| ||
     
   
   
   
. ประวัติของยูโด
. หลักการของยูโด

เครื่องแต่งกาย, สายสี
ศัพท์น่ารู้, การให้คะแนน

วิธีฝึกเบื้องต้น
ท่าทุ่มเบื้องต้น

 
.
Jigoro Kano .
ศาสตราจารย์ยิโกโร คาโน .
ผู้ให้กำเนิดวิชายูโด ณ ญี่ปุ่น
.

ศัพท์น่ารู้ในวิชายูโด
   

Judo - gi (ยูโดกิ)

Randori (แรนโดรี่)





Hajime (ฮายิเมะ)

Osaekome (โอซายโคมี)


Toketa (โทเคตะ)

Mate (มาเตะ)

Jikan (ยีกั้ง)




Sore - made (โซเรมาเดะ)


Hantei (ฮันเต)


การให้คะแนน

= เสื้อ (ชุดยูโด)

= คือการฝึกโดยการจับคู่ให้แข่งขันกัน
ให้ใช้ความฉลาด ไหวพริบ ทั้งความเร็ว
โดยให้อีกฝ่ายหนึ่งเสียหลัก หรือล้มลง
โดยท่าปัด เหวี่ยง ทุ่ม หัก หรือรัดคอ
โดยกติกามารยาทของยูโด

= ให้คู่แข่งขันเริ่มเข้าต่อสู้ได้ หรือให้ทำการแข่งขันต่อ

= เมื่อคู่แข่งขันทำท่าจับให้จำนน (ปล้ำ, ล็อค) ได้ผล
กรรมการจะสั่งให้จับเวลา

= ที่จับเวลาไว้นั้นเป็นอันยกเลิก

= กรรมการตัดสินสั่งให้หยุดการแข่งขัน

= กรรมการตัดสินจะบอกเจ้าหน้าที่จับเวลาให้หยุด
การจับเวลา เช่น กรณีสายคาดเอวหลุด
หรือเสื้อหลุดออกจากสายคาดเอว
โดยให้ผู้เล่นทำการใส่ให้เรียบร้อย

= กรรมการชี้ขาด จะสั่งเมื่อรู้ผลแพ้ชนะ เพื่อยุติการแข่งขัน
(จบการแข่งขัน)

= ให้กรรมการพิจารณาตัดสินด้วยการยกธง



Ippon (อิปป้ง)
(Full Point)













Waza - ari (วาซาอาริ)
















Yuko





Koka



= ทำคะแนนได้ 1 คะแนน โดยมีเงื่อนไข...

1.) ทุ่มคู่แข่งขันโดยหงายหลังลงกับพื้นเวทีอันถูกต้อง
ตามหลักของวิชายูโด หรือซ้อนท่าทุ่มให้หลังคู่แข่งขัน
ลงกับพื้น เต็มหลัง คือ 100%

2.) สามารถยกคู่แข่งขันขึ้นสูงประมาณเสมอไหล่ของตน
ในขณะที่คู่แข่งขันนอนหงายอยู่

3.) ท่าจับ (ล็อค) ให้จำนน โดยจับล็อคคู่แข่งขัน
ตามหลักท่าของวิชายูโด ดิ้นไม่หลุดเป็นเวลา 30 วินาที

4.) ในท่าล็อครัดคอ หรือหักแขน โดยคู่แข่งขันยอม
หรือเป็นผลทำให้คู่แข่งขันหมดสติ

= ทำคะแนนได้ครึ่งคะแนน โดยมีเงื่อนไข...

1.) ทุ่มคู่แข่งขันโดยกระทำได้ผลประมาณ 80%

2.) ในท่าจับล็อคให้จำนน โดยจับในลักษณะอันถูกต้อง
และอีกฝ่ายดิ้นไม่หลุด เป็นเวลา 25 วินาที
หรือ 25 - 29 วินาที

หมายเหตุ :
1.) ในกรณีที่คู่แข่งขันทำได้ "วาซาอาริ" อยู่แล้ว
ถ้าจับล็อคในลักษณะอันถูกต้องโดยใช้เวลาเพียง 25 วินาที
ถือเป็นชนะ 1 คะแนน

2.) ในการทำคะแนน "วาซาอาริ" ถ้าทำคะแนนได้ 2 วาซาอาริ เท่ากับ 1 อิปป้ง
(กรรมการจะสั่ง Waza - ari Awasete - Ippon)

= ทำคะแนนได้เกือบ Waza - ari การกระทำ Yuko นี้
จะทำการแข่งขันต่อไป จะทำ Yuko ได้กี่ครั้งก็ตาม
จะไม่มีค่าเท่ากับ Waza - ari
แต่จะนำจำนวนครั้ง Yuko ที่ได้ ไปช่วยพิจารณาผลแพ้ชนะ
ในกรณีที่ไม่มีการชนะโดยสมบูรณ์ (Ippon)

= การทำคะแนนได้เกือบ Yuko
(หมายเหตุ : ลักษณะเหมือน Yuko)

คุณประโยชน์ของความรู้นี้
ทั้งหมดทุกประการขออุทิศแด่...
อาจารย์ สุรใจ ลีลายุทธ
ผู้ล่วงลับ / ผู้ก่อตั้งชมรมยูโด
จังหวัดลำปาง


การบันทึกผลและการให้คะแนน
(Shido / Chui / Keikoku)

จะบันทึกผลการลงโทษ 1 ครั้งต่อการกระทำผิด 1 ครั้งเท่านั้น
ตัวอย่าง เช่น... เมื่อคู่แข่งขันถูกลงโทษ Shido (ชิโด)
จะเป็นการทำโทษในครั้งแรก เท่ากับเสียคะแนน เท่ากับ 1 Koka
ถ้ากระทำผิดอีก กรรมการจะลงโทษด้วย Chui (จุ้ย) เท่ากับเสียคะแนะะ 1 Yuko
หรือถูกลงโทษด้วย Keikoku (เคนโกกุ) เท่ากับเสียคะแนน เท่ากับ Waza - ari
หรือถ้าถูกตัดสิทธิ์ กรรมการจะสั่ง Hansoku - Make (Disqualify)
หมายเหตุ : กรณีที่คู่แข่งขันถูกทำคะแนน Waza - ari อยู่ก่อน
แล้วถูกกรรมการสั่งโทษ Keikoku
หรือในทางกลับกัน ถูกโทษ Keikoku อยู่ก่อน
แล้วถูกทุ่มได้คะแนน Waza - ari เป็นอันว่า ชนะคะแนนเต็ม Ippon
โดยถือว่าชนะโดยคะแนนสองครั้ง คือ Sogo - Gachi


* * * * * * * * *

   
 
 
   

Copyright
© 2001. SLOT dESIGN
Designed & Developed by
SLOT dESIGN
Hosted by www.Geocities.ws

1