แบบทดสอบ

IDevice Question Icon Multi-Choice Question
ในการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด ไกเกอร์และมาร์เดน พบว่าเมื่อยิงอนุภาคแอลฟาไปยัง แผ่นทองคำบางๆ ปรากฏว่า อนุภาคส่วนใหญ่เคลื่อนที่เป็นเส้นตรงทะลุแผ่นทองคำไป อนุภาคอีกส่วนหนึ่งทะลุผ่านไป แต่เบี่ยงเบนไปจากแนวเส้นตรง และมีส่วนน้อยที่สะท้อนกลับ ถ้าแบบจำลองอะตอมของทอมสันถูกต้อง การทดลองเช่นเดียวกันนี้ควรได้ผลอย่างไร
  
อนุภาคทั้งหมดจะถูกสะท้อนกลับ
อนุภาคส่วนใหญ่จะถูกดูดหายไปในแผ่นทองคำ
ได้ผลการทดลองเช่นเดียวกับ รัทเทอร์ฟอร์ด  ไกเกอร์ และมาร์เดน
อนุภาคส่วนที่สะท้อนกลับจะมากกว่าในการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด ไกเกอร์ และมาร์เดน
IDevice Question Icon Multi-Choice Question
ถ้าโปรตอนและอิเล็กตรอนมีมวลเท่ากับ 1.7x10 -27 และ 9.0 x 10 -31 kg ตามลำดับ อัตราส่วน e/m ของ อิเล็กตรอนจะมีค่าเป็นกี่เท่าของอนุภาคแอลฟา 4 2 He
  
ประมาณ 4 เท่า
ประมาณ 900 เท่า
ประมาณ 1800 เท่า
ประมาณ 3700 เท่า
IDevice Question Icon Multi-Choice Question
ถ้าไอโซโทปหนึ่งของธาตุชนิดหนึ่งมีประจุในนิวเคลียสเป็น 2 เท่าของ 13 6 C และมีเลขมวลเป็น 3 เท่า ธาตุไอโซโทปนี้จะมีอนุภาคมูลฐานอย่างละกี่อนุภาค
  
อิเล็กตรอน 6 โปรตอน 12 นิวตรอน 39
อิเล็กตรอน 6 โปรตอน 2 นิวตรอน 3
อิเล็กตรอน 6 โปรตอน 12 นิวตรอน 27
อิเล็กตรอน 12 โปรตอน 12 นิวตรอน 27
IDevice Question Icon Multi-Choice Question
ถ้านำธาตุ X ไปผ่านกระบวนการอย่างหนึ่ง ซึ่งมีผลทำให้อะตอมของธาตุ X เกิดการเปลี่ยนแปลง การจะพิจารณาตัดสินว่า ธาตุ X เปลี่ยนเป็นธาตุใหม่หรือไม่ จะพิจารณาได้จากข้อใด
  
จำนวนนิวตรอนเปลี่ยนไปจากเดิม
จำนวนโปรตอนเปลี่ยนไปจากเดิม
จำนวนไอโซโทปของธาตุ X มีมากกว่าเดิม
มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงานอย่างเห็นได้ชัดเจน
IDevice Question Icon Multi-Choice Question
ถ้าไอโซโทปของธาตุชนิดหนึ่งมีประจุในนิวเคลียสเป็น 2 เท่าของประจุในนิวเคลียสของ 12C และมีเลขมวลเป็น 1.5 เท่าของ 12C ไอโซโทปนี้จะมีจำนวนอนุภาคมูลฐานอย่างละกี่อนุภาค (เลขอะตอมของ C = 6)
  
12 อิเล็กตรอน 12 โปรตอน และ 18 นิวตรอน
6 อิเล็กตรอน 12 โปรตอน และ 6 นิวตรอน
12 อิเล็กตรอน 12 โปรตอน และ 6 นิวตรอน
6 อิเล็กตรอน 12 โปรตอน และ 18 นิวตรอน
IDevice Question Icon Multi-Choice Question

ถ้าไอโซโทน คืออะตอมที่มีจำนวนนิวตรอนเท่ากัน และไอโซบาร์คืออะตอมที่มีเลขมวลเท่ากัน จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ต่อไปนี้

18 9A     

199A    

1910B    

2010B

20 11C

21 11C

21 12D

23 12D

ข้อใดไม่ถูกต้อง

  
18 9A กับ 1910B เป็นไอโซโทน แต่ไม่เป็นไอโซบาร์
199A กับ 23 12D ไม่เป็นไอโซโทน และไม่เป็นไอโซบาร์
20 11C กับ 21 11C ไม่เป็นไอโซโทน แต่เป็นไอโซโทป
2010B กับ 21 11C เป็นไอโซบาร์ แต่ไม่เป็นไอโซโทน
IDevice Question Icon Multi-Choice Question
ผลการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดในข้อใด ที่ไม่สอดคล้อง กับแบบจำลองอะตอมของทอมสัน
  
อนุภาคแอลฟาผ่านทะลุแผ่นทองคำมีลักษณะเป็นเส้นตรง
อนุภาคแอลฟาผ่านทะลุแผ่นทองคำไปได้ แต่มีการเบี่ยงเบน
อนุภาคแอลฟาวิ่งชนแผ่นทองคำ แล้วสะท้อนกลับ
อนุภาคแอลฟาบางอนุภาคถูกดูดกลืน
IDevice Question Icon Multi-Choice Question
ความแตกต่างของแบบจำลองอะตอมของทอมสัน และรัทเทอร์ฟอร์ด คือข้อใด
  
ชนิดของอนุภาคที่อยู่ในอะตอม
ตำแหน่งของอนุภาคที่อยู่ในอะตอม
จำนวนอนุภาคที่อยู่ในอะตอม
ขนาดของอนุภาคที่อยู่ในอะตอม
IDevice Question Icon Multi-Choice Question
ธาตุ A มีเลขอะตอมเท่ากับ 80 เลขมวลเท่ากับ 200 ธาตุ A จะมีจำนวนนิวตรอนเท่ากับ
  
280
200
120
80
IDevice Question Icon Multi-Choice Question
ประโยชน์ของเครื่อง แมสสเปกโตรมิเตอร์ คือ
  
หามวลอะตอม หรือ ไอออนบวก
หาจำนวนไอโซโทปของธาตุ
หาเปอร์เซ็นต์ของไอโซโทป
ถูกทุกข้อ
IDevice Question Icon Multi-Choice Question
ข้อแตกต่างของ U-234 , U-235 และ U-238 คืออะไร
  
มีเลขมวลต่างกัน เนื่องจากมีจำนวนนิวตรอนต่างกัน
เกิดปฏฺิกิริยาเคมีต่างกัน เนื่องจาก มีจำนวนอิเล็กตรอนต่างกัน
ประจุของนิวเคลียสต่างกัน เนื่องจากมีจำนวนโปรตอนต่างกัน
ถูกทุกข้อ
IDevice Question Icon Multi-Choice Question
ข้อใดคือข้อความที่ถูกต้องที่สุด   
อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีจำนวนนิวตรอนเท่ากัน
อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน มีมวลเท่ากัน
อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน มีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากัน
อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน มีเลขมวลเท่ากัน
IDevice Question Icon Multi-Choice Question
จงพิจารณาว่า ข้อใดไม่ถูกต้อง
  
จำนวนโปรตอน เรียกว่า เลขอะตอม
ผลรวมของโปรตอน และนิวตรอน เรียกว่า เลขมวล
อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีจำนวนโปรตอนและนิวตรอนเท่ากัน แต่จำนวนอิเล็กตรอนต่างกัน จึงเรียกอะตอมของธาตุเดียวกันว่า ไอโซโทป
อะตอมของธาตุชนิดหนึ่ง จะมีจำนวนโปรตอนเฉพาะตัวไม่ซ้ำกับธาตุอื่นๆ
IDevice Question Icon Multi-Choice Question
ถ้า M3+ มีอิเล็กตรอนเท่ากับ 36 อิเล็กตรอน เลขมวลของธาตุ M เท่ากับ 88 จำนวนโปรตอนและนิวตรอนของธาตุ M จะเท่ากับ
  
โปรตอน 39 นิวตรอน 52
โปรตอน 36 นิวตรอน 52
โปรตอน 39 นิวตรอน 49
โปรตอน 36 นิวตรอน 88
Hosted by www.Geocities.ws

1