวคิดเสรีนิยม

8.ระบบการเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ -ระบบเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ, ระบบการเมืองระหว่างประเทศ, สงครามเย็น(1947-1991),ระบบการเมืองและเศรษฐกิจโลกหลังยุคสงครามเย็น


นโยบายสาธารณะ

9.นโยบายสาธารณะ -กระบวนการนโยบายสาธารณะ, การปฏิรูประบบราชการ, การพัฒนาระบบราชการไทย


อื่นๆที่เกี่ยวข้อง

10.ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์

 


 

categories


 

บทความ ( New )

1.ความมั่นคงเชิงความร่วมมือในภูมิภาคเอเชีย-ตะวันออกเฉียงใต้

2.ความมั่นคงเชิงความร่วมมือ ( Cooperative Security )

3.การจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติร่วมกันในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต

4.ทฤษฎสีรรค์สร้างนิยม (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ )

5.การฟื้นฟูวิทยาศาสตร์และศิลปะช่วยสร้างหรือทำลายศีลธรรมของมนุษย

6.ความสูญเสียของท้องถิ่นไทยภายใต้ประชาธิปไตยแบบทุนนิยมผูกขาด