ค้นว่าอยู่เล่มใด แล้วกด [ctrl]+f หรือใช้คำสั่งของเครื่องหาตำแหน่งในเล่มอีกทีนะครับ



จัดรูปหน้าใหม่
เพื่อความสะดวก และสวยงาม
(เฉพาะหน้าจอใหญ่ เช่น คอมพิวเตอร์)
กรุณาคลิก จัดรูปหน้าใหม่
เพื่อให้กรอบ
ค้นข้อความ ปรากฎที่ด้านซ้ายของหน้า

พระไตรปิฎกภาษาไทย
ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๔๕ เล่ม (ปกสีฟ้า)
ทั้งออนไลน์และออฟไลน์
ที่มาของข้อมูล : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับ มจร.
MCUTRAI Version 1.0

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓-๒ อภิธรรมปิฎกที่ ๑๐ ปัฏฐาน ภาค ๔

พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๓. ปัจจยวาร

นฌานปัจจัย มี ๖ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๒๘๗] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ)

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๒๘๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ (ย่อ)

(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๒๘๙] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานทำสภาวธรรมที่ระคน
กับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (ย่อ) มี ๓ วาระ
(เหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๖๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานทำสภาวธรรมที่ไม่ระคนกับ
จิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
ทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูป) (๑)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานทำสภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิต
และมีจิตเป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์ทำ
จิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ) มี ๓ วาระ (๓)
[๒๙๐] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานทำสภาวธรรมที่
ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็น
สมุฏฐานและทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑
ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานทำสภาวธรรมที่ระคนกับจิต
มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ รูปที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานทำขันธ์ที่ระคนกับจิตมี
จิตเป็นสมุฏฐานและทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น รูปที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็น
สมุฏฐานทำขันธ์ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
จิตทำขันธ์ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
(ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๓ วาระ) (๒)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน
ทำสภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และรูปที่ระคนกับจิต
มีจิตเป็นสมุฏฐานทำขันธ์ ๑ ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและทำจิตให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตทำขันธ์ ๑ ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็น
สมุฏฐานและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (ในปฏิสนธิขณะ
พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๖๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๓. ปัจจยวาร
อารัมมณปัจจัย
[๒๙๑] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานทำสภาวธรรมที่ระคน
กับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
(เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานทำสภาวธรรมที่ไม่ระคน
กับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่
จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำกายายตนะ ฯลฯ
จิตทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานทำสภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิต
และมีจิตเป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยจักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำกายายตนะ ฯลฯ
สัมปยุตตขันธ์ทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ) (๒)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน
ทำสภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำกายายตนะ ฯลฯ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๑ วาระ) (๓)
[๒๙๒] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานทำสภาวธรรมที่
ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ
จักขายตนะและทำจักขุวิญญาณให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็น
สมุฏฐานและทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑
ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๖๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานทำสภาวธรรมที่ระคนกับจิต
มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและทำ
จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ จิตทำขันธ์
ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ในปฏิสนธิขณะ
พึงเพิ่มเป็น ๑ วาระ) (๒)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน
ทำสภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตทำขันธ์ ๑
ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๑ วาระ ย่อ) (๓)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๒๙๓] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
[๒๙๔] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานทำสภาวธรรมที่ระคน
กับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย (โดยนัยนี้ พึง
เพิ่มเป็น ๙ วาระ ในปัจจยวารพึงเพิ่มปัญจวิญญาณ เฉพาะ ๓ วาระ มีโมหะ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๖๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๒๙๕] นเหตุปัจจั มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และนิสสยวารพึงทําอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๖๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๒๙๖] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ เกิดระคน
กับขันธ์ ๑ ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน ... เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตเกิดระคนกับขันธ์ที่
ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน
เกิดระคนกับสภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๒ และจิตเกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน ...
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่
ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์เกิดระคน
กับจิต ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่
ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน และที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเกิด
ระคนกับจิต ... เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๖๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๒๙๗] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๕ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
[๒๙๘] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเพราะนเหตุปัจจัย (ย่อ เฉพาะ ๓ วาระ มีโมหะ)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๒๙๙] นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๕ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวารพึงทําอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๖๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๐๐] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ระคนกับจิตและมีจิต
เป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่ม
บทที่เป็นมูล) เหตุที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่จิตและจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่ระคน
กับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิต และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

อารัมมณปัจจัย
[๓๐๑] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภ
ขันธ์ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน ขันธ์ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานจึง
เกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน
จิตจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็น
สมุฏฐาน จิตและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจาก
มรรคแล้ว พิจารณามรรค ฯลฯ พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู
ฯลฯ (ย่อ พึงเพิ่มให้เหมือนกับอารัมมณปัจจัยในจิตตสหภูทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน
มี ๙ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๖๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อธิปติปัจจัย
[๓๐๒] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มอธิปติปัจจัยเป็น ๒ วาระ) (๓)
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มอธิปติปัจจัยเป็น ๒ วาระ) (๓)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ (พึงเพิ่มอธิปติปัจจัยอย่างเดียวเท่านั้น มี ๙ วาระ
พึงเพิ่มเหมือนจิตตสหภูทุกะไม่มีข้อแตกต่างกัน)

อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๐๓] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอนันตรปัจจัย (มี ๙ วาระ เหมือนกับ
จิตตสหภูทุกะ) เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยสหชาต-
ปัจจัย มี ๙ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย
มี ๙ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
(เหมือนกับปัจจยวาร) เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย (มี ๙ วาระ เหมือนกับ
จิตตสหภูทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)

ปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๓๐๔] สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง
คือ อารัมมณปุเรชาตะ และวัตถุปุเรชาตะ มี ๓ วาระ (เหมือนกับจิตตสหภูทุกะ
ไม่มีข้อแตกต่างกัน)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๗๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยปัจฉาชาตปัจจัย (เหมือนกับจิตตสหภูทุกะ
ไม่มีข้อแตกต่างกัน ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ มี ๒ วาระ สภาวธรรมที่มีมูลเดียว
มี ๑ ฆฏนา) เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ

กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๓๐๕] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับจิตต-
สหภูทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน สหชาตะ และนานาขณิกะ มี ๓ วาระ) เป็นปัจจัย
โดยวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ (เหมือนกับ
ข้อความในจิตตสหภูทุกะ กวฬิงการาหารมีอย่างเดียวเท่านั้น)

เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ

วิปปยุตตปัจจัย
[๓๐๖] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ
ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๗๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ระคนกับจิต
และมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณโดย
วิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ระคนกับ
จิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือสหชาตะ และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์
โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์โดย
วิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตต-
ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือสหชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ)

อัตถิปัจจัย
[๓๐๗] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปัจฉาชาตะ (ย่อ)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย
(เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๗๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (ปัจจัยนี้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย พึงเพิ่ม
ปุเรชาตปัจจัยที่ย่อไว้ทั้งหมด พึงขยายให้พิสดาร) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ จิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
จิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ (ปัจจัยนี้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ไม่มีข้อแตกต่างกัน) (๒)
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน และที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ จิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิ-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ จิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ (ปัจจัยนี้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย) (๓)
[๓๐๘] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิต
เป็นสมุฏฐาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขุวิญญาณเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ
และจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๗๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ขันธ์ ๑ ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน และจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่ม
เป็น ๒ วาระ) (๑)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่ระคน
กับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน และจิตเป็นปัจจัยแก่รูปที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็น
สมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและมหาภูตรูปเป็น
ปัจจัยแก่รูปที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ที่ระคนกับจิต
มีจิตเป็นสมุฏฐานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอัตถิปัจจัย (ในปฏิสนธิขณะ
พึงเพิ่มเป็น ๓ วาระ)
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน และจิตเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน จิตและกวฬิงการา-
หารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน จิตและรูปชีวิตินทรีย์
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิต
เป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วย
กายวิญญาณ ฯลฯ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๗๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน และจิตเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่ระคน
กับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตโดยอัตถิปัจจัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ) (๓)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๐๙] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๗๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๑๐] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสย-
ปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน และที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
[๓๑๑] สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย
อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ระคน
กับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน และที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๗๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๓๑๒] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิต
เป็นสมุฏฐาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิต
เป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๓๑๓] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๓๑๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๓ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๗๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๔. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๓๑๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา)
จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ จบ

๖๔. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูทุกะ
๑. ปฏิจจวาร
เหตุปัจจัย
[๓๑๖] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเกิดพร้อมกับจิต
อาศัยสภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเกิดพร้อมกับจิตเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและ
เกิดพร้อมกับจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(แม้ทุกะนี้ ก็เหมือนกับจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๗๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๖๕. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติทุกะ
๑. ปฏิจจวาร
เหตุปัจจัย
[๓๑๗] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเป็นไปตามจิตอาศัย
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเป็นไปตามจิตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเป็นไปตามจิต
เกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(แม้ทุกะนี้ ก็เหมือนกับจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติทุกะ จบ

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๑๘] สภาวธรรมที่เป็นภายในอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เป็นภายในอาศัยจิตเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็นภายนอกอาศัยจิตเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายใน
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็น
ภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยจิตเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๗๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓๑๙] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอก
เกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปที่
เป็นภายนอกอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตอาศัยขันธ์ที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ จิตและกฏัตตารูปที่
เป็นภายในอาศัยขันธ์ที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ จิตอาศัยหทัยวัตถุที่
เป็นภายนอกเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอก
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ จิตและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นภายนอกเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ จิตและ
กฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จิตและสัมปยุตตขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)
[๓๒๐] สภาวธรรมที่เป็นภายในอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เป็นภายใน
อาศัยจิตและสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นภายนอกและอาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยจิตและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปที่เป็น
ภายนอกอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกและอาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นภายนอกอาศัยจิตและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่
เป็นภายนอกอาศัยจิตและหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๘๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก อาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายใน
และที่เป็นภายนอกเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และ
กฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกและอาศัย
จิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

อารัมมณปัจจัย
[๓๒๑] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
สัมปยุตตขันธ์อาศัยจิตเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น ... อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตอาศัยขันธ์ที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
จิตอาศัยขันธ์ที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ จิตอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอก
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาย
นอกเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิตอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
จิตและสัมปยุตตขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอก อาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกและ
อาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นภายนอกและอาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกอาศัยจิตและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (ย่อ) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๘๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๒๒] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๕ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๘๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๓๒๓] สภาวธรรมที่เป็นภายในอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ กฏัตตารูปที่เป็นภายในอาศัยจิต
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตที่เป็นอเหตุกะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ที่เป็นอเหตุกะ สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็นภายนอกอาศัยจิตเกิดขึ้น โมหะ
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยจิตที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูป
ที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยจิตเกิดขึ้น (๓)
[๓๒๔] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งเป็น
ภายนอกเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งเป็นภายนอกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
จิตและกฏัตตารูปที่เป็นภายในอาศัยขันธ์ที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่
เป็นอเหตุกะ จิตอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอก
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ จิตและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่มีเหตุซึ่งเป็นภายนอกเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๘๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
อเหตุกะ ขันธ์ ๒ จิตและกฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ จิตและสัมปยุตตขันธ์อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)
[๓๒๕] สภาวธรรมที่เป็นภายในอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ กฏัตตารูป
ที่เป็นภายในอาศัยจิตและสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มี
เหตุซึ่งเป็นภายนอกและอาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยจิตที่เป็นอเหตุกะและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปที่เป็นภายนอกอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกและอาศัยจิต
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ กฏัตตารูปที่เป็นภายนอกอาศัยจิตและ
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่เป็นภายนอกอาศัยจิตและ
หทัยวัตถุเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและอาศัยจิตเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายใน
และที่เป็นภายนอกเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอก
และอาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

นอารัมมณปัจจัย
[๓๒๖] สภาวธรรมที่เป็นภายในอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เป็นภายในอาศัยจิตเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป
ที่เป็นภายนอกอาศัยจิตเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๘๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในเกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกอาศัยจิตเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เป็นภายนอกอาศัยขันธ์ที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น หทัยวัตถุ
อาศัยขันธ์ที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความ
จนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เป็นภายในอาศัยขันธ์ที่เป็น
ภายนอกเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอก
เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เป็นภายใน
และที่เป็นภายนอกอาศัยขันธ์ที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น (๓)
[๓๒๗] สภาวธรรมที่เป็นภายในอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เป็น
ภายในอาศัย จิตและสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นภายนอกและ
อาศัยจิตเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (ในปฏิสนธิขณะ
พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในและ
ที่เป็นภายนอกเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่
เป็นภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยจิตและสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น ฯลฯ (ย่อ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๘๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
นฌานปัจจัย
[๓๒๘] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในเกิดขึ้น
เพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยจักขุวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
กายวิญญาณ ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกเกิดขึ้นเพราะ
นฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณเกิดขึ้น ...
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ฯลฯ
ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นภายในอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกเกิดขึ้นเพราะ
นฌานปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ
กายวิญญาณอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอก
เกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยจักขุวิญญาณเกิดขึ้น ...อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
กายวิญญาณ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
เกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
จักขุวิญญาณและอาศัยจักขุวิญญาณเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วย
กายวิญญาณ (พึงผูกเป็นจักกนัย)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๓๒๙] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๘๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๕ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๓๓๐] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ (ย่อ)

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๓๓๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ (ย่อ)

(แม้สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๘๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๓๒] สภาวธรรมที่เป็นภายในทำสภาวธรรมที่เป็นภายในให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกทำสภาวธรรมที่เป็นภายนอกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอก
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ
จนถึงมหาภูตรูปภายใน) ขันธ์ที่เป็นภายนอกทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นภายในทำสภาวธรรมที่เป็นภายนอกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตทำขันธ์ที่เป็นภายนอกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกทำสภาวธรรมที่เป็นภายนอกให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑
ที่เป็นภายนอกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตและสัมปยุตตขันธ์
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ) (๓)
[๓๓๓] สภาวธรรมที่เป็นภายในทำสภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เป็น
ภายในทำจิตและสัมปยุตตขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกทำสภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็น
ภายนอกและทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำจิตและมหาภูตรูป
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นภายนอกทำจิตและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
(ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๓ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๘๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกทำสภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และ
กฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกทำขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกและทำจิตให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

อารัมมณปัจจัย
[๓๓๔] สภาวธรรมที่เป็นภายในทำสภาวธรรมที่เป็นภายในให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ทำกายายตนะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกทำสภาวธรรมที่เป็นภายในให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณทำจักขายตนะและทำ
จักขุวิญญาณให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำกายายตนะ ฯลฯ สัมปยุตตขันธ์ทำ
จิตให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกทำสภาวธรรมที่เป็นภายในให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ทำ
จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำกายายตนะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกทำสภาวธรรมที่เป็นภายนอกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัยได้แก่ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นภายนอกทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นภายในทำสภาวธรรมที่เป็นภายนอกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตทำขันธ์ที่เป็นภายนอกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกทำสภาวธรรมที่เป็นภายนอกให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๑ วาระ ฯลฯ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๘๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
[๓๓๕] สภาวธรรมที่เป็นภายในทำสภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำขันธ์ที่สหรคตด้วย
จักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ
ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกทำสภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยจักขุวิญญาณทำจักขายตนะและจักขุวิญญาณให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอก
และทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นภายนอกทำจิต
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกทำสภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ
ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ...
ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (ย่อ) (๓)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๓๓๖] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ l/r
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระl/r
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระl/r
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระl/r
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระl/r
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระl/r
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระl/r
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระl/r
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระl/r


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๙๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๓. ปัจจยวาร

ปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๓๓๗] สภาวธรรมที่เป็นภายในทำสภาวธรรมที่เป็นภายในให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ กฏัตตารูปที่เป็นภายใน
ทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ)
(พึงทําเป็น ๙ วาระอย่างนี้ พึงเพิ่มปัญจวิญญาณด้วย เฉพาะ ๓ วาระ มีโมหะ)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๓๘] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๙๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และนิสสยวารพึงทำอย่างนี้)

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๓๓๙] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นภายในเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์เกิดระคนกับจิต ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์
เกิดระคนกับจิต (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นภายนอกเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอก ... เกิดระคนกับ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นภายใน เกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นภายนอกเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นภายนอก ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๙๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็น
ภายนอกเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตเกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอก
... เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอก
และระคนกับจิต ... เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (ย่อ)

เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๕ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงเพิ่มบทอนุโลม)

สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นภายในเพราะนเหตุปัจจัย
(พึงเพิ่มเป็น ๕ วาระอย่างนี้ เฉพาะ ๓ วาระ มีโมหะ)

นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๕ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงเพิ่มบทปัจจนียะ)

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้ และสัมปยุตตวาร พึงทำอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๙๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๔๐] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็นภายนอกโดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอก เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่
เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตและกฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอก เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
จิตและจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นภายนอก
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิตและกฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกโดย
เหตุปัจจัย (๓)

อารัมมณปัจจัย
[๓๔๑] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภจิต จิตจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
เพราะปรารภจิต ขันธ์ที่เป็นภายนอกจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภจิต
จิตและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๙๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
จึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน
ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และ อาวัชชนจิต โดยอารัมมณปัจจัย
พระอริยะพิจารณากิเลสที่เป็นภายนอก ซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว
รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งรูป ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่เป็นภายนอก
โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียง
ด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นภายนอกด้วย
เจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะเป็น
ปัจจัย แก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสา-
นุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณ-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น ยินดี
เพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น จิตจึงเกิดขึ้น บุคคล
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ฯลฯ
(ย่อ พึงเพิ่มข้อความทั้งหมด) พระอริยะรู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งรูป
ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินรูปเป็นต้นนั้น จิตจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฯลฯ (ย่อ) รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ
ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติ-
ญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ
แล้วพิจารณากุศลนั้น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๙๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
จิตและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (ย่อ พึงเพิ่มข้อความทั้งหมด) บุคคลเห็นแจ้งขันธ์
ที่เป็นภายนอก โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น จิตและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วย
ทิพพจักขุ ฯลฯ (ย่อ) รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ภายในโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

อธิปติปัจจัย
[๓๔๒] สภาวธรรมที่เป็นภายใน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทําขันธ์ที่เป็นภายใน
และจิตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น จิตจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายใน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทําจิตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่
เป็นภายนอกจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมคือจิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทําจิตที่เป็นภายในให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
จิตและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอก เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๙๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ มี ๓ วาระ (สําหรับวาระ
แม้ทั้ง ๓ พึงเพิ่มอธิปติปัจจัยทั้ง ๒) (๓)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ภายในโดยอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ (สําหรับวาระแม้ทั้ง ๓ มีอธิปติปัจจัยเพียง
อย่างเดียวเท่านั้น)

อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๔๓] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ จิตที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตปัจจัย
มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นภายนอก เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายนอกซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ มี ๓ วาระ
(สําหรับวาระแม้ทั้ง ๓ ก็เหมือนกับวาระเดียวกัน)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ภายในโดยอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ

เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ (เหมือนกับปัจจยวาร)

อุปนิสสยปัจจัย
[๓๔๔] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะและ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๙๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ จิตเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นภายนอก เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ มีมานะ ถือทิฏฐิ
อาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงทําให้ครบทั้ง ๓ วาระ
พึงเพิ่มคำว่า จิตและสัมปยุตตขันธ์ด้วย)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ภายในโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ

ปุเรชาตปัจจัย
[๓๔๕] สภาวธรรมที่เป็นภายใน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายใน
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น
จิตจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายใน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดย
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดี ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ
ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๙๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น จิตและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์
ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์โดยปุเรชาตปัจจัย (๓)
[๓๔๖] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทัย
วัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นภายนอกโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ
หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภการเห็นแจ้งรูปเป็นต้นนั้น
จิตจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ
หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น จิตและ
สัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๙๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์โดย
ปุเรชาตปัจจัย (๓)
[๓๔๗] สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นภายในโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิต ฯลฯ กายายตนะและ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยปุเรชาตปัจจัย รูปายตนะและจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ภายนอกโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
ได้แก่ จักขายตนะและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นภายนอกโดยปุเรชาตปัจจัย
ฯลฯ กายายตนะและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นภายนอกโดยปุเรชาตปัจจัย
รูปายตนะและจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณโดย
ปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยกายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ภายในและที่เป็นภายนอกโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ
และวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์
โดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะและหทัยวัตถุ ฯลฯ รูปายตนะและจักขายตนะ
เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์โดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ (๓)

ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๓๔๘] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็นภายในโดยปัจฉาชาตปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๐๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็นภาย
นอกโดยปัจฉาชาตปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็น
ภายในและเป็นภายนอกโดยปัจฉาชาตปัจจัย (พึงเพิ่มเป็น ๙ วาระอย่างนี้)
เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย (พึงเพิ่มเป็น ๙ วาระ)

กัมมปัจจัยและวิปากปัจจัย
[๓๔๙] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากซึ่งเป็นภายนอกและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตโดยกัมมปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิต และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๐๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก จิต
และกฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกโดยกัมมปัจจัย (๓) เป็นปัจจัยโดย
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ

อาหารปัจจัย
[๓๕๐] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย
อาหารปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป
ที่เป็นภายในโดยอาหารปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายใน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดยอาหารปัจจัย
ได้แก่ อาหารที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
กฏัตตารูปที่เป็นภายนอกโดยอาหารปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ในปฏิสนธิขณะ
อาหารที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่
เป็นภายนอกโดยอาหารปัจจัย (๓)
[๓๕๑] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก
โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหารที่เป็น
ภายนอกเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นภายนอกโดยอาหารปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยอาหารปัจจัย
ได้แก่ อาหารที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
อาหารที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตและกฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยอาหารปัจจัย
กวฬิงการาหารที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นภายในโดยอาหารปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
จิต และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เป็นภายนอก

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๐๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิต และกฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
โดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหารที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นภายในและ
ที่เป็นภายนอกโดยอาหารปัจจัย (๓)
[๓๕๒] สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นภายในโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เป็นภายในและที่
เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยอาหารปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ภายนอกโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
อาหารที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่
เป็นภายนอกโดยอาหารปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ภายในและที่เป็นภายนอกโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เป็น
ภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็นภายใน
และที่เป็นภายนอกโดยอาหารปัจจัย (๓)

อินทรียปัจจัย
[๓๕๓] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย
อินทรียปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป
ที่เป็นภายในโดยอินทรียปัจจัย จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดยอินทรียปัจจัย
ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
กฏัตตารูปที่เป็นภายนอกโดยอินทรียปัจจัย จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต
ด้วย จักขุวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยกายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๐๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกโดยอินทรียปัจจัย
จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์โดยอินทรียปัจจัย (๓)
[๓๕๔] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก
โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็นภายนอกเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็นภายนอกโดยอินทรียปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายนอกโดยอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยอินทรียปัจจัย
ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
อินทรีย์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตและกฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยอินทรียปัจจัย
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยอินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
จิต และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็นภายนอก
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิต และกฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
โดยอินทรียปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกโดยอินทรียปัจจัย (๓)
[๓๕๕] สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นภายในโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็นภายในและที่
เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยอินทรียปัจจัย จักขุนทรีย์และ
อุเปกขินทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์และ
สุขินทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์และทุกขินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอินทรีย-
ปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๐๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ภายนอกโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่
เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็น
ภายนอกโดยอินทรียปัจจัย จักขุนทรีย์และอุเปกขินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยจักขุวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์และสุขินทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์
และทุกขินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ภายในและที่เป็นภายนอกโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็น
ภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็นภายใน
และที่เป็นภายนอกโดยอินทรียปัจจัย จักขุนทรีย์และอุเปกขินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์โดยอินทรียปัจจัย กายินทรีย์ ฯลฯ (๓)

ฌานปัจจัยเป็นต้น
[๓๕๖] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก
โดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ

เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ

วิปปยุตตปัจจัย
[๓๕๗] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ จิตเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในโดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๐๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็น
ภายในโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ
ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็น
ภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่
เป็นภายในและที่เป็นภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์
ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็น
ภายในและเป็นภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
[๓๕๘] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก
โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
วิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๐๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็น
ภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป
ที่เป็นภายในโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็น
ภายในโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
(ย่อ) (๓)
[๓๕๙] สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นภายในโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ... ที่เกิดภายหลัง (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายใน
และที่เป็นภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก ฯลฯ
(ย่อ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๐๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๓๖๐] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย
อัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ จิตเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในโด
ยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
(ปัจจัยนี้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
ปัจฉาชาตะ (พึงเพิ่มให้เหมือนกับปัจฉาชาตปัจจัย) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดยอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เกิดพร้อมกันซึ่งเป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย (ย่อ) (๒)
(อัตถิปัจจัยในที่นี้ สหชาตะในที่ทุกแห่งพึงทําให้เหมือนกับปัจจยวาร ทํา
ปุเรชาตะให้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ทําปัจฉาชาตะให้เหมือนกับปัจฉาชาตปัจจัย
ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
โดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
(ย่อ) (๓)
[๓๖๑] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก
โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ (พึงขยายให้พิสดารทั้งหมด) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ) (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ (ย่อ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๐๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๓๖๒] สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นภายในโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็น
ภายในโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ
กายายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอัตถิปัจจัย รูปายตนะและจักขายตนะ
เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนซึ่งเป็นภายในโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในที่เป็นภายนอกและกวฬิงการาหารเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็นภายในโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในที่เป็นภายนอกและรูปชีวิตินทรีย์เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ภายนอกโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ จักขายตนะ และ
จักขุวิญญาณเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ (สหชาตะเหมือนกับ
ปัจจยวาร ไม่มีข้อแตกต่างกัน เหมือนกับข้อความตอนต้นนั่นเอง พึงจําแนกหมด
ทุกบทโดยนัยแห่งฆฏนาแรก) (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๐๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ภายในและที่เป็นภายนอกโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย (ย่อ พึงจําแนกหมดทุกบท
โดยนัยแห่งฆฏนาแรก) (๓)
เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๖๓] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๑๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๖๔] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายใน
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย และ
ปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย และ
ปัจฉาชาตปัจจัย (๓)
[๓๖๕] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๑๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย
อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๓)
[๓๖๖] สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นภายในโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ภายนอกโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายใน
และที่เป็นภายนอกโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๓)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๓๖๗] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๓๖๘] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๑๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๓ วาระ)

นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๓๖๙] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

อัชฌัตติกทุกะ จบ

๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๗๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๑๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒
อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่
เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๓๗๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๑๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป อาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๑)

อธิปติปัจจัย
[๓๗๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่
เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

เพราะอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
เพราะสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
เพราะสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ

อัญญมัญญปัจจัย
[๓๗๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูป

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๑๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
สําหรับอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัย
มหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
และหทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (ย่อ) (๑)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๗๔] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๑๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๕ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๕ วาระ)

สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๓๗๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญ-
สัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒
อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๑๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุ
ซึ่งไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความ
จนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่
เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็น
อุปาทายรูปเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๑)

นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๓๗๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๑๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูป
และที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๓)

เพราะนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
เพราะนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
เพราะนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
เพราะนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ

นกัมมปัจจัย
[๓๗๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้น ที่เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปที่เป็นภายนอก ที่มีอาหาร
เป็นสมุฏฐาน มีอุตุเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๓ และอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นภายนอก มีอาหารเป็นสมุฏฐาน มีอุตุเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๑๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
นวิปากปัจจัย
[๓๗๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัย
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม โดยนัยนี้ มี ๓ วาระ
ในสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นมูล)

นอาหารปัจจัย
[๓๗๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ของเหล่าอสัญญสัตตพรหม
ที่เป็นภายนอก ซึ่งมีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปของเหล่าอสัญญสัตตพรหม
ที่เป็นภายนอก ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๓ และอุปาทายรูป
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ของเหล่าอสัญญสัตตพรหมที่เป็นภายนอก ที่มีอุตุเป็น
สมุฏฐาน ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ (๓)

นอินทรียปัจจัย
[๓๘๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นภายนอก ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะ
นอินทรียปัจจัย ได้แก่ รูปชีวิตินทรีย์อาศัยมหาภูตรูปของเหล่าอสัญญสัตตพรหมที่
เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่
เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๓)

นฌานปัจจัยเป็นต้น
[๓๘๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
ปัญจวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ของเหล่าอสัญญสัตตพรหมที่
เป็นภายนอก ซึ่งมีอาหารเป็นสมุฏฐาน มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ มหาภูตรูป ๒
อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปของเหล่า
อสัญญสัตตพรหมที่เป็นภายนอก ซึ่งมีอาหารเป็นสมุฏฐาน มีอุตุเป็นสมุฏฐาน
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑
ของเหล่าอสัญญสัตตพรหมที่เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็น
สมุฏฐานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป
และอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ

นวิปปยุตตปัจจัยเป็นต้น
[๓๘๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ของเหล่า
อสัญญสัตตพรหมที่เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป และอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูปของเหล่าอสัญญสัตตพรหมที่เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน
ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๓ และอุปาทายรูป
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน
เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ และอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น
สําหรับอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป
อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย (๓)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๘๓] นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๓๘๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ ฯลฯ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๓๘๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๓. ปัจจยวาร

สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

๖๗. อุปาทาทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๘๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
(บทที่มีสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นมูล มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาร
ไม่มีข้อแตกต่างกัน) (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๓. ปัจจยวาร
อารัมมณปัจจัย
[๓๘๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(ย่อ) (๑)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๘๘] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๓. ปัจจยวาร

อัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๓๘๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปให้
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่ง
ไม่เป็นอุปาทายรูปทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจจัย
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวารไม่มีข้อแตกต่างกัน) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่
สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็น
อุปาทายรูปและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิ-
ขณะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ

นกัมมปัจจัยเป็นต้น
[๓๙๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาทำขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน
ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ทำมหาภูตรูป ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ อุปาทายรูปทำมหาภูตรูปที่เป็นภายนอก ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๓ และ
อุปาทายรูปทำมหาภูตรูป ๑ ... ที่เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุ
เป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
ทำขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

เพราะนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
เพราะนอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
เพราะนอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ

นฌานปัจจัยเป็นต้น
[๓๙๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ของเหล่าอสัญญสัตตพรหมที่เป็น
ภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ มหาภูตรูป ๒
ทำมหาภูตรูป ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปของเหล่า
อสัญญสัตตพรหมที่เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๓ และ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูป ๑ ของเหล่าอสัญญสัตตพรหมที่เป็น
ภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ทำมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

เพราะนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
เพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
เพราะโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
เพราะโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๙๒] นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
นกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๕ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และนิสสยวาร พึงทําอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๙ }


๖๗. อุปาทาทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๓๙๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (ย่อ)

เหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ

อนุโลม จบ

สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็น
อุปาทายรูป ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (ย่อ)

นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงทําอย่างนี้)

๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๙๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็น
อุปาทายรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและ
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดย
เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

อารัมมณปัจจัย
[๓๙๕] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กาย ฯลฯ รูป ฯลฯ
รส และหทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูป

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
รสายตนะเป็นปัจจัยแก่ชิวหาวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เป็นอุปาทายรูปเป็น
ปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณา
กุศลนั้น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะจึง
เกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ
ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล
พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่ม
ได้แล้ว ฯลฯ รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งโผฏฐัพพะและขันธ์ที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของ
บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิต ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปด้วยเจโตปริยญาณ
อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ
เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)

อธิปติปัจจัย
[๓๙๖] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดี
เพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ กาย ฯลฯ รูป ฯลฯ รส และหทัยวัตถุให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณา
กุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทำความยินดี
เพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ฯลฯ
พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
พิจารณาผล ฯลฯ พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็น
ปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลิน
โผฏฐัพพะ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว เพราะทำ
ความยินดีเพลิดเพลินโผฏฐัพพะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและ
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่
เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)

อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๙๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็น
ปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร)
... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร)
... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย (เหมือนกับนิสสยปัจจัย ในปัจจยวาร)

อุปนิสสยปัจจัย
[๓๙๘] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยจักขุสมบัติ ฯลฯ กายสมบัติ วรรณสมบัติ
สัททสมบัติ คันธสมบัติ รสสมบัติ และโภชนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์
จักขุสมบัติ ฯลฯ กายสมบัติ วรรณสมบัติ สัททสมบัติ คันธสมบัติ รสสมบัติ
และโภชนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ฯลฯ ความ
ปรารถนา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ
ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)

ปุเรชาตปัจจัย
[๓๙๙] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ รสายตนะเป็นปัจจัยแก่
ชิวหาวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
โดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้ง
โผฏฐัพพะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ โผฏฐัพพายตนะและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
โดยปุเรชาตปัจจัย โผฏฐัพพายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)

ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๔๐๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งไม่เป็นอุปาทายรูปโดยปัจฉาชาตปัจจัย
(พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
เป็นอุปาทายรูปโดยปัจฉาชาตปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๓)
เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
กัมมปัจจัย
[๔๐๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
และกฏัตตารูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปโดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่
เป็นอุปาทายรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
ภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและ
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยกัมมปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)

วิปากปัจจัย
[๔๐๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่เป็นอุปาทายรูปเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อาหารปัจจัย
[๔๐๓] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทายรูปโดย
อาหารปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอาหารปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอาหารปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(บทที่มีสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นมูล มี ๓ วาระ ในปฏิสนธิขณะ ก็พึง
เพิ่มเป็น ๓ วาระ) (๓)

อินทรียปัจจัย
[๔๐๔] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป
โดยอินทรียปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่
ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอินทรียปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอินทรียปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
โดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทายรูปโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ จักขุนทรีย์และจักขุวิญญาณเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ฌานปัจจัยเป็นต้น
[๔๐๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ

เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ

วิปปยุตตปัจจัย
[๔๐๖] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็น
อุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
เป็นอุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
และที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็น
อุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)

อัตถิปัจจัย
[๔๐๗] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อาหาระและอินทรียะ ได้แก่ กวฬิงการาหาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดย
อัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ (ย่อปัจจัย
นี้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ไม่มีข้อแตกต่างกัน) กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่
ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อาหาระและอินทรียะ ได้แก่
กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดย
อัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๔๐๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ
มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดยอัตถิปัจจัย (พึงเพิ่มข้อความจน
ถึงอสัญญสัตตพรหม)
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งโผฏฐัพพะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็น
อุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและ
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๔๐๙] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
อัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ โผฏฐัพพายตนะและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
โดยอัตถิปัจจัย โผฏฐัพพายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะ
อาหาระและอินทรียะ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๓)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๑๐] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๖ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๔๑๑] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
โดยอาหารปัจจัยและอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย อาหารปัจจัย
และอินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่
ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอาหารปัจจัยและอินทรียปัจจัย (๓)
[๔๑๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปโดย
สหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและ
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทายรูปโดยปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยสหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย
และอินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และ
อินทรียปัจจัย (๓)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๑๓] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๑๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ l/r
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r
นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๓ วาระ)

นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระl/r
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๑๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ l/r
อธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯl/r

(พึงขยายบทอนุโลมมาติกาให้พิสดาร) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ l/r

อุปาทาทุกะ จบ

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๑๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๔๑๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

อธิปติปัจจัย
[๔๑๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (ย่อ)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๑๙] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๕ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๕ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๕ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔๒๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ และ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ...
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๔๒๑] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป
๑ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
อุปาทายรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มี
เหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

นอารัมมณปัจจัย
[๔๒๒] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้น
... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหาร
เป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๔๒๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย
เพราะนอนันตรปัจจัย
เพราะนสมนันตรปัจจัย
เพราะนอัญญมัญญปัจจัย
เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
นปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๔๒๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น
ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่
ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ไม่ยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย
เพราะนอาเสวนปัจจัย (๑)

นกัมมปัจจัย
[๔๒๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยขันธ์ที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

นวิปากปัจจัย
[๔๒๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย
ได้แก่ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูป
ที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงคำว่า มีอุตุเป็นสมุฏฐาน)

นอาหารปัจจัย
[๔๒๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย
ได้แก่ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่
... ที่เป็นภายนอก ... มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑)

นอินทรียปัจจัย
[๔๒๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอินทรียปัจจัย
ได้แก่ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม รูปชีวิตินทรีย์อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ อาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่
... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑)

นฌานปัจจัยเป็นต้น
[๔๒๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ...
ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัยสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย (ปัจจัยนี้
เหมือนกับนเหตุปัจจัย ไม่มีโมหะ) เพราะนสัมปยุตตปัจจัย

นวิปปยุตตปัจจัยเป็นต้น
[๔๓๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่
ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ไม่ยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
เพราะโนนัตถิปัจจัย
เพราะโนวิคตปัจจัย

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๓๑] นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ
นอินทรียปัจ มี ๒ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๓๒] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๓๓] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๕ วาระ ฯ ลฯ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๓. ปัจจยวาร

มัคคปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๓๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือทำสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปทำขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และ
กฏัตตารูปทำขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๓. ปัจจยวาร
และทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและทำหทัย
วัตถุให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๔๓๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือทำสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ ทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

อธิปติปัจจัย
[๔๓๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำ
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๓๗] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔๓๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือทำสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๓. ปัจจยวาร
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณทำ
จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ทำสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๔๓๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำ
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่ง
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มี
อุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำ
ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๓. ปัจจยวาร
ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) (ย่อ)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๔๐] นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๒ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๔๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ ฯลฯ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๔๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๔๔๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดระคน
กับสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ฯลฯ
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดระคนกับสภาว-
ธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ เกิด
ระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

เหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ

อนุโลม จบ
[๔๔๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดระคน
กับสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ยึดถือ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ เกิดระคนกับ
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ (๑)

นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงทําอย่างนี้)

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๔๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึด
ถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๔๔๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายและรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ และขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อชวนจิต
ที่เป็นกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์
รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
คันธายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่ฆานวิญญาณ
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคล
เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายและรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ... กลิ่น
... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ และขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ยึดถือโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือด้วยทิพพจักขุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อม
ด้วยจิตที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
[๔๔๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น ยินดี
เพลิดพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสจึง
เกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย
พระอริยะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว ฯลฯ พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว ฯลฯ รู้กิเลส
ที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่
ยึดถือ ฯลฯ เสียง ฯลฯ โผฏฐัพพะและขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ไม่ยึดถือด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ขันธ์ที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคล

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
เห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ เสียง ฯลฯ
โผฏฐัพพะ และขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อชวนจิตที่เป็นกุศลและอกุศลดับแล้ว
จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ อากาสานัญจายตนกุศลเป็น
ปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก ฯลฯ อากิญจัญญายตนกุศลเป็นปัจจัยแก่
เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก ฯลฯ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ สัททายตนะ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๒)

อธิปติปัจจัย
[๔๔๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ
กายและรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ... กลิ่น ... รส ...
โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุและขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอธิปติปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดพลิน เพราะทําความ
ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะ
ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผล ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
พิจารณานิพพาน ฯลฯ นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดย
อธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
ฯลฯ เสียง ฯลฯ โผฏฐัพพะและขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่
ยึดถือให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่
ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)

อนันตรปัจจัย
[๔๔๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
ปัญจวิญญาณเป็นปัจจัยแก่มโนธาตุที่เป็นวิบากโดยอนันตรปัจจัย มโนธาตุที่เป็น
วิบากเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่
ภวังคจิตเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่มโน
วิญญาณธาตุที่เป็นกิริยาโดยอนันตรปัจจัย (๒)
[๔๕๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่
อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่วิญญาณ ๕ ฯลฯ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย (เหมือนกับนิสสยปัจจัยในปัจจยวาร) มี ๕ วาระ

อุปนิสสยปัจจัย
[๔๕๑] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ สุขทางกายเป็นปัจจัยแก่สุขทางกายและทุกข์ทางกาย
โดยอุปนิสสยปัจจัย ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิยึดถือ ฯลฯ โภชนะเป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย และทุกข์ทางกายโดย
อุปนิสสยปัจจัย สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะเป็น
ปัจจัยแก่สุขทางกายและทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกายแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําลายสงฆ์
อาศัยทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ฯลฯ
โภชนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ สุขทางกาย
ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ความ
ปรารถนา มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๔๕๒] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน มีมานะ ถือทิฏฐิ
อาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน
ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุฯลฯ โภชนะ ฯลฯ
เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา มรรคและผลสมาบัติโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วทําตนให้เดือดร้อน ให้ร้อนรน
เสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูล อาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุ ฯลฯ
โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้วทําตนให้เดือดร้อน ให้ร้อนรน เสวยทุกข์มีการแสวง
หาเป็นมูล ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่สุขทางกายและทุกข์
ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย กรรมที่เป็นกุศลและอกุศลเป็นปัจจัยแก่วิบากโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๒)

ปุเรชาตปัจจัย
[๔๕๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายและรูปที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ... โผฏฐัพพะ และหทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่
เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อชวนจิตที่เป็นกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาท

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายและรูปที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ และหทัยวัตถุ
โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือด้วยทิพพจักขุ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
[๔๕๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ เสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ โผฏฐัพพะโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่าง
เดียว คือ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ โผฏฐัพพะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อชวนจิตที่เป็นกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบาก

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
จึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่
ยึดถือเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ สัททายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย๑ (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ
และวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
และจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ สัททายตนะและโสตายตนะ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและหทัยวัตถุ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ
และวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
และหทัยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)

ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๔๕๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
โดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

เชิงอรรถ :
๑ ไม่ปรากฏในฉบับฉัฏฐสังคีติ ๒๕๓๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว
คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๓)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย
(ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย
(ย่อ) (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๓)
[๔๕๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาเสวนปัจจัย
มี ๑ วาระ (ย่อ)

กัมมปัจจัย
[๔๕๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
กัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว
คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)

วิปากปัจจัย
[๔๕๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยวิปากปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ (ย่อ บทที่มีสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นมูล มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยวิปากปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อาหารปัจจัย
[๔๕๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่
อาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
อาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
โดยอาหารปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ
กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิยึดถือ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ กวฬิงการาหาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๓)
[๔๖๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่
อาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด
ถือโดยอาหารปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่
กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย
ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย
อาหารปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อินทรียปัจจัยเป็นต้น
[๔๖๑] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่
อินทรีย์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
อินทรียปัจจัย (๑)
ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดย
อินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ (บทที่มีสภาวธรรมที่กรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นมูล มี ๓ วาระ เฉพาะบทแรกเท่านั้นมี
รูปชีวิตินทรีย์ นอกนี้ไม่มี) (๓)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่
อินทรีย์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยฌานปัจจัย มี ๔ วาระ เป็นปัจจัย
โดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

วิปปยุตตปัจจัย
[๔๖๒] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดย
วิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือและจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ไม่ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด
ถือโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๔๖๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้
แก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)

อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๔๖๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง
คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ พึงจำแนกบท
ตามที่ตั้งไว้ให้บริบูรณ์) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ
สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ (ย่อ พึงขยายบทตามที่ตั้งไว้
ให้พิสดาร) (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ
(ย่อ พึงขยายบทตามที่ตั้งไว้ให้พิสดาร) (๓)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ โดยอัตถิปัจจัย
มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ (ย่อ พึงจำแนก
บทตามที่ตั้งไว้) (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง
คือ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่
ยึดถือ ฯลฯ เสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ รส ฯลฯ โผฏฐัพพะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อชวนจิตที่เป็นกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็น
วิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย
กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย (๒)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะและอาหาระ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๔๖๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ ปุเรชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
และจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดย
อัตถิปัจจัย รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและหทัยวัตถุ
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ
กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ
ปัจฉาชาตะ และอาหาระ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและมหา-
ภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย
อัตถิปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ
กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี
อย่างเดียว คือ อาหาระ ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย (๓)
... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๖๖] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๔ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร
[๔๖๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย
และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย
อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และอาหารปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และอาหารปัจจัย (๓)
[๔๖๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย๑ ปัจฉาชาตปัจจัย และอาหาร-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ โดยอารัมมณปัจจัย
อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย และอาหารปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัยและอาหารปัจจัย (๓)

เชิงอรรถ :
๑ ไม่ปรากฏในฉบับฉัฏฐสังคีติ ปี ๒๕๓๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ โดยปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย
และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ โดยสหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และ
อาหารปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย
อาหารปัจจัย (๓)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๖๙] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

นอาหารปัจจัย มี ๘ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๗๐] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๗๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๒ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

อุปาทินนทุกะ จบ
มหันตรทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๑. อุปาทานโคจฉกะ
๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทานอาศัยทิฏฐุปาทานเกิดขึ้น ทิฏฐุปาทานอาศัย
กามุปาทานเกิดขึ้น กามุปาทานอาศัยสีลัพพตุปาทานเกิดขึ้น สีลัพพตุปาทาน
อาศัยกามุปาทานเกิดขึ้น กามุปาทานอาศัยอัตตวาทุปาทานเกิดขึ้น อัตตวาทุปาทาน
อาศัยกามุปาทานเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทาน สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยทิฏฐุปาทานเกิดขึ้น ... อาศัยกามุปาทาน ฯลฯ (พึงทำเป็น
จักกนัยทั้งหมด) (๓)
[๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็น
อุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ อุปาทานอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อุปาทาน และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัย ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อุปาทาน และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๓] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็น
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทานอาศัยทิฏฐุปาทานและ
สัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงทำเป็นจักกนัยทั้งหมด) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็น
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นอุปาทานและอาศัยอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทาน อาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน
และที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ กามุปาทาน และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานและอาศัยทิฏฐุปาทานเกิดขึ้น ...
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงทำเป็นจักกนัย) (๓)

อารัมมณปัจจัย
[๔] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย (พึงเพิ่มเป็น ๙ วาระ พึงเว้นรูป)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๕] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุ
ซึ่งไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัย
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็น
สมุฏฐาน ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
เกิดขึ้น (๑)

นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์
เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่ม
ข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็น
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานและ
สัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
... เพราะนอธิปติปัจจัย เพราะนอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

นปุเรชาตปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ
นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ กามุปาทานอาศัยอัตตวาทุปาทานเกิดขึ้น
อัตตวาทุปาทานอาศัยกามุปาทานเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ
นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ สัมปยุตตขันธ์อาศัยอุปาทานเกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานเกิดขึ้น (ย่อ มี ๙ วาระ ในอรูปาวจรภูมิ
มีอุปาทาน ๒)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๙] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๐] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ)

มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร ผู้รู้เมื่อจะจําแนกทิฏฐุปาทาน พึงเพิ่มคําว่า
กามุปาทานที่เกิดร่วมกัน)

๖๙. อุปาทานทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
เหตุปัจจัย
[๑๒] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทานทำทิฏฐุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็น
อุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูปภายใน)
ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ อุปาทานทำขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
อุปาทานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อุปาทาน และ
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ อุปาทานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๑๓] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็น
อุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทานทำทิฏฐุปาทาน
และสัมปยุตตขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ทิฏฐุปาทานทำกามุปาทานและสัมปยุตตขันธ์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงทำเป็นจักกนัย) กามุปาทานทำทิฏฐุปาทานและหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงทำเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทาน
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นอุปาทานและทำอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
(พึงทำเป็นจักกนัย) จิตตสมุฏฐานรูปทำอุปาทานและมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานทำอุปาทานและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน
และที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ กามุปาทาน
และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานและทำทิฏฐุปาทานให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ (พึงทำเป็นจักกนัย) กามุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ทำทิฏฐุปาทาน
และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (พึงทำเป็นจักกนัย) (๓)
... เพราะอารัมมณปัจจัย (ในอารัมมณปัจจัย บทที่มีสภาวธรรมซึ่งไม่มี
อุปาทานเป็นมูล พึงเพิ่มอายตนะ ๕ และหทัยวัตถุ)

เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๓. ปัจจยวาร

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ

[๑๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นอุปาทาน
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม)
จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นอุปาทานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น

นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ

(เหมือนกับปฏิจจวาร) ฯลฯ

โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และนิสสยวาร พึงทำอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๖๙. อุปาทานทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
เหตุปัจจัย
[๑๕] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทานเกิดระคนกับทิฏฐุปาทาน ทิฏฐุปาทานเกิดระคนกับ
กามุปาทาน (พึงทำเป็นจักกนัย โดยนัยนี้ พึงเพิ่มเป็น ๙ วาระ)

เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
[๑๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นอุปาทาน
ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ

นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงทำอย่างนี้)

๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตอุปาทานโดยเหตุปัจจัย
(พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์อุปาทานและจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๑๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตอุปาทานโดยเหตุปัจจัย
(พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๑๙] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัยแก่สัมปยุตตอุปาทานโดยเหตุปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นอุปาทาน
และที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย
(พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์อุปาทานและจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)

อารัมมณปัจจัย
[๒๐] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภอุปาทาน อุปาทานจึงเกิดขึ้น มี ๓ วาระ
(พึงเพิ่มคําว่า เพราะปรารภ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณา
กุศลนั้น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะจึง
เกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน
พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย
พระอริยะพิจารณากิเลสที่ไม่เป็นอุปาทานซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว
รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็น
อุปาทานโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็น
อุปาทานด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ
ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะ
เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วยินดีเพลิดเพลิน
กุศลนั้น เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทาน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่
เป็นอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ
ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ฯลฯ
บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทาน เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มคําว่า เพราะปรารภ)

อธิปติปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำอุปาทาน
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น อุปาทานจึงเกิดขึ้น มี ๓ วาระ (มีเฉพาะ
อารัมมณาธิปติปัจจัย)
[๒๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณา
มรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลโดยอธิปติปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว ยินดี
เพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลิน
กุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคล
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
อุปาทานโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่
เป็นอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ พิจารณาฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น อุปาทานและ
สัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
อุปาทานและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ โดยอารัมมณาธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
(พึงเพิ่มคำว่า เพราะปรารภ มีเฉพาะอารัมมณาธิปติปัจจัย)

อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๓] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ อุปาทานที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานที่เกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) อุปาทานที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์
ที่ไม่เป็นอุปาทานซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อุปาทานเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) อุปาทานที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๒๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
ไม่เป็นอุปาทานซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ
ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
อุปาทานซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่อุปาทานโดย
อนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่
เป็นอุปาทานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิต
เป็นปัจจัยแก่อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๒๕] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
เป็นปัจจัยแก่อุปาทานที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)
อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานซึ่ง
เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย (เหมือนกับ
ปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) เป็นปัจจัย
โดยนิสสยปัจจัย (เหมือนกับปัจจยวาร)

อุปนิสสยปัจจัย
[๒๖] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่อุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ วาระ
[๒๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้
เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา
... สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ
ถือทิฏฐิ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว
มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ลักทรัพย์ พูดเท็จ ฯลฯ พูดส่อเสียด

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ฯลฯ พูดเพ้อเจ้อ ฯลฯ งัดแงะ ฯลฯ ปล้นไม่ให้เหลือ ฯลฯ ปล้นเรือนหลังเดียว
ฯลฯ ดักจี้ที่ทางเปลี่ยว ฯลฯ ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าชาวบ้าน ฯลฯ ฆ่า
ชาวนิคม ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่อุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึง
เพิ่มบทที่เป็นมูล) บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ
เสนาสนะแล้ว ลักทรัพย์ พูดเท็จ ฯลฯ พูดส่อเสียด ฯลฯ พูดเพ้อเจ้อ ฯลฯ งัดแงะ
ฯลฯ ปล้นไม่ให้เหลือ ฯลฯ ปล้นเรือนหลังเดียว ฯลฯ ดักจี้ที่ทางเปลี่ยว ฯลฯ
ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าชาวบ้าน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ
เป็นปัจจัยแก่อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ มี ๓ วาระ

ปุเรชาตปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่อุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่
ไม่เป็นอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและ
วัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุเพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์โดย
ปุเรชาตปัจจัย (๓)

ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๒๙] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๑)
... เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย

กัมมปัจจัย
[๓๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
กัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตอุปาทานโดย
กัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่
ไม่เป็นอุปาทานโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์อุปาทานและจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)

วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๓๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทานโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่เป็นอุปาทาน ฯลฯ
มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานโดย
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ (มีเฉพาะกวฬิงการาหารอย่างเดียว) เป็นปัจจัยโดย
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ (รูปชีวิตินทรีย์ มีเพียง ๑ วาระเท่านั้น) เป็นปัจจัย
โดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดยมัคคปัจจัย
ได้แก่ องค์มรรคที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตอุปาทานโดยมัคคปัจจัย
(โดยเหตุนี้ พึงเพิ่มเป็น ๙ วาระ) เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ

วิปปยุตตปัจจัย
[๓๒] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ อุปาทานที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
วิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
อุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่
เป็นอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
[๓๓] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)

อัตถิปัจจัย
[๓๔] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อัตถิปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐุปาทานเป็นปัจจัยแก่กามุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (พึงทำเป็น
จักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็น
อุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (ย่อ เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓)
[๓๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
(ย่อ พึงขยายให้พิสดาร) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ (เหมือนกับสหชาตปัจจัย)
ปุเรชาตะ (เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย) (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่
ไม่เป็นอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (ย่อ
พึงจำแนกสหชาตะเหมือนกับสหชาตปัจจัย ปุเรชาตะเหมือนกับปุเรชาตปัจจัย) (๓)
[๓๖] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ทิฏฐุปาทานและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่กามุปาทานโดย
อัตถิปัจจัย (พึงทำเป็นจักกนัย)
สหชาตะ ได้แก่ ทิฏฐุปาทานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่กามุปาทานโดย
อัตถิปัจจัย (พึงทำเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่เป็นอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานและอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ อุปาทานและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ อุปาทานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ อุปาทาน สัมปยุตตขันธ์ และกวฬิงการาหารเป็นปัจจัย
แก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ อุปาทาน สัมปยุตตขันธ์ และรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานและทิฏฐุปาทานเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ กามุปาทาน และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
(พึงทำเป็นจักกนัย)
สหชาตะ ได้แก่ ทิฏฐุปาทานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่กามุปาทานและ
สัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย (พึงทำเป็นจักกนัย) (๓)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๗] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๘] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็น
อุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๓๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและ
ที่ไม่เป็นอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาต-
ปัจจัย (๓)
[๔๐] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสย-
ปัจจัย (๓)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๔๑] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๐. อุปาทานิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๒] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๓] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

อุปาทานทุกะ จบ

๗๐. อุปาทานิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๔๔] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอารมณ์
ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ...
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงทำเหมือนโลกิยทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
อุปาทานิยทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
เกิดขึ้น โลภะและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ขันธ์ ๓ โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุต
จากทิฏฐิเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๔๖] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัย
ขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิ
เกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรม
ที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น (๓)
[๔๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
และที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจาก
ทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

อารัมมณปัจจัย
[๔๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ โลภะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และโลภะอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
(๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๔๙] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจาก
อุปาทาน ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิ
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
และที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) (ย่อ)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๐] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๖ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๕๑] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่มีเหตุซึ่งวิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)

นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๕๒] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่วิปปยุตจาก
อุปาทานเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น ในปฏิสนธิ-
ขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
และที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น (๑)
... เพราะนอธิปติปัจจัย เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย
เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

นปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๕๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ โลภะอาศัยขันธ์ที่สหรคต
ด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓
และโลภะอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งสัมปยุตด้วยทิฏฐิเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๕๔] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึง
อสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโลภะที่
วิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
และที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
และที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทานและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น (๒)
... เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย

นกัมมปัจจัย
[๕๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เกิดขึ้น ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็น
สมุฏฐาน ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิ
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
และที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัย
ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น (๑) (ย่อ)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๖] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร

นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(พึงทำการนับ ๒ อย่างนอกนี้ สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๕๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขี้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากอุปาทาน ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูปภายใน) ขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทานทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์ทำโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานทำสภาวธรรมที่
วิปปยุตจากอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทำโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
[๕๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
และที่วิปปยุตจากอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำ
ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและ
ทำโลภะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่
วิปปยุตจากอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำ
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและทำโลภะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
โลภะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานทำสภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ และโลภะทำขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ (๓)
(ย่อ ในอารัมมณปัจจัย พึงเพิ่มปัญจวิญญาณเข้าด้วย)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๕๙] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร

อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๖๐] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งวิปปยุตจาก
อุปาทาน ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) จักขุวิญญาณทำ
จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำกายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่ง
วิปปยุตจากอุปาทานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๖๑] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๒๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และนิสสยวาร พึงทำอย่างนี้)

๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๖๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ... เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
ฯลฯ มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เพราะเหตุปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร พึงเพิ่มเฉพาะอรูปเท่านั้น)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เพราะเหตุปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร พึงเพิ่มเฉพาะอรูปเท่านั้น)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเพราะเหตุปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร พึงเพิ่ม
เฉพาะอรูปเท่านั้น)

เหตุปัจจัย มี ๖ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๒๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๖ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ

อนุโลม จบ
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เพราะนเหตุปัจจัย (ย่อ)

นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตวาร พึงทำอย่างนี้)

๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๒๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย เหตุที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเป็น
ปัจจัยแก่โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิและจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่
เป็นมูล) เหตุที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยเหตุปัจจัย เหตุที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๖๔] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุต
จากอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) โลภะ
ที่วิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) โลภะ
ที่วิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๖๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยโลภะ
ซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่
เป็นมูล) โมหะที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทาน เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)

อารัมมณปัจจัย
[๖๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๒๓ }


>>>>> หน้าต่อไป >>>>>





eXTReMe Tracker