นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ, (ว่า ๓ ครั้ง)

พุทธัง อายุวัฒนัง สังขารัง จิตตัง ยาวะนิพ พานัง สะระณัง คัจฉามิ,
ธัมมัง อายุวัฒนัง สังขารัง จิตตัง ยาวะนิพ พานัง สะระณัง คัจฉามิ,
สังฆัง อายุวัฒนัง สังขารัง จิตตัง ยาวะนิพ พานัง สะระณัง คัจฉามิ,

ทุติ ยัมปิ พุทธัง อายุวัฒนัง สังขารัง จิตตัง ยาวะนิพ พานัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติ ยัมปิ ธัมมัง อายุวัฒนัง สังขารัง จิตตัง ยาวะนิพ พานัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติ ยัมปิ สังฆัง อายุวัฒนัง สังขารัง จิตตัง ยาวะนิพ พานัง สะระณัง คัจฉามิ,

ตะติ ยัมปิ พุทธัง อายุวัฒนัง สังขารัง จิตตัง ยาวะนิพ พานัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติ ยัมปิ ธัมมัง อายุวัฒนัง สังขารัง จิตตัง ยาวะนิพ พานัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติ ยัมปิ สังฆัง อายุวัฒนัง สังขารัง จิตตัง ยาวะนิพ พานัง สะระณัง คัจฉามิ,

 

ถวายพรพระ

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน
สุคะโต โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถาเทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ,
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโกโอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติ,
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคะลา,
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลี กะระณีโย,
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ,

 

พุทธชัยมงคลคาถา

พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง, ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง,
ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ,
มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง, โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง,
ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท, ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ,
นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง, ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง,
เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท, ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ,
อุกขิตตะขัคคะมะติหัสถะสุทารุณันตัง, ธาวันติโยชะนะปะถัง คุลิมาละวันตัง,
อิทธีภิสังขะตะมาโน ชิตะวา มุนินโท, ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ,
กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา, จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ,
สันเตนะ โสมะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท, ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ,
สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง, วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันทะภูตัง,
ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท, ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิฯ
นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง, ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต,
ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ, อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท,
ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง, พรัมมัง วิสุทธิชุติมิธิพะกาภิธานัง,
ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท, ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ,
เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา, โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที,
หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ, โมกขัง สุขัง อะธิขะเมยยะ นะโร สะปัญโญฯ

 








 

 

 

 

 

 

มะหาการุณิกคาถา

มะหาการุณิโก นาโถ, หิตายะ สัพพะปาณินัง,
ปูเรตวา ปาระมี สัพพา, ปัตโต สัมโพธิมุต ตะมัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ, โหตุ เต ชะยะมังคะลัง,
ชะยันโต โพธิยา มูเล, สักยานัง นันทิวัฑฒะโน,
เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ, ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล,
อะปะราชิตะปัลลังเก, สีเส ปะฐะวิโปกขะเร,
อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง, อัคคปัตโต ปะโมทะติ,
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง, สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง,
สุขะโณ สุมุหุตโต จะ, สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ,
ปะทักขิณัง กายะกัมมัง, วาจากัมมัง ปะทักขิณัง,
ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง, ปะณิธิ เต ปะทักขิณา,
ปะทักขิณานิ กัตวานะ, ละภันตัสเถ ปะทักขิเณ ฯ

 

บารมี ๓๐ ทัศ

อิติปิ โส ภะคะวา ทานะปาระมี ทานะอุปะปาระมี
ทานะปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สีละปาระมี สีละอุปะปาระมี
สีละปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา เนกขัมมะปาระมี เนกขัมมะอุปะปาระมี
เนกขัมมะปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปัญญาปาระมี ปัญญาอุปะปาระมี
ปัญญาปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิริยะปาระมี วิริยะอุปะปาระมี
วิริยะปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ขันติปาระมี ขันติอุปะปาระมี
ขันติปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สัจจะปาระมี สัจจะอุปะปาระมี
สัจจะปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อธิษฐานะปาระมี อธิฏฐานะ อุปะปาระมี
อธิษฐานะ ปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา เมตตาปาระมี เมตตาอุปะปาระมี
เมตตาปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อุเบกขาปาระมี อุเบกขาอุปะปาระมี
อุเบกขาปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะธัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.

 

 

มงคลจักรวาฬน้อย

สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ
พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง สังฆะระตะนัง ติณณัง
ระตะนานัง อานุภาเวนะ
จะตุราสีติสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ ปิฏะกัตตะยานุภาเวนะ
ชินะสาวะกานุภาเวนะ
สัพเพ เต โรคา สัพเพ เต ภะยา สัพเพ เต อันตะรายา
สัพเพ เต อุปัทวา สัพเพ เต ทุนนิมิตตา สัพเพ เต อะวะมังคะลา วินัสสันตุ
อายุวัฑฒะโก ธะนะวัฑฒะโก สิริวัฑฒะโก ยะสะวัฑฒะโก พะละวัฑฒะโก
วัณณะวัฑฒะโก สุขะวัฑฒะโก โหตุ สัพพะทา,
ทุกขะโรคะภะยา เวรา, โสกา สัตตุ จุปัทวา,
อะเนกา อันตะรายาปิ, วินัสสันตุ จะ เตชะสา,
ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง, โสตถิ ภาคยัง สุขัง พะลัง,
สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ, โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา,
สะตะวัสสา จะ อายุ จะ, ชีวะสิทธิ ภะวันตุ เต,
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
สัพพะพุทธานุภาเวนะ, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต,
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
สัพพะธัมมานุภาเวนะ, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต,
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
สัพพะสังฆานุภาเวนะ, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

 

 

กรวดน้ำอิมินา

(นำ) หันทะมะยัง อุทิศสะนาฐิฏฐานะคาถาโย ภะณามะเส
(รับ) อิมินา ปุญญะกัมเมนะ, อุปัชฌายา คุณุตตะรา,
อาจาริยูปะการา จะ, มาตาปิตา จะ ญาตะกา (ปิยา มะมัง)
สุริโย จันทิมา ราชา, คุณะวันตา นะราปิ จะ,
พรัมมะมารา จะ อินทา จะ, โลกะปาลา จะเทวะตา,
ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ, มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ,
สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ, ปุญญานิ ปะกะตานิ เม,
สุขัง จะ ติ วิธัง เทนตุ, ขิปปัง ปาเปถะ โว มะตัง,
อิมินา ปุญญะกัมเมนะ, อิมินา อุททิเสนะ จะ,
ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ, ตัณหุปาทานะเฉทะนัง,
เย สันตาเน หินา ธัมมา, ยาวะ นิพพานะโต มะมัง,
นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ, ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว,
อุชุจิตตัง สะติปัญญา, สัลเลโข วิริยัมหินา,
มารา ละภันตุ โนกาสัง, กาตุญจะ วิริเยสุ เม,
พุทธาทิปะวะโร นาโถ, ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม,
นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ, สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง,
เตโสตตะมานุภาเวนะ, มาโรกาสัง ละภันตุ มา.


คำแผ่เมตตาให้แก่ตนเอง

อะหัง สุขิโต โหมิ, ขอให้ข้าพเจ้า จงมีความสุข
อะหัง นิททุกโข โหมิ, ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากทุกข์
อะหัง อเวโร โหมิ, ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากเวร
อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ, ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากความลำบาก
อะหัง อะนีโฆ โหมิ, ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากอุปสรรค
สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ, รักษาตนให้มีความสุขตลอดกาลนานเทอญ…


คำแผ่เมตตา

สัพเพ สัตตา, สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ
ตายด้วยกันหมดทั้งสิ้น
อะเวรา, จงเป็นสุขๆ เถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย
สัพเพ สัตตา, สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ
ตายด้วยกันหมดทั้งสิ้น
อัพยาปัชฌา, จงเป็นสุขๆ เถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและ
กันเลย
สัพเพ สัตตา, สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย
ด้วยกันหมดทั้งสิ้น
อะนีฆา, จงเป็นสุขๆ เถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย
สัพเพ สัตตา, สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย
ด้วยกันหมดทั้งสิ้น
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ, จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยอันตรายทั้งสิ้นเทอญ ฯ

บทขออุทิศส่วนกุศล

ข้าพเจ้าตั้งจิตอุทิศผล บุญกุศลนี้แผ่ไปให้ไพศาล
ถึงบิดามารดาครูอาจารย์ ทั้งลูกหลานญาติมิตรสนิทกัน
คนเคยร่วมรักสมัครใคร่ ขอให้มีส่วนได้ในกุศลผลของฉัน
ทั้งเจ้ากรรมนายเวรและเทวัญ ขอให้ท่านได้กุศลผลนี้เทอญ….

ด้วยอานุภาพแห่งบุญกุศลที่ข้าพเจ้าได้บำเพ็ญมาแล้วในวันนี้
มีศีลทาน ภาวนา เป็นต้น จงมาเป็นตบะ พลวปัจจัย เป็นอุปนิสัยตามส่ง
ให้เกิดสติปัญญาญาณ รู้แจ้งเห็นจริง ในสัจธรรมตามคำสั่งสอน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ทั้งชาตินี้และชาติหน้า ตลอดชาติอย่างยิ่ง จนถึงความพ้นทุกข์ คือพระนิพพานเทอญฯ

 


กรวดน้ำให้มาร

ปัญจะมาเร, ชิโน นาโถ, ปัตโต สัมโพ, ธิมุตตะมัง, จะตุสัจจัง,
ปะกาเสติ, มะหาเวรัง, นะมามิหัง, เอเตนะ, สัจจะวัชเชนะ,
สัพเพ มารา, ปาลายันติ


(คุกเข่า)

วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต
มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง
สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ.

 

คำกราบพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธังภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
(กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ,
(กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ,
(กราบ)
มัยหัง มาตาปิตุนัง วะปาเท, วันทา มิสาทะรัง,
(กราบ)
ปัญญาวุฒิ กะเร เต, เต ทินโนวาเท นะมามิหัง,
(กราบ)

 

--จบคำทำวัตรเช้า--


ดูกรมหาบพิตร บุรุษเข็ญใจไม่มีศรัทธา เป็นคนตระหนี่ เหนียวแน่น มีความดำริชั่ว เป็นมิจฉาทิฐิ ไม่มีความเอื้อเฟื้อ ย่อมด่า ย่อมบริภาษสมณะหรือพราหมณ์หรือวณิพกอื่นๆ เขาเป็นคนไม่มีประโยชน์ เป็นคนมักขึ้งเคียด ย่อมห้ามคนที่กำลังจะให้โภชนาหารแก่คนที่ขอ, ดูกรมหาบพิตร ผู้เป็นใหญ่ยิ่งของประชาราษฎร์ คนเช่นนั้นเมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงนรกอันร้ายแรง นี่ชื่อว่าผู้มืดแล้ว คงมืดต่อไป ฯ
ดูกรมหาบพิตร บุรุษ (บางคน) เป็นคนเข็ญใจ (แต่) เป็นคนมีศรัทธา ไม่มีความตระหนี่ เขามีความดำริประเสริฐ มีใจไม่ฟุ้งซ่าน ย่อมให้ทาน ย่อมลุกรับสมณะหรือพราหมณ์ หรือวณิพกอื่นๆ ย่อมสำเหนียกในจรรยาอันเรียบร้อย ไม่ห้ามคนที่กำลังจะให้โภชนาหารแก่คนที่ขอ ดูกรมหาบพิตรผู้เป็นใหญ่ยิ่งของประชาราษฎร์ คนเช่นนั้นเมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงไตรทิพสถาน นี่ชื่อว่าผู้มืดแล้วกลับสว่างต่อไป ฯ (พระไตรปิฏก / พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๗ สังยุตตนิกาย สคาถวรรค [๓๙๘] )

 

 

ว่าด้วยการพิจารณาเห็นขันธ์ ๕ เพื่อความหลุดพ้น

[๓๐๗] พระนครสาวัตถี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน เธอทั้งหลาย พิจารณาเห็นรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรานั่นไม่ใช่ตัวตน ของเรา ดังนี้หรือ?
ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า อย่างนั้น พระเจ้าข้า… พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดีละ ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงพิจารณาเห็นรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณนั้น ด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา ดังนี้.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ฯลฯ รู้ชัดว่า ฯลฯ กิจอื่นเพื่อความ
เป็นอย่างนี้ มิได้มี. (พระไตรปิฏก พระสุตตันตปิฎก / เล่ม ๙.๓๐๗)

 

สพฺพทานํ ธมฺมทนํ ชินาติ
การให้ธรรมเป็นทาน ชนะการให้สิ่งทั้งปวง
<< Prev : Page

อ่านต่อหน้า Next : Page 4>>

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 

หน้าแรก I ประวัติพระพุทธเจ้า I จิตตสังเขปI บวชกาย-บวชใจ I ตู่มือมนุษย์I การฝึกใจ l ธาตุ-ขันธ์-อายตนะ I โมกขุบายวิธี I เรื่องของความเกิด-ดับ

Non Copyright 2002. Buddhamamaka Home Page. All Rights Reserved. Comment or suggestion : [email protected]

Hosted by www.Geocities.ws

1