ค้นว่าอยู่เล่มใด แล้วกด [ctrl]+f หรือใช้คำสั่งของเครื่องหาตำแหน่งในเล่มอีกทีนะครับ



จัดรูปหน้าใหม่
เพื่อความสะดวก และสวยงาม
(เฉพาะหน้าจอใหญ่ เช่น คอมพิวเตอร์)
กรุณาคลิก จัดรูปหน้าใหม่
เพื่อให้กรอบ
ค้นข้อความ ปรากฎที่ด้านซ้ายของหน้า

พระไตรปิฎกภาษาไทย
ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๔๕ เล่ม (ปกสีฟ้า)
ทั้งออนไลน์และออฟไลน์
ที่มาของข้อมูล : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับ มจร.
MCUTRAI Version 1.0

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๗-๔ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๔ กถาวัตถุ

พระอภิธรรมปิฎก
กถาวัตถุ
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. ผัสสะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มี
ความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศล รับรู้อารมณ์
ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนา ฯลฯ สัญญา ... เจตนา ... สัทธา ... วิริยะ ... สติ ... สมาธิ
ฯลฯ ปัญญาที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง
ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๒๘] สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศลทั้งหมดนั้น เป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปายตนะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ ที่เกิดขึ้นด้วย
จิตที่เป็นกุศล เป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๖๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. รูปายตนะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ ที่เกิดขึ้นด้วย
จิตที่เป็นกุศล เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๒๙] สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้
เป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปายตนะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ ที่เกิดขึ้นด้วย
จิตที่เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปายตนะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็นอัพยากฤต
ใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๖๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็น
อัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ ที่เกิดขึ้นด้วย
จิตที่เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็น
อัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๓๐] สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศลที่วิปปยุต
จากผัสสะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปายตนะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศลที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศลที่วิปปยุตจาก
ผัสสะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ ที่เกิดขึ้นด้วย
จิตที่เป็นกุศล เป็นกุศลที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปายตนะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นอัพยากฤตที่วิปปยุตจาก
ผัสสะใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๗๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นอัพยากฤตที่วิปปยุต
จากผัสสะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ ที่เกิดขึ้นด้วย
จิตที่เป็นกุศล เป็นอัพยากฤตที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นอัพยากฤตที่วิปปยุต
จากผัสสะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๓๑] สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้
เป็นกุศลที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปายตนะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็นกุศลที่วิปปยุต
จากผัสสะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นกุศล
ที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ ที่เกิดขึ้นด้วย
จิตที่เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็นกุศลที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปายตนะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็นอัพยากฤต
ที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๗๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็น
อัพยากฤตที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ ที่เกิดขึ้นด้วย
จิตที่เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็นอัพยากฤตที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็น
อัพยากฤต ที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๓๒] สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง ฯลฯ
มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ
ไม่มีความตั้งใจมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากรูปที่เป็นวจีกรรมเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความ
นึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วย
จิตที่เป็นกุศล เป็นกุศล”
สก. ผัสสะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง ฯลฯ
มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๗๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ได้
มีความนึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ สัทธา ฯลฯ วิริยะ ฯลฯ
สติ ฯลฯ สมาธิ ฯลฯ ปัญญา ที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ได้
มีความนึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ได้
มีความนึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้
ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ผัสสะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มี
ความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้
ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ สัทธา ฯลฯ วิริยะ ฯลฯ สติ
ฯลฯ สมาธิ ฯลฯ ปัญญา ที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้
ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล เป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๗๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. รูปที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นกุศล ทั้งหมดนั้นเป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
พึงอธิบายรูปที่เป็นวจีกรรมให้พิสดารเหมือนรูปที่เป็นกายกรรม
[๕๓๓] สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เป็นกายกรรมเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง มีความ
ผูกใจ มีความสนใจ มีความใฝ่ใจ มีความจงใจ มีความปรารถนา มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นกายกรรมเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง
ไม่มีความผูกใจ ไม่มีความสนใจ ไม่มีความใฝ่ใจ ไม่มีความจงใจ ไม่มีความปรารถนา
ไม่มีความตั้งใจมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากรูปที่เป็นกายกรรมเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง
ไม่มีความผูกใจ ไม่มีความสนใจ ไม่มีความใฝ่ใจ ไม่มีความจงใจ ไม่มีความปรารถนา
ไม่มีความตั้งใจ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็น
อกุศล เป็นอกุศล”
สก. ผัสสะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ได้ มีความ
นึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ได้
มีความนึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ โทสะ ฯลฯ
โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ ถีนะ ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ
อหิริกะ ฯลฯ อโนตตัปปะ ที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ได้
มีความนึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๗๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ได้
มีความนึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้
ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ผัสสะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มี
ความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้
ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ โทสะ ฯลฯ โมหะ
ฯลฯ มานะฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ ถีนะ ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ อหิริกะ
ฯลฯ อโนตตัปปะ ที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้
ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นกายกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล ทั้งหมดนั้นเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๓๔] สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง ฯลฯ
มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๗๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ
ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากรูปที่เป็นวจีกรรมเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง
ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้น
ด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล”
สก. ผัสสะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ได้ มีความ
นึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ได้
มีความนึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ โทสะ ฯลฯ โมหะ
ฯลฯ มานะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ ถีนะ ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ อหิริกะ
ฯลฯ อโนตตัปปะ ที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ได้ มี
ความนึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ได้
มีความนึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์
ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ผัสสะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มี
ความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๗๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์
ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ โทสะ ฯลฯ โมหะ
ฯลฯ มานะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ ถีนะ ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ อหิริกะ
ฯลฯ อโนตตัปปะ ที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่
มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล ทั้งหมดนั้นเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๓๕] สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปายตนะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ ฯลฯ อสุจิ ฯลฯ
น้ำตา ฯลฯ โลหิต ฯลฯ เหงื่อ ที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปายตนะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๗๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ ฯลฯ อสุจิ ฯลฯ
น้ำตา ฯลฯ โลหิต ฯลฯ เหงื่อ ที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๓๖] สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้
เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปายตนะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็นอกุศล
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็น
อกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ ฯลฯ อสุจิ ฯลฯ
น้ำตา ฯลฯ โลหิต ฯลฯ เหงื่อ ที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้
เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปายตนะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็นอัพยากฤต
ใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๗๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็น
อัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ ฯลฯ อสุจิ
ฯลฯ น้ำตา ฯลฯ โลหิต ฯลฯ เหงื่อ ที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้
เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็น
อัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๓๗] สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศลที่วิปปยุต
จากผัสสะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปายตนะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศลที่วิปปยุตจากผัสสะใช่
ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศลที่วิปปยุตจาก
ผัสสะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ ฯลฯ อสุจิ ฯลฯ
น้ำตา ฯลฯ โลหิต ฯลฯ เหงื่อ ที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอกุศลที่วิปปยุต
จากผัสสะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปายตนะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤตที่วิปปยุตจาก
ผัสสะใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๗๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็น
อัพยากฤตที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ ฯลฯ อสุจิ ฯลฯ
น้ำตา ฯลฯ โลหิต ฯลฯ เหงื่อ ที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้
เป็นอัพยากฤตที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็น
อัพยากฤตที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็น
อกุศลที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปายตนะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็นอกุศล
ที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็น
อกุศลที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ ฯลฯ อสุจิ
ฯลฯ น้ำตา ฯลฯ โลหิต ฯลฯ เหงื่อ ที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้
เป็นอกุศลที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปายตนะที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็นอัพยากฤต
ที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๘๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็น
อัพยากฤตที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ ฯลฯ อสุจิ
ฯลฯ น้ำตา ฯลฯ โลหิต ฯลฯ เหงื่อ ที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้
เป็นอัพยากฤตที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปที่เป็นวจีกรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่เป็นอกุศล รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เป็น
อัพยากฤตที่วิปปยุตจากผัสสะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๓๘] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “รูปเป็นกุศลก็ได้ เป็นอกุศลก็ได้” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. กายกรรม วจีกรรม เป็นกุศลก็ได้ เป็นอกุศลก็ได้ มิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. หากกายกรรม วจีกรรม เป็นกุศลก็ได้ เป็นอกุศลก็ได้ ดังนั้น ท่าน
จึงควรยอมรับว่า “รูปเป็นกุศลก็ได้ เป็นอกุศลก็ได้”
สก. รูปเป็นกุศลก็ได้ เป็นอกุศลก็ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขายตนะเป็นกุศลก็ได้ เป็นอกุศลก็ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปเป็นกุศลก็ได้ เป็นอกุศลก็ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โสตายตนะ ฯลฯ ฆานายตนะ ฯลฯ ชิวหายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ
รูปายตนะ ฯลฯ สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ เตโชธาตุ ฯลฯ วาโยธาตุ
ฯลฯ อสุจิ ฯลฯ น้ำตา ฯลฯ โลหิต ฯลฯ เหงื่อ เป็นกุศลก็ได้ เป็นอกุศลก็ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๘๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. กายเป็นรูป กายกรรมก็เป็นรูปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มโนเป็นรูป มโนกรรมก็เป็นรูปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มโนเป็นนาม มโนกรรมก็เป็นนามใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กายเป็นนาม กายกรรมก็เป็นนามใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กายเป็นรูป แต่กายกรรมเป็นนามใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มโนเป็นรูป แต่มโนกรรมเป็นนามใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มโนเป็นนาม มโนกรรมก็เป็นนามใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กายเป็นนาม กายกรรมก็เป็นนามใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กายเป็นรูป เพราะเหตุนั้น กายกรรมจึงเป็นรูปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขายตนะเป็นรูป เพราะเหตุนั้น จักขุวิญญาณจึงเป็นรูปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กายเป็นรูป เพราะเหตุนั้น กายกรรมจึงเป็นรูปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โสตายตนะเป็นรูป เพราะเหตุนั้น โสตวิญญาณจึงเป็นรูปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๘๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. กายเป็นรูป เพราะเหตุนั้น กายกรรมจึงเป็นรูปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ฆานายตนะเป็นรูป เพราะเหตุนั้น ฆานวิญญาณจึงเป็นรูปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กายเป็นรูป เพราะเหตุนั้น กายกรรมจึงเป็นรูปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ชิวหายตนะเป็นรูป เพราะเหตุนั้น ชิวหาวิญญาณจึงเป็นรูปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กายเป็นรูป เพราะเหตุนั้น กายกรรมจึงเป็นรูปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กายายตนะเป็นรูป เพราะเหตุนั้น กายวิญญาณจึงเป็นรูปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๓๙] สก. รูปเป็นกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวเจตนาว่า
เป็นตัวกรรม บุคคลคิดแล้วจึงกระทำกรรม ด้วยกาย วาจา ใจ”๑ มีอยู่จริง มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. ดังนั้น ท่านจึงไม่ควรยอมรับว่า “รูปเป็นกรรม”
สก. รูปเป็นกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ องฺ.ฉกฺก. (แปล) ๒๒/๖๓/๕๗๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๘๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๙. รูปังกัมมันติกถา (๘๑)
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “อานนท์ เมื่อกายมีอยู่ สุขและ
ทุกข์อันเป็นภายในจึงเกิดขึ้น เพราะกายสัญเจตนา(ความจงใจทางกาย) เป็น
เหตุ หรือว่าเมื่อวาจามีอยู่ สุขและทุกข์อันเป็นภายในจึงเกิดขึ้น เพราะ
วจีสัญเจตนา(ความจงใจทางวาจา) เป็นเหตุ หรือว่า เมื่อใจมีอยู่ สุขและทุกข์อัน
เป็นภายใน จึงเกิดขึ้น เพราะมโนสัญเจตนา(ความจงใจทางใจ) เป็นเหตุ”๑ มีอยู่
จริงมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. ดังนั้น ท่านจึงไม่ควรยอมรับว่า “รูปเป็นกรรม”
สก. รูปเป็นกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย กายสัญเจตนา ๓
อย่าง เป็นกายกรรมฝ่ายอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นวิบาก วจีสัญเจตนา ๔
อย่าง เป็นวจีกรรมฝ่ายอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นวิบาก มโนสัญเจตนา ๓
อย่าง เป็นมโนกรรมฝ่ายอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นวิบาก ภิกษุทั้งหลาย
กายสัญเจตนา ๓ อย่าง เป็นกายกรรมฝ่ายกุศล มีสุขเป็นกำไร มีสุขเป็นวิบาก
วจีสัญเจตนา ๔ อย่าง เป็นวจีกรรมฝ่ายกุศล มีสุขเป็นกำไร มีสุขเป็นวิบาก
มโนสัญเจตนา ๓ อย่าง เป็นมโนกรรมฝ่ายกุศล มีสุขเป็นกำไร มีสุขเป็นวิบาก”
มีอยู่จริงมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. ดังนั้น ท่านจึงไม่ควรยอมรับว่า “รูปเป็นกรรม”
สก. รูปเป็นกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ สํ.นิ. (แปล) ๑๖/๒๕/๕๐

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๘๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๑๐. ชีวิตินทริยกถา (๘๒)
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “อานนท์ ถ้าโมฆบุรุษนามว่า
สมิทธินี้ ถูกปาตลีบุตรปริพาชกถามอย่างนี้ จะพึงตอบอย่างนี้ว่า ท่านปาตลีบุตร
บุคคลทำกรรมที่ประกอบด้วยความจงใจทางกาย ทางวาจา และทางใจ อันให้ผล
เป็นสุข ย่อมเสวยสุข บุคคลทำกรรมที่ประกอบด้วยความจงใจทางกาย ทางวาจา
และทางใจ อันให้ผลเป็นทุกข์ ย่อมเสวยทุกข์ บุคคลทำกรรมที่ประกอบด้วยความ
จงใจทางกาย ทางวาจา และทางใจ อันให้ผลเป็นอทุกขมสุข ย่อมเสวยผลเป็น
อทุกขมสุข อานนท์ โมฆบุรุษนามว่าสมิทธิเมื่อตอบอย่างนี้ ชื่อว่าตอบโดยชอบแก่
ปาตลีบุตรปริพาชก”๑ มีอยู่จริงมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. ดังนั้น ท่านจึงไม่ควรยอมรับว่า “รูปเป็นกรรม”
รูปังกัมมันติกถา จบ

๑๐. ชีวิตินทริยกถา (๘๒)
ว่าด้วยชีวิตินทรีย์
[๕๔๐] สก. ชีวิตินทรีย์ที่เป็นรูปไม่มีใช่ไหม
ปร.๒ ใช่๓
สก. อายุ ความดำรงอยู่ ความเป็นไป กิริยาที่เป็นไป อาการที่สืบต่อ
ความเป็นอยู่ ความหล่อเลี้ยง ไม่มีแก่สภาวธรรมที่มีรูปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ ม.อุ. (แปล) ๑๔/๓๐๐/๓๕๙-๓๖๐
๒ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายปุพพเสลิยะและนิกายสมิติยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๔๐/๒๓๙)
๓เพราะมีความเห็นว่า ชีวิตินทรีย์ที่เป็นรูปไม่มี มีแต่ที่เป็นนามเท่านั้น ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่
เห็นว่า ชีวิตินทรีย์มีทั้งที่เป็นนามและรูป (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๔๐/๒๓๙)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๘๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๑๐. ชีวิตินทริยกถา (๘๒)
สก. อายุ ความดำรงอยู่ ความเป็นไป กิริยาที่เป็นไป อาการที่สืบต่อ
ความเป็นอยู่ ความหล่อเลี้ยง มีอยู่แก่สภาวธรรมที่มีรูปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากอายุ ความดำรงอยู่ ความเป็นไป กิริยาที่เป็นไป อาการที่สืบต่อ
ความเป็นอยู่ ความหล่อเลี้ยง มีอยู่แก่สภาวธรรมที่มีรูป ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า
“ชีวิตินทรีย์ที่เป็นรูปไม่มี”
สก. อายุ ความดำรงอยู่ ความเป็นไป กิริยาที่เป็นไป อาการที่สืบต่อ
ความเป็นอยู่ ความหล่อเลี้ยง มีอยู่แก่สภาวธรรมที่ไม่มีรูป ชีวิตินทรีย์ที่ไม่เป็นรูป
จึงมีอยู่ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อายุ ความดำรงอยู่ ความเป็นไป กิริยาที่เป็นไป อาการที่สืบต่อ
ความเป็นอยู่ ความหล่อเลี้ยงมีอยู่แก่สภาวธรรมที่มีรูป ชีวิตินทรีย์ที่เป็นรูปจึงมีอยู่
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อายุ ความดำรงอยู่ ความเป็นไป กิริยาที่เป็นไป อาการที่สืบต่อ
ความเป็นอยู่ ความหล่อเลี้ยงมีอยู่แก่สภาวธรรมที่มีรูป แต่ชีวิตินทรีย์ที่เป็นรูปไม่มี
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อายุ ความดำรงอยู่ ความเป็นไป กิริยาที่เป็นไป อาการที่สืบต่อ
ความเป็นอยู่ ความหล่อเลี้ยง มีอยู่แก่สภาวธรรมที่ไม่มีรูป แต่ชีวิตินทรีย์ที่ไม่เป็น
รูปไม่มีใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อายุของสภาวธรรมที่ไม่มีรูป เป็นชีวิตินทรีย์ที่ไม่เป็นรูปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อายุของสภาวธรรมที่มีรูป เป็นชีวิตินทรีย์ที่เป็นรูปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๘๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๑๐. ชีวิตินทริยกถา (๘๒)
สก. อายุของสภาวธรรมที่มีรูป ท่านไม่ยอมรับว่า “เป็นชีวิตินทรีย์ที่เป็นรูป”
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อายุของสภาวธรรมที่ไม่มีรูป ท่านไม่ยอมรับว่า “เป็นชีวิตินทรีย์ที่ไม่
เป็นรูป” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๔๑] สก. อายุของสภาวธรรมที่มีรูป เป็นชีวิตินทรีย์ที่ไม่เป็นรูปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อายุของสภาวธรรมที่ไม่มีรูป เป็นชีวิตินทรีย์ที่เป็นรูปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อายุของสภาวธรรมที่ไม่มีรูป ท่านไม่ยอมรับว่า “เป็นชีวิตินทรีย์ที่เป็น
รูป” ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อายุของสภาวธรรมที่มีรูป ท่านไม่ยอมรับว่า “เป็นชีวิตินทรีย์ที่ไม่เป็น
รูป” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อายุของสภาวธรรมทั้งที่มีรูปและไม่มีรูป เป็นชีวิตินทรีย์ที่ไม่เป็นรูปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อายุของสภาวธรรมทั้งที่เป็นรูปและไม่เป็นรูป เป็นชีวิตินทรีย์ที่เป็นรูปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อายุของสภาวธรรมทั้งที่เป็นรูปและไม่เป็นรูป ท่านไม่ยอมรับว่า “เป็น
ชีวิตินทรีย์ที่เป็นรูป” ใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๘๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๑๐. ชีวิตินทริยกถา (๘๒)
สก. อายุของสภาวธรรมทั้งที่เป็นรูปและไม่เป็นรูป ท่านไม่ยอมรับว่า “เป็น
ชีวิตินทรีย์ที่ไม่เป็นรูป” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ชีวิตินทรีย์ที่เป็นรูปไม่มีใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้เข้านิโรธสมาบัติไม่มีชีวิตินทรีย์ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๔๒] สก. บุคคลผู้เข้านิโรธสมาบัติมีชีวิตินทรีย์ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากบุคคลผู้เข้านิโรธสมาบัติมีชีวิตินทรีย์อยู่ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า
“ชีวิตินทรีย์ที่เป็นรูปไม่มี”
สก. บุคคลผู้เข้านิโรธสมาบัติมีชีวิตินทรีย์ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ชีวิตินทรีย์นั้นนับเนื่องในขันธ์ไหน
ปร. นับเนื่องในสังขารขันธ์
สก. บุคคลผู้เข้านิโรธสมาบัติมีสังขารขันธ์ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้เข้านิโรธสมาบัติมีสังขารขันธ์ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้เข้านิโรธสมาบัติมีเวทนาขันธ์ ฯลฯ สัญญาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณ-
ขันธ์ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้เข้านิโรธสมาบัติมีเวทนาขันธ์ ฯลฯ สัญญาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณ-
ขันธ์ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้ไม่เข้านิโรธสมาบัติมีเวทนาขันธ์ ฯลฯ ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๘๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๑๐. ชีวิตินทริยกถา (๘๒)
[๕๔๓] สก. ชีวิตินทรีย์ที่เป็นรูปไม่มีใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อสัญญสัตว์ไม่มีชีวิตินทรีย์ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อสัญญสัตว์มีชีวิตินทรีย์ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากอสัญญสัตว์มีชีวิตินทรีย์ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “ชีวิตินทรีย์ที่
เป็นรูปไม่มี”
สก. อสัญญสัตว์มีชีวิตินทรีย์ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ชีวิตินทรีย์นับเนื่องในขันธ์ไหน
ปร. นับเนื่องในสังขารขันธ์
สก. อสัญญสัตว์มีสังขารขันธ์ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อสัญญสัตว์มีสังขารขันธ์ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อสัญญสัตว์มีเวทนาขันธ์ ฯลฯ สัญญาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อสัญญสัตว์มีเวทนาขันธ์ ฯลฯ สัญญาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ภพแห่งอสัญญสัตว์เป็นภพที่มีขันธ์ ๕ ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๔๔] สก. เมื่อปฏิสนธิจิตดับไป ชีวิตินทรีย์ที่เกิดขึ้นด้วยปฏิสนธิจิต ย่อม
แตกดับไปส่วนหนึ่งใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๘๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๑๑. กัมมเหตุกถา (๘๓)
สก. เมื่อปฏิสนธิจิตดับ ผัสสะที่เกิดขึ้นด้วยปฏิสนธิจิต ย่อมแตกดับไปส่วน
หนึ่งไปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เมื่อปฏิสนธิจิตดับไป ผัสสะที่เกิดขึ้นด้วยปฏิสนธิจิตย่อมแตกดับไปทั้งหมด
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เมื่อปฏิสนธิจิตดับไป ชีวิตินทรีย์ที่เกิดด้วยปฏิสนธิจิต ย่อมแตกดับไป
ทั้งหมดใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๔๕] ปร. ชีวิตินทรีย์มี ๒ อย่างใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. บุคคลมีชีวิตอยู่ด้วยชีวิตินทรีย์ ๒ อย่าง ตายด้วยความตาย ๒
อย่างใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ชีวิตินทริยกถา จบ

๑๑. กัมมเหตุกถา (๘๓)
ว่าด้วยเหตุแห่งกรรม
[๕๔๖] สก. พระอรหันต์เสื่อมจากอรหัตตผล เพราะเหตุแห่งกรรมใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. พระโสดาบันเสื่อมจากโสดาปัตติผล เพราะเหตุแห่งกรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายปุพพเสลิยะและนิกายสมิติยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๔๖/๒๔๑)
๒ เพราะมีความเห็นว่า ผู้ที่สำเร็จเป็นพระอรหันต์แล้ว เสื่อมจากความเป็นพระอรหันต์ได้ เพราะกรรมที่ตน
เคยกล่าวตู่พระอรหันต์ในภพก่อน ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า พระอริยบุคคลตั้งแต่พระ
โสดาบันจนถึงพระอรหันต์ จะไม่เสื่อมจากคุณวิเศษที่ตนบรรลุแล้วไม่ว่าเพราะกรรมใด ๆ ทั้งสิ้น (อภิ.ปญฺจ.อ.
๕๔๖/๒๔๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๙๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] ๑๑. กัมมเหตุกถา (๘๓)
สก. พระอรหันต์เสื่อมจากอรหัตตผล เพราะเหตุแห่งกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสกทาคามี ฯลฯ พระอนาคามี เสื่อมจากอนาคามิผล เพราะ
เหตุแห่งกรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. พระโสดาบันไม่เสื่อมจากโสดาปัตติผล เพราะเหตุแห่งกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระอรหันต์ไม่เสื่อมจากอรหัตตผล เพราะเหตุแห่งกรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. พระสกทาคามี ฯลฯ พระอนาคามี ไม่เสื่อมจากอนาคามิผล เพราะ
เหตุแห่งกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระอรหันต์ไม่เสื่อมจากอรหัตตผล เพราะเหตุแห่งกรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. พระอรหันต์เสื่อมจากอรหัตตผล เพราะเหตุแห่งกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เพราะเหตุแห่งกรรมคือการฆ่าสัตว์ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เพราะเหตุแห่งกรรมคือการลักทรัพย์ ฯลฯ เพราะเหตุแห่งกรรมคือ
การประพฤติผิดในกาม ฯลฯ เพราะเหตุแห่งกรรมคือการพูดเท็จ ฯลฯ เพราะ
เหตุแห่งกรรมคือการพูดส่อเสียด ฯลฯ เพราะเหตุแห่งกรรมคือการพูดคำหยาบ
ฯลฯ เพราะเหตุแห่งกรรมคือการพูดเพ้อเจ้อ ฯลฯ เพราะเหตุแห่งกรรมคือการฆ่า
มารดา ฯลฯ เพราะเหตุแห่งกรรมคือการฆ่าบิดา ฯลฯ เพราะเหตุแห่งกรรมคือ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๙๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๘. อัฏฐมวรรค] รวมกถาที่มีในวรรค
การฆ่าพระอรหันต์ ฯลฯ เพราะเหตุแห่งกรรมคือการทำร้ายพระพุทธเจ้าจนพระโลหิตห้อ
ฯลฯ เพราะเหตุแห่งกรรมคือการทำลายสงฆ์ให้แตกกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. พระอรหันต์เสื่อมจากอรหัตตผล เพราะเหตุแห่งกรรมอะไร
ปร. เพราะการกล่าวตู่พระอรหันต์ทั้งหลาย
สก. พระอรหันต์เสื่อมจากอรหัตตผล เพราะเหตุแห่งกรรมคือการกล่าวตู่
พระอรหันต์ทั้งหลายใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. คนทุกคนที่กล่าวตู่พระอรหันต์ทั้งหลายทำให้แจ้งอรหัตตผลได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
กัมมเหตุกถา จบ
อัฏฐมวรรค จบ

รวมกถาที่มีในวรรคนี้ คือ

๑. ฉคติกถา ๒. อันตราภวกถา
๓. กามคุณกถา ๔. กามกถา
๕. รูปธาตุกถา ๖. อรูปธาตุกถา
๗. รูปธาตุยาอายตนกถา ๘. อรูเปรูปกถา
๙. รูปังกัมมันติกถา ๑๐. ชีวิตินทริยกถา
๑๑. กัมมเหตุกถา


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๙๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๑. อานิสังสทัสสาวีกถา (๘๔)
๙. นวมวรรค
๑. อานิสังสทัสสาวีกถา (๘๔)
ว่าด้วยผู้เห็นอานิสงส์(ในนิพพาน)
[๕๔๗] สก. บุคคลผู้เห็นอานิสงส์(ในนิพพาน) ละสังโยชน์ได้ใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. บุคคลผู้มนสิการสังขารโดยความเป็นของไม่เที่ยง ละสังโยชน์ได้มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากบุคคลผู้มนสิการสังขารโดยความเป็นของไม่เที่ยง ละสังโยชน์ได้
ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “บุคคลผู้เห็นอานิสงส์(ในนิพพาน) ละสังโยชน์ได้”
สก. บุคคลผู้มนสิการสังขารโดยความเป็นทุกข์ ฯลฯ โดยความเป็นโรค ฯลฯ
โดยความเป็นฝี ฯลฯ โดยความเป็นของเสียดแทง ฯลฯ โดยความเป็นของลำเค็ญ
ฯลฯ โดยความเป็นอาพาธ ฯลฯ โดยความเป็นดังสิ่งอื่น ฯลฯ โดยความเป็น
ของเสื่อม ฯลฯ โดยความเป็นเสนียด ฯลฯ โดยความเป็นเครื่องเบียดเบียน ฯลฯ
โดยความเป็นภัย ฯลฯ โดยความเป็นอุปสรรค ฯลฯ โดยความเป็นของหวั่นไหว
ฯลฯ โดยความเป็นของเปื่อยพัง ฯลฯ โดยความเป็นของไม่ยั่งยืน ฯลฯ โดย
ความไม่เป็นที่ต้านทาน ฯลฯ โดยความไม่เป็นที่เร้น ฯลฯ โดยความไม่เป็นที่พึ่ง
ฯลฯ โดยความไม่เป็นที่อาศัย ฯลฯ โดยความเป็นของว่าง ฯลฯ โดยความเป็น
ของเปล่า ฯลฯ โดยความเป็นของสูญ ฯลฯ โดยความเป็นอนัตตา ฯลฯ
โดยความเป็นโทษ ฯลฯ โดยความเป็นสภาวะมีความแปรผันไปเป็นธรรมดา
ละสังโยชน์ได้มิใช่หรือ
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอันธกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๔๗/๒๔๑-๒๔๒)
๒ เพราะมีความเห็นว่า เพียงแต่เห็นอานิสงส์ในนิพพานก็สามารถละสังโยชน์ได้ ซึ่งต่างกับความเห็นของ
สกวาทีที่เห็นว่า การละสังโยชน์ได้ จะต้องพิจารณาเห็นสังขารโดยความเป็นไตรลักษณ์และพิจารณาเห็น
อานิสงส์ในนิพพานจึงละสังโยชน์ได้ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๔๗/๒๔๑-๒๔๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๙๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๑. อานิสังสทัสสาวีกถา (๘๔)
สก. หากบุคคลผู้มนสิการสังขารโดยความเป็นสภาวะมีความแปรผันไปเป็น
ธรรมดา ละสังโยชน์ได้ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “ผู้เห็นอานิสงส์(ในนิพพาน)ละ
สังโยชน์ได้”
สก. บุคคลมนสิการสังขารโดยความเป็นของไม่เที่ยง และเห็นอานิสงส์ใน
นิพพานใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลมนสิการสังขารโดยความเป็นของไม่เที่ยง และเห็นอานิสงส์ใน
นิพพานใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มีการประชุมแห่งผัสสะ ๒ อย่าง ฯลฯ จิต ๒ ดวงใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลมนสิการสังขารโดยความเป็นทุกข์ ฯลฯ โดยความเป็นโรค ฯลฯ
โดยความเป็นสภาวะมีความแปรผันไปเป็นธรรมดา และเห็นอานิสงส์ในนิพพานใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลมนสิการสังขารโดยความเป็นสภาวะมีความแปรผันไปเป็นธรรมดา
และเห็นอานิสงส์ในนิพพานใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มีการประชุมแห่งผัสสะ ๒ อย่าง ฯลฯ จิต ๒ ดวงใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๔๘] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “ผู้เห็นอานิสงส์(ในนิพพาน) ละสังโยชน์ได้”
ใช่ไหม
สก. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๙๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๒. อมตารัมมณกถา (๘๕)
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้
พิจารณาเห็นว่าเป็นสุข หมายรู้ว่าเป็นสุข รู้สึกว่าเป็นสุข มีใจน้อมไปเนือง ๆ
สม่ำเสมอ ไม่ขาดระยะ มีปัญญาหยั่งรู้ในนิพพานอยู่”๑ มีอยู่จริงมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น บุคคลผู้เห็นอานิสงส์(ในนิพพาน)จึงละสังโยชน์ได้
อานิสังสทัสสาวีกถา จบ

๒. อมตารัมมณกถา (๘๕)
ว่าด้วยสภาวธรรมมีอมตะ(นิพพาน)เป็นอารมณ์
[๕๔๙] สก. สังโยชน์มีอมตะเป็นอารมณ์ใช่ไหม
ปร.๒ ใช่๓
สก. อมตะเป็นอารมณ์ของสังโยชน์ เป็นอารมณ์ของคันถะ เป็นอารมณ์ของ
โอฆะ เป็นอารมณ์ของโยคะ เป็นอารมณ์ของนิวรณ์ เป็นอารมณ์ของปรามาส
เป็นอารมณ์ของอุปาทาน เป็นอารมณ์ของสังกิเลสใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อมตะไม่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์ ไม่เป็นอารมณ์ของคันถะ ฯลฯ ไม่เป็น
อารมณ์ของสังกิเลสมิใช่หรือ
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ องฺ.สตฺตก. (แปล) ๒๓/๑๙/๒๘
๒ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายปุพพเสลิยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๔๙/๒๔๓)
๓ เพราะมีความเห็นว่าสังโยชน์สามารถรับอมตะเป็นอารมณ์ได้ โดยยึดตามพระสูตรที่ว่า ‘นิพฺพานํ
เมติ มญฺ�ติ’ เป็นต้น (ดูเทียบ ม.มู. (แปล) ๑๒/๖/๙) ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า อมตะ
ไม่สามารถเป็นอารมณ์ของสังโยชน์ได้ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๔๙/๒๔๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๙๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๒. อมตารัมมณกถา (๘๕)
สก. หากอมตะไม่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์ ฯลฯ ไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส
ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “สังโยชน์มีอมตะเป็นอารมณ์”
สก. ราคะปรารภอมตะเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อมตะเป็นที่ตั้งแห่งราคะ เป็นเหตุแห่งความกำหนัด เป็นเหตุแห่งความ
ใคร่ เป็นเหตุแห่งความมัวเมา เป็นเหตุแห่งความผูกพัน เป็นเหตุแห่งความหลงใหลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อมตะไม่เป็นที่ตั้งแห่งราคะ ไม่เป็นเหตุแห่งความกำหนัด ไม่เป็นเหตุ
แห่งความใคร่ ไม่เป็นเหตุแห่งความมัวเมา ไม่เป็นเหตุแห่งความผูกพัน ไม่เป็น
เหตุแห่งความหลงใหลมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากอมตะไม่เป็นที่ตั้งแห่งราคะ ไม่เป็นเหตุแห่งความกำหนัด ไม่เป็น
เหตุแห่งความใคร่ ไม่เป็นเหตุแห่งความมัวเมา ไม่เป็นเหตุแห่งความผูกพัน ไม่เป็น
เหตุแห่งความหลงใหล ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “ราคะปรารภอมตะเกิดขึ้น”
สก. โทสะปรารภอมตะเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อมตะเป็นที่ตั้งแห่งโทสะ เป็นที่ตั้งแห่งความโกรธ เป็นที่ตั้งแห่งความ
กระทบกระทั่งใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อมตะไม่เป็นที่ตั้งแห่งโทสะ ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความโกรธ ไม่เป็นที่ตั้งแห่ง
ความกระทบกระทั่งมิใช่หรือ
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๙๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๒. อมตารัมมณกถา (๘๕)
สก. หากอมตะไม่เป็นที่ตั้งแห่งโทสะ ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความโกรธ ไม่เป็นที่
ตั้งแห่งความกระทบกระทั่ง ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “โทสะปรารภอมตะเกิดขึ้น”
สก. โมหะปรารภอมตะเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อมตะเป็นที่ตั้งแห่งโมหะ ทำความไม่รู้ ทำความไม่เห็น เป็นเหตุแห่ง
ความดับสนิทแห่งปัญญา เป็นไปในฝ่ายทำลายปัญญา ไม่เป็นไปเพื่อความดับ
กิเลสใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อมตะไม่เป็นที่ตั้งแห่งโมหะ มิใช่ทำความไม่รู้ มิใช่ทำความไม่เห็น เกื้อกูลแก่
ความเจริญแห่งปัญญา ไม่เป็นไปในฝ่ายทำลายปัญญา เป็นไปเพื่อความดับกิเลสมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากอมตะไม่เป็นที่ตั้งแห่งโมหะ มิใช่ทำความไม่รู้ ฯลฯ เป็นไปเพื่อ
ความดับกิเลส ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “โมหะปรารภอมตะเกิดขึ้น”
[๕๕๐] สก. สังโยชน์ปรารภรูปเกิดขึ้น รูปเป็นอารมณ์ของสังโยชน์ เป็น
อารมณ์ของคันถะ ฯลฯ เป็นอารมณ์ของสังกิเลสใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สังโยชน์ปรารภอมตะเกิดขึ้น อมตะเป็นอารมณ์ของสังโยชน์ เป็นอารมณ์
ของคันถะ ฯลฯ เป็นอารมณ์ของสังกิเลสใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ราคะปรารภรูปเกิดขึ้น รูปเป็นที่ตั้งแห่งราคะ เป็นเหตุแห่งความกำหนัด
เป็นเหตุแห่งความใคร่ เป็นเหตุแห่งความมัวเมา เป็นเหตุแห่งความผูกพัน เป็นเหตุ
แห่งความหลงใหลใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๙๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๒. อมตารัมมณกถา (๘๕)
สก. ราคะปรารภอมตะเกิดขึ้น อมตะเป็นที่ตั้งแห่งราคะ ฯลฯ เป็นเหตุแห่ง
ความหลงใหลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. โทสะปรารภรูปเกิดขึ้น รูปเป็นที่ตั้งแห่งโทสะ เป็นที่ตั้งแห่งความโกรธ
เป็นที่ตั้งแห่งความกระทบกระทั่งใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โทสะปรารภอมตะเกิดขึ้น อมตะเป็นที่ตั้งแห่งโทสะ เป็นที่ตั้งแห่งความ
โกรธ เป็นที่ตั้งแห่งความกระทบกระทั่งใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. โมหะปรารภรูปเกิดขึ้น รูปเป็นที่ตั้งแห่งโมหะ ทำความไม่รู้ ฯลฯ ไม่
เป็นไปเพื่อความดับกิเลสใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โมหะปรารภอมตะเกิดขึ้น อมตะเป็นที่ตั้งแห่งโมหะ ทำความไม่รู้ ฯลฯ
ไม่เป็นไปเพื่อความดับกิเลสใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สังโยชน์ปรารภอมตะเกิดขึ้น อมตะไม่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์ ไม่เป็น
อารมณ์ของคันถะ ไม่เป็นอารมณ์ของโอฆะ ไม่เป็นอารมณ์ของโยคะ ไม่เป็น
อารมณ์ของนิวรณ์ ไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ไม่เป็น
อารมณ์ของสังกิเลสใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สังโยชน์ปรารภรูปเกิดขึ้น รูปไม่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์ ไม่เป็นอารมณ์
ของคันถะ ฯลฯ ไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลสใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๙๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๒. อมตารัมมณกถา (๘๕)
สก. ราคะปรารภอมตะเกิดขึ้น อมตะไม่เป็นที่ตั้งแห่งราคะ ไม่เป็นเหตุแห่ง
ความกำหนัด ไม่เป็นเหตุแห่งความใคร่ ไม่เป็นเหตุแห่งความมัวเมา ไม่เป็นเหตุ
แห่งความผูกพัน ไม่เป็นเหตุแห่งความหลงใหลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ราคะปรารภรูปเกิดขึ้น รูปไม่เป็นที่ตั้งแห่งราคะ ฯลฯ ไม่เป็นเหตุแห่ง
ความหลงใหลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. โทสะปรารภอมตะเกิดขึ้น อมตะไม่เป็นที่ตั้งแห่งโทสะ ไม่เป็นที่ตั้งแห่ง
ความโกรธ ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความกระทบกระทั่งใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โทสะปรารภรูปเกิดขึ้น รูปไม่เป็นที่ตั้งแห่งโทสะ ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความ
โกรธ ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความกระทบกระทั่งใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. โมหะปรารภอมตะเกิดขึ้น อมตะไม่เป็นที่ตั้งแห่งโมหะ มิใช่ทำความไม่รู้
ฯลฯ เป็นไปเพื่อความดับกิเลสใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โมหะปรารภรูปเกิดขึ้น รูปไม่เป็นที่ตั้งแห่งโมหะ มิใช่ทำความไม่รู้ ฯลฯ
เป็นไปเพื่อความดับกิเลสใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๕๑] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “สังโยชน์มีอมตะเป็นอารมณ์” ใช่ไหม
สก. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๕๙๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๓. รูปังสารัมมณันติกถา (๘๖)
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ปุถุชนหมายรู้นิพพาน๑โดยความ
เป็นนิพพาน ครั้นหมายรู้นิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้วจึงกำหนดหมายนิพพาน
กำหนดหมายในนิพพาน กำหนดหมายโดยความเป็นนิพพาน กำหนดหมาย
นิพพานว่าเป็นของเรา ยินดีนิพพาน”๒ มีอยู่จริงมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น สังโยชน์จึงมีอมตะเป็นอารมณ์ได้
อมตารัมมณกถา จบ

๓. รูปังสารัมมณันติกถา (๘๖)
ว่าด้วยรูปที่รับรู้อารมณ์ได้
[๕๕๒] สก. รูปเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร.๓ ใช่๔
สก. รูปนั้นมีความนึกถึง ความผูกใจ ความสนใจ ความใฝ่ใจ ความจงใจ
ความปรารถนา ความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปนั้นไม่มีความนึกถึง ไม่มีความผูกใจ ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากรูปนั้นไม่มีความนึกถึง ไม่มีความผูกใจ ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจ
ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “รูปเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้”

เชิงอรรถ :
๑ นิพพาน ในที่นี้หมายถึงนิพพานที่ปุถุชนเข้าใจผิดด้วยอำนาจตัณหา มานะ ทิฏฐิ คือเข้าใจว่าอัตตาที่
เพียบพร้อมด้วยกามคุณ ๕ เป็นนิพพานในปัจจุบัน นิพพานเป็นอัตตา อัตตาเป็นอย่างอื่นจากนิพพาน
ความสุขเป็นนิพพาน หรือนิพพานเป็นของเรา (ม.มู.อ. ๑/๔๒)
๒ ดูเทียบ ม.มู. (แปล) ๑๒/๖/๙, ที.สี. (แปล) ๙/๙๓-๙๘/๓๗-๓๘
๓ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอุตตราปถกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๕๒-๕๕๓/๒๔๓)
๔ เพราะมีความเห็นว่า รูปทุกชนิดรับรู้อารมณ์ได้ ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า รูปรับรู้อารมณ์
ไม่ได้ แต่เป็นอารัมมณปัจจัยได้ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๕๒-๕๕๓/๒๔๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๐๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๓. รูปังสารัมมณันติกถา (๘๖)
สก. ผัสสะเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง มีความผูกใจ ฯลฯ
มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง มีความผูกใจ ฯลฯ
มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เวทนา ... สัญญา ... เจตนา ... จิต ... สัทธา ... วิริยะ ... สติ
... สมาธิ ... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... วิจิกิจฉา
... ถีนะ ... อุทธัจจะ ... อหิริกะ ... อโนตตัปปะ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
มีความนึกถึง มีความผูกใจ ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง มีความผูกใจ ฯลฯ
มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ ไม่มีความนึกถึง ไม่มีความผูกใจ
ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ผัสสะเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ ไม่มีความนึกถึง ไม่มีความผูกใจ
ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ ไม่มีความนึกถึง ไม่มีความผูกใจ
ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๐๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๔. อนุสยาอนารัมมณกถา (๘๗)
สก. เวทนา ฯลฯ อโนตตัปปะ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ ไม่มีความ
นึกถึง ไม่มีความผูกใจ ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๕๓] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “รูปเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. รูปมีปัจจัยมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. หากรูปมีปัจจัย ดังนั้น ท่านจึงควรยอมรับว่า “รูปเป็นสภาวธรรม
ที่รับรู้อารมณ์ได้”
รูปังสารัมมณันติกถา จบ

๔. อนุสยาอนารัมมณกถา (๘๗)
ว่าด้วยอนุสัยรับรู้อารมณ์ไม่ได้
[๕๕๔] สก. อนุสัยเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. อนุสัยเป็นรูป เป็นนิพพาน เป็นจักขายตนะ ฯลฯ เป็นโผฏฐัพพายตนะ
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กามราคานุสัยเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอันธกะและนิกายอุตตราปถกะบางพวก (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๕๔/๒๔๔)
๒ เพราะมีความเห็นว่า อนุสัยทั้ง ๗ วิปปยุตจากจิต เป็นอเหตุกะ เป็นอัพยากฤต จึงไม่สามารถรับรู้
อารมณ์ได้ ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า อนุสัยทั้ง ๗ สามารถรับรู้อารมณ์ได้ (อภิ.ปญฺจ.อ.
๕๕๔/๒๔๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๐๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๔. อนุสยาอนารัมมณกถา (๘๗)
สก. กามราคะ กามราคปริยุฏฐาน กามราคสังโยชน์ กาโมฆะ กามโยคะ
กามฉันทนิวรณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กามราคะ กามราคปริยุฏฐาน กามราคสังโยชน์ กาโมฆะ กามโยคะ
กามฉันทนิวรณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กามราคานุสัยเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กามราคานุสัยเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. นับเนื่องในขันธ์ไหน
ปร. นับเนื่องในสังขารขันธ์
สก. สังขารขันธ์เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สังขารขันธ์เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กามราคานุสัยนับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กามราคะนับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๐๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๔. อนุสยาอนารัมมณกถา (๘๗)
สก. กามราคะนับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กามราคานุสัยนับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กามราคานุสัยนับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้
แต่กามราคะนับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สังขารขันธ์ส่วนหนึ่งเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ อีกส่วนหนึ่งเป็น
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สังขารขันธ์ส่วนหนึ่งเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ อีกส่วนหนึ่งเป็น
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์ ส่วนหนึ่งเป็นสภาวธรรมที่รับรู้
อารมณ์ได้ อีกส่วนหนึ่งเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๕๕] สก. ปฏิฆานุสัย มานานุสัย ทิฏฐานุสัย วิจิกิจฉานุสัย ภวราคานุสัย
อวิชชานุสัย เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อวิชชา อวิชโชฆะ อวิชชาโยคะ อวิชชานุสัย อวิชชาปริยุฏฐาน อวิชชา-
สังโยชน์ อวิชชานิวรณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๐๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๔. อนุสยาอนารัมมณกถา (๘๗)
สก. อวิชชา อวิชโชฆะ อวิชชาโยคะ ฯลฯ อวิชชานิวรณ์ เป็นสภาวธรรม
ที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อวิชชานุสัยเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อวิชชานุสัยเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. นับเนื่องในขันธ์ไหน
ปร. นับเนื่องในสังขารขันธ์
สก. สังขารขันธ์เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สังขารขันธ์เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อวิชชานุสัยนับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อวิชชานับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อวิชชานับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๐๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๔. อนุสยาอนารัมมณกถา (๘๗)
สก. อวิชชานุสัยนับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อวิชชานุสัยนับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้
แต่อวิชชานับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สังขารขันธ์ส่วนหนึ่งเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ อีกส่วนหนึ่งเป็น
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สังขารขันธ์ส่วนหนึ่งเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ อีกส่วนหนึ่งเป็น
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์ ส่วนหนึ่งเป็นสภาวธรรมที่รับรู้
อารมณ์ได้ อีกส่วนหนึ่งเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๕๖] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “อนุสัยเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้”
ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. ปุถุชน เมื่อจิตที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตกำลังเป็นไปอยู่ ท่านยอม
รับว่า “เป็นผู้มีอนุสัย” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. อนุสัยเหล่านั้นเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น อนุสัยจึงเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๐๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๕. ญาณังอนารัมมณันติกถา (๘๘)
ปร. ปุถุชน เมื่อจิตที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตกำลังเป็นไปอยู่ ท่านยอม
รับว่า “เป็นผู้มีราคะ” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. ราคะนั้นเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น ราคะจึงเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้
อนุสยาอนารัมมณกถา จบ

๕. ญาณังอนารัมมณันติกถา (๘๘)
ว่าด้วยญาณที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้
[๕๕๗] สก. ญาณเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. ญาณเป็นรูป เป็นนิพพาน เป็นจักขายตนะ ฯลฯ เป็นโผฏฐัพพายตนะ
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ญาณเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละ สัมมาทิฏฐิ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์
เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอันธกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๕๗-๕๕๘/๒๔๕)
๒ เพราะมีความเห็นว่า ในขณะที่เห็นรูป เป็นต้น ญาณของพระอรหันต์ปรากฏอยู่ แต่รับรู้อารมณ์ไม่ได้
ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า ในขณะที่เห็นรูป เป็นต้น ญาณของพระอรหันต์ไม่ปรากฏ (อภิ.ปญฺจ.อ.
๕๕๗-๕๕๘/๒๔๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๐๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๕. ญาณังอนารัมมณันติกถา (๘๘)
สก. ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละ สัมมาทิฏฐิ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์
เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ญาณเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ญาณเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. นับเนื่องในขันธ์ไหน
ปร. นับเนื่องในสังขารขันธ์
สก. สังขารขันธ์เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สังขารขันธ์เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ญาณนับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ปัญญานับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ปัญญานับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๐๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๕. ญาณังอนารัมมณันติกถา (๘๘)
สก. ญาณนับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ญาณนับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ แต่
ปัญญานับเนื่องในสังขารขันธ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สังขารขันธ์ส่วนหนึ่งเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ อีกส่วนหนึ่งเป็น
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สังขารขันธ์ส่วนหนึ่งเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ อีกส่วนหนึ่งเป็น
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์ ส่วนหนึ่งเป็นสภาวธรรมที่รับรู้
อารมณ์ได้ อีกส่วนหนึ่งเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๕๘] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “ญาณเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้”
ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. พระอรหันต์ผู้พรั่งพร้อมด้วยจักขุวิญญาณ ท่านยอมรับว่า “เป็นผู้มีญาณ”
ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. ญาณนั้นเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น ญาณจึงเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้
ปร. พระอรหันต์ผู้พรั่งพร้อมด้วยจักขุวิญญาณ ท่านยอมรับว่า “เป็นผู้มี
ปัญญา” ใช่ไหม
สก. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๐๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๖. (ก) อตีตารัมมณกถา (๘๙)
ปร. ปัญญานั้นเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น ปัญญาจึงเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้
ญาณังอนารัมมณันติกถา จบ

๖. (ก) อตีตารัมมณกถา (๘๙)
ว่าด้วยจิตมีอดีตธรรมเป็นอารมณ์
[๕๕๙] สก. จิตที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้
ใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. จิตมีอดีตธรรมเป็นอารมณ์มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากจิตมีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ได้ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “จิตที่มี
อดีตธรรมเป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้” คำของท่านที่ว่า “จิต
ที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้” จึงผิด ก็หรือว่าหาก
จิตเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “จิตมีอดีตธรรมเป็น
อารมณ์” คำของท่านที่ว่า “จิตที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ แต่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์” จึงผิด
สก. จิตที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ ปรารภอดีต มีอยู่มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ ปรารภอดีตมีอยู่ ท่านก็ไม่ควร
ยอมรับว่า “จิตที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้”

อตีตารัมมณกถา จบ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอุตตราปถกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๕๙-๕๖๑/๒๔๕)
๒ เพราะมีความเห็นว่า อดีตไม่มี ดังนั้น จิตที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ จึงรับรู้อารมณ์ไม่ได้ (อภิ.ปญฺจ.อ.
๕๕๙-๕๖๑/๒๔๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๑๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๖. (ข) อนาคตารัมมณกถา
๖. (ข) อนาคตารัมมณกถา
ว่าด้วยจิตมีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์
[๕๖๐] สก. จิตที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้ใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. จิตมีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ได้มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากจิตมีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ได้ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “จิตที่มี
อนาคตธรรมเป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้” คำของท่านที่ว่า
“จิตที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้” จึงผิด
ก็หรือว่าหากจิตเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “จิตมี
อนาคตธรรมเป็นอารมณ์” คำของท่านที่ว่า “จิตที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์” จึงผิด
สก. จิตที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจปรารภอนาคตมีอยู่มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ ปรารภอนาคตมีอยู่ ท่านก็ไม่ควร
ยอมรับว่า “จิตที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้”

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอุตตราปถกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๕๙-๕๖๐/๒๔๕)
๒ เพราะมีความเห็นว่า อนาคตไม่มี ดังนั้น จิตที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์จึงรับรู้อารมณ์ไม่ได้ (อภิ.ปญฺจ.อ.
๕๕๙-๕๖๐/๒๔๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๑๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๖. (ข) อนาคตารัมมณกถา
สก. ความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ ปรารภปัจจุบันมีอยู่ จิตที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ ปรารภอดีตมีอยู่ จิตที่มีอดีตธรรมเป็น
อารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ ปรารภปัจจุบันมีอยู่ จิตที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ ปรารภอนาคตมีอยู่ จิตที่มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ ปรารภอดีตมีอยู่ จิตที่มีอดีตธรรมเป็น
อารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ ปรารภปัจจุบันมีอยู่ จิตที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ ปรารภอนาคตมีอยู่ จิตที่มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ ปรารภปัจจุบันมีอยู่ จิตที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๑๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๗. วิตักกานุปติตกถา (๙๐)
[๕๖๑] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “จิตที่มีอดีตธรรมและอนาคตธรรมเป็นอารมณ์
เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. อารมณ์ที่เป็นอดีตและอนาคตไม่มีมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. หากอารมณ์ที่เป็นอดีตธรรมและอนาคตธรรมไม่มี ดังนั้น ท่านจึงควร
ยอมรับว่า “จิตที่มีอดีตธรรมและอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ เป็นสภาวธรรมที่รับรู้
อารมณ์ไม่ได้” ฯลฯ
อนาคตารัมมณกถา จบ

๗. วิตักกานุปติตกถา (๙๐)
ว่าด้วยจิตเนื่องด้วยวิตก
[๕๖๒] สก. จิตทุกดวงเนื่องด้วยวิตกใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. จิตทุกดวงเนื่องด้วยวิจาร เนื่องด้วยปีติ เนื่องด้วยสุข เนื่องด้วยทุกข์
เนื่องด้วยโสมนัส เนื่องด้วยโทมนัส เนื่องด้วยอุเบกขา เนื่องด้วยสัทธา เนื่องด้วย
วิริยะ เนื่องด้วยสติ เนื่องด้วยสมาธิ เนื่องด้วยปัญญา เนื่องด้วยราคะ เนื่องด้วยโทสะ
ฯลฯ เนื่องด้วยอโนตตัปปะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. จิตทุกดวงเนื่องด้วยวิตกใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอุตตราปถกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๖๒/๒๔๖)
๒ เพราะมีความเห็นว่า จิตที่ปราศจากวิตกไม่มี ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า จิตบางดวงปราศจาก
วิตก (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๖๒/๒๔๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๑๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๗. วิตักกานุปติตกถา (๙๐)
สก. สมาธิที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารมีอยู่มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากสมาธิที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารมีอยู่ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “จิตทุกดวง
เนื่องด้วยวิตก”
สก. จิตทุกดวงเนื่องด้วยวิตกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สมาธิที่ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีอยู่มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากสมาธิที่ไม่มีวิตก ไม่มีวิจารมีอยู่ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “จิตทุกดวง
เนื่องด้วยวิตก”
สก. จิตทุกดวงเนื่องด้วยวิตกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สมาธิพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ๓ อย่าง คือ (๑) สมาธิที่มีวิตกมีวิจาร
(๒) สมาธิที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร (๓) สมาธิที่ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากสมาธิพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ๓ อย่าง คือ (๑) สมาธิที่มีวิตก
มีวิจาร (๒) สมาธิที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร (๓) สมาธิที่ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร ท่านก็
ไม่ควรยอมรับว่า “จิตทุกดวงเนื่องด้วยวิตก”

วิตักกานุปติตกถา จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๑๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๘. วิตักกวิปผารสัททกถา (๙๑)
๘. วิตักกวิปผารสัททกถา (๙๑)
ว่าด้วยความแผ่ไปแห่งวิตกเป็นเสียง
[๕๖๓] สก. ทุกครั้งเมื่อตรึกอยู่ ตรองอยู่ ความแผ่ไปแห่งวิตกเป็นเสียงใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. ทุกครั้งเมื่อถูกต้องอยู่ ความแผ่ไปแห่งผัสสะเป็นเสียง ฯลฯ ทุกครั้ง
เมื่อเสวยอารมณ์ ความแผ่ไปแห่งเวทนาเป็นเสียง ฯลฯ ทุกครั้งเมื่อจำได้ ความ
แผ่ไปแห่งสัญญาเป็นเสียง ฯลฯ ทุกครั้งเมื่อจงใจอยู่ ความแผ่ไปแห่งเจตนาเป็นเสียง
ฯลฯ ทุกครั้งเมื่อคิดอยู่ ความแผ่ไปแห่งจิตเป็นเสียง ฯลฯ ทุกครั้งเมื่อระลึกอยู่
ความแผ่ไปแห่งสติเป็นเสียง ฯลฯ ทุกครั้งเมื่อรู้อยู่ ความแผ่ไปแห่งปัญญาเป็น
เสียงใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ทุกครั้ง เมื่อตรึกอยู่ ตรองอยู่ ความแผ่ไปแห่งวิตกเป็นเสียงใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความแผ่ไปแห่งวิตก เป็นเสียงที่พึงรู้ด้วยโสตวิญญาณ กระทบที่โสตะ
มาสู่คลองแห่งโสตะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความแผ่ไปแห่งวิตกไม่เป็นเสียงที่พึงรู้ด้วยโสตวิญญาณ ไม่กระทบที่โสตะ
ไม่มาสู่คลองแห่งโสตะมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากความแผ่ไปแห่งวิตกไม่เป็นเสียงที่พึงรู้ด้วยโสตวิญญาณ ไม่กระทบ
ที่โสตะ ไม่มาสู่คลองแห่งโสตะ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “ทุกครั้งเมื่อตรึกอยู่
ตรองอยู่ ความแผ่ไปแห่งวิตกเป็นเสียง”

วิตักกวิปผารสัททกถา จบ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายปุพพเสลิยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๖๓/๒๔๖)
๒ เพราะปรวาทียึดเอาพระสูตรที่ว่า ‘วิตกวิจารเป็นวจีสังขาร’ จึงมีความเห็นว่า ขณะที่บุคคลตรึกอยู่
ตรองอยู่ ความแผ่ไปแห่งวิตกวิจารนั้นเป็นเสียงได้ ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า ความแผ่ไปแห่งวิตก
วิจารไม่เป็นเสียง (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๖๓/๒๔๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๑๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๙. นยถาจิตตัสสวาจาติกถา (๙๒)
๙. นยถาจิตตัสสวาจาติกถา (๙๒)
ว่าด้วยวาจาไม่เป็นไปตามที่คิด
[๕๖๔] สก. วาจาไม่เป็นไปตามที่คิดใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. วาจามีได้แก่บุคคลผู้ไม่มีผัสสะ ไม่มีเวทนา ไม่มีสัญญา ไม่มีเจตนา
ไม่มีจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. วาจามีได้แก่บุคคลผู้มีผัสสะ มีเวทนา มีสัญญา มีเจตนา มีจิต มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากวาจามีได้แก่บุคคลผู้มีผัสสะ ฯลฯ มีจิต ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า
“วาจาไม่เป็นไปตามที่คิด”
สก. วาจาไม่เป็นไปตามที่คิดใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. วาจามีได้แก่บุคคลผู้ไม่นึกถึงอยู่ ฯลฯ ไม่ผูกใจอยู่ ฯลฯ ไม่ตั้งใจอยู่
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. วาจามีได้แก่บุคคลผู้นึกถึงอยู่ ผูกใจอยู่ ฯลฯ ตั้งใจอยู่ มิใช่หรือ
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายปุพพเสลิยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๖๔/๒๔๖-๒๔๗)
๒ เพราะมีความเห็นว่า วาจาที่เปล่งออกมาไม่อยู่ในการควบคุมของจิต จึงถือว่า วาจาไม่เป็นไปตามที่คิด
(อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๖๔/๒๔๖-๒๔๗)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๑๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๙. นยถาจิตตัสสวาจาติกถา (๙๒)
สก. หากวาจามีได้แก่บุคคลผู้นึกถึงอยู่ ผูกใจอยู่ ฯลฯ ตั้งใจอยู่ ท่านก็ไม่
ควรยอมรับว่า “วาจาไม่เป็นไปตามที่คิด”
สก. วาจาไม่เป็นไปตามที่คิดใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. วาจามีจิตเป็นสมุฏฐาน เกิดร่วมกับจิต เกิดขณะเดียวกับจิตมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากวาจามีจิตเป็นสมุฏฐาน เกิดร่วมกับจิต เกิดขณะเดียวกับจิต ท่าน
ก็ไม่ควรยอมรับว่า “วาจาไม่เป็นไปตามที่คิด”
สก. วาจาไม่เป็นไปตามที่คิดใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลไม่ประสงค์จะกล่าวก็กล่าวได้ ไม่ประสงค์จะว่าก็ว่าได้ ไม่ประสงค์
จะร้องเรียกก็ร้องเรียกได้ ไม่ประสงค์จะพูดก็พูดได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลประสงค์จะกล่าวจึงกล่าวได้ ประสงค์จะว่าจึงว่าได้ ประสงค์จะ
ร้องเรียกจึงร้องเรียกได้ ประสงค์จะพูดจึงพูดได้มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากบุคคลประสงค์จะกล่าวจึงกล่าวได้ ประสงค์จะว่าจึงว่าได้ ประสงค์
จะร้องเรียกจึงร้องเรียกได้ ประสงค์จะพูดจึงพูดได้ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “วาจา
ไม่เป็นไปตามที่คิด”
[๕๖๕] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “วาจาไม่เป็นไปตามที่คิด” ใช่ไหม
สก. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๑๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๑๐. นยถาจิตตัสสกายกัมมันติกถา (๙๓)
ปร. บางคนคิดว่า “จะกล่าวอย่างหนึ่ง” แต่กล่าวไปอีกอย่างหนึ่ง คิดว่า
“จะว่าอย่างหนึ่ง” แต่ว่าไปอีกอย่างหนึ่ง คิดว่า “จะร้องเรียกอย่างหนึ่ง” แต่ร้อง
เรียกไปอีกอย่างหนึ่ง คิดว่า “จะพูดอย่างหนึ่ง” แต่พูดไปอีกอย่างหนึ่ง มีอยู่มิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. หากบางคนคิดว่า “จะกล่าวอย่างหนึ่ง” แต่กล่าวไปอีกอย่างหนึ่ง ฯลฯ
คิดว่า “จะพูดอย่างหนึ่ง” แต่พูดไปอีกอย่างหนึ่งมีอยู่ ดังนั้น ท่านจึงควรยอมรับว่า
“วาจาไม่เป็นไปตามที่คิด”
นยถาจิตตัสสวาจาติกถา จบ

๑๐. นยถาจิตตัสสกายกัมมันติกถา (๙๓)
ว่าด้วยกายกรรมไม่เป็นไปตามที่คิด
[๕๖๖] สก. กายกรรมไม่เป็นไปตามที่คิดใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. กายกรรมมีได้แก่บุคคลผู้ไม่มีผัสสะ ฯลฯ ไม่มีจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กายกรรมมีได้แก่บุคคลผู้มีผัสสะ ฯลฯ มีจิตมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากกายกรรมมีได้แก่บุคคลผู้มีผัสสะ ฯลฯ มีจิต ท่านก็ไม่ควรยอม
รับว่า “กายกรรมไม่เป็นไปตามที่คิด”

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายปุพพเสลิยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๖๖/๒๔๗)
๒ เพราะมีความเห็นว่า การเคลื่อนไหวทางกายไม่เกี่ยวข้องกับจิต จึงถือว่า กายกรรมไม่เป็นไปตามที่คิด
(อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๖๖/๒๔๗)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๑๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๑๐. นยถาจิตตัสสกายกัมมันติกถา (๙๓)
สก. กายกรรมไม่เป็นไปตามที่คิดใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กายกรรมมีได้แก่บุคคลผู้ไม่นึกถึงอยู่ ฯลฯ ไม่ตั้งใจอยู่ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กายกรรมมีได้แก่บุคคลผู้นึกถึงอยู่ ฯลฯ ตั้งใจอยู่มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากกายกรรมมีได้แก่บุคคลผู้นึกถึงอยู่ ฯลฯ ตั้งใจอยู่ ท่านก็ไม่ควร
ยอมรับว่า “กายกรรมไม่เป็นไปตามที่คิด”
สก. กายกรรมไม่เป็นไปตามที่คิดใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กายกรรมมีจิตเป็นสมุฏฐาน เกิดร่วมกับจิต เกิดขณะเดียวกับจิตมิใช่
หรือ
ปร. ใช่
สก. หากกายกรรมมีจิตเป็นสมุฏฐาน เกิดร่วมกับจิต เกิดขณะเดียวกับจิต
ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “กายกรรมไม่เป็นไปตามที่คิด”
สก. กายกรรมไม่เป็นไปตามที่คิดใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลไม่ประสงค์จะก้าวไปก็ก้าวไปได้ ไม่ประสงค์จะถอยกลับก็ถอยกลับได้
ไม่ประสงค์จะแลดูก็แลดูได้ ไม่ประสงค์จะเหลียวดูก็เหลียวดูได้ ไม่ประสงค์จะคู้เข้าก็คู้เข้า
ได้ ไม่ประสงค์จะเหยียดออกก็เหยียดออกได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๑๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๑๐. นยถาจิตตัสสกายกัมมันติกถา (๙๓)
สก. บุคคลประสงค์จะก้าวไปจึงก้าวไปได้ ประสงค์จะถอยกลับจึงถอยกลับได้
ประสงค์จะแลดูจึงแลดูได้ ประสงค์จะเหลียวดูจึงเหลียวดูได้ ประสงค์จะคู้เข้าจึงคู้เข้า
ได้ ประสงค์จะเหยียดออกจึงเหยียดออกได้มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากบุคคลประสงค์จะก้าวไปจึงก้าวไปได้ ฯลฯ ประสงค์จะเหยียดออก
จึงเหยียดออกได้ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “กายกรรมไม่เป็นไปตามที่คิด”
[๕๖๗] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “กายกรรมไม่เป็นไปตามที่คิด” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. บางคนคิดว่า “จะไปในที่แห่งหนึ่ง” แต่ไปในที่อีกแห่งหนึ่ง ฯลฯ คิดว่า
“จะเหยียดแขนข้างหนึ่ง” แต่เหยียดแขนอีกข้างหนึ่ง มีอยู่มิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. หากบางคนคิดว่า “จะไปในที่แห่งหนึ่ง” แต่ไปในที่อีกแห่งหนึ่ง ฯลฯ
คิดว่า “จะเหยียดแขนข้างหนึ่ง” แต่เหยียดแขนอีกข้างหนึ่งมีอยู่ ดังนั้น ท่านจึง
ควรยอมรับว่า “กายกรรมไม่เป็นไปตามที่คิด”

นยถาจิตตัสสกายกัมมันติกถา จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๒๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๑๑. อตีตานาคตปัจจุปปันนกถา (๙๔)
๑๑. อตีตานาคตปัจจุปปันนกถา (๙๔)
ว่าด้วยอดีต อนาคต และปัจจุบัน๑
[๕๖๘] สก. บุคคลประกอบด้วยอดีตใช่ไหม
ปร.๒ ใช่๓
สก. อดีตดับไปแล้ว หายไปแล้ว แปรผันไปแล้ว สูญไปแล้ว ดับสูญไปแล้ว
มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากอดีตดับไปแล้ว หายไปแล้ว แปรผันไปแล้ว สูญไปแล้ว ดับสูญ
ไปแล้ว ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “บุคคลประกอบด้วยอดีต”
สก. บุคคลประกอบด้วยอนาคตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อนาคตยังไม่เกิด ยังไม่มี ยังไม่เกิดพร้อม ยังไม่บังเกิด ยังไม่บังเกิดขึ้น
ยังไม่ปรากฏมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากอนาคตยังไม่เกิด ยังไม่มี ยังไม่เกิดพร้อม ยังไม่บังเกิด ยังไม่
บังเกิดขึ้น ยังไม่ปรากฏ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “บุคคลประกอบด้วยอนาคต”

เชิงอรรถ :
๑ ในอรรถกถา ชื่อกถานี้เป็น อตีตานาคตสมนฺนาคตกถา ว่าด้วยบุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยนามรูปที่เป็นอดีต
และอนาคต (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๖๘-๕๗๐/๒๔๘)
๒ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอันธกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๖๘/๒๔๘)
๓ เพราะมีความเห็นว่า บุคคลในปัจจุบันมีนามรูปที่เป็นอดีตและอนาคตได้ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๖๘/๒๔๘)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๒๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๑๑. อตีตานาคตปัจจุปปันนกถา (๙๔)
[๕๖๙] สก. บุคคลประกอบด้วยรูปขันธ์ที่เป็นอดีต ที่เป็นอนาคต ที่เป็น
ปัจจุบันใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลประกอบด้วยรูปขันธ์ ๓ ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลประกอบด้วยขันธ์ ๕ ที่เป็นอดีต ที่เป็นอนาคต ที่เป็นปัจจุบัน
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลประกอบด้วยขันธ์ ๑๕ ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลประกอบด้วยจักขายตนะที่เป็นอดีต ที่เป็นอนาคต ที่เป็นปัจจุบัน
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลประกอบด้วยจักขายตนะ ๓ ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลประกอบด้วยอายตนะ ๑๒ ที่เป็นอดีต ที่เป็นอนาคต ที่เป็น
ปัจจุบันใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลประกอบด้วยอายตนะ ๓๖ ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๒๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] ๑๑. อตีตานาคตปัจจุปปันนกถา (๙๔)
สก. บุคคลประกอบด้วยจักขุธาตุที่เป็นอดีต ที่เป็นอนาคต ที่เป็นปัจจุบัน
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลประกอบด้วยจักขุธาตุ ๓ ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลประกอบด้วยธาตุ ๑๘ ที่เป็นอดีต ที่เป็นอนาคต ที่เป็นปัจจุบัน
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลประกอบด้วยธาตุ ๕๔ ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลประกอบด้วยจักขุนทรีย์ที่เป็นอดีต ที่เป็นอนาคต ที่เป็นปัจจุบัน
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลประกอบด้วยจักขุนทรีย์ ๓ ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลประกอบด้วยอินทรีย์ ๒๒ ที่เป็นอดีต ที่เป็นอนาคต ที่เป็น
ปัจจุบันใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลประกอบด้วยอินทรีย์ ๖๖ ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๒๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๙. นวมวรรค] รวมกถาที่มีในวรรค
[๕๗๐] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “บุคคลประกอบด้วยอดีตและอนาคต” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. บุคคลผู้เพ่งวิโมกข์ ๘ ได้ฌาน ๔ ตามปรารถนา ได้อนุปุพพวิหาร
สมาบัติ ๙ มีอยู่มิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. หากบุคคลผู้เพ่งวิโมกข์ ๘ ได้ฌาน ๔ ตามปรารถนา ได้อนุปุพพ-
วิหารสมาบัติ ๙ มีอยู่ ดังนั้น ท่านจึงควรยอมรับว่า “บุคคลประกอบด้วยอดีต
และอนาคต”
อตีตานาคตปัจจุปปันนกถา จบ
นวมวรรค จบ

รวมกถาที่มีในวรรคนี้ คือ

๑. อานิสังสทัสสาวีกถา ๒. อมตารัมมณกถา
๓. รูปังสารัมมณันติกถา ๔. อนุสยาอนารัมมณกถา
๕. ญาณังอนารัมมณันติกถา
๖. (ก) อตีตารัมมณกถา ๖. (ข) อนาคตารัมมณกถา
๗. วิตักกานุปติตกถา ๘. วิตักกวิปผารสัททกถา
๙. นยถาจิตตัสสวาจาติกถา ๑๐. นยถาจิตตัสสกายกัมมันติกถา
๑๑. อตีตานาคตปัจจุปปันนกถา


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๒๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๑. นิโรธกถา (๙๕)
๑๐. ทสมวรรค
๑. นิโรธกถา (๙๕)
ว่าด้วยนิโรธ
[๕๗๑] สก. เมื่อขันธ์ ๕ ที่แสวงหาปฏิสนธิยังไม่ดับ ขันธ์ ๕ ที่เป็นกิริยา
ก็อุบัติใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. มีการประชุมแห่งขันธ์ ๑๐ ขันธ์ ๑๐ มารวมกันได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มีการประชุมแห่งขันธ์ ๑๐ ขันธ์ ๑๐ มารวมกันได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มีการประชุมแห่งผัสสะ ๒ อย่าง ฯลฯ จิต ๒ ดวงใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เมื่อขันธ์ ๕ ที่แสวงหาปฏิสนธิยังไม่ดับ ขันธ์ ๔ ที่เป็นกิริยาก็อุบัติใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มีการประชุมแห่งขันธ์ ๙ ขันธ์ ๙ มารวมกันได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มีการประชุมแห่งขันธ์ ๙ ขันธ์ ๙ มารวมกันได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มีการประชุมแห่งผัสสะ ๒ อย่าง ฯลฯ จิต ๒ ดวงใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอันธกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๗๑/๒๔๘)
๒ เพราะมีความเห็นว่า เมื่อขันธ์ ๕ ที่แสวงหาปฏิสนธิยังไม่ดับ กิริยาขันธ์ ๕ (ขันธ์ที่แสดงความเคลื่อนไหว)ใน
ภพใหม่ก็เกิดขึ้นได้ เช่น ขณะที่จิตดวงก่อนยังไม่ดับ จิตดวงใหม่ก็เกิดขึ้นมา (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๗๑/๒๔๘)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๒๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๒. รูปังมัคโคติกถา (๙๖)
สก. เมื่อขันธ์ ๕ ที่แสวงหาปฏิสนธิยังไม่ดับ ญาณที่เป็นกิริยาก็อุบัติใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มีการประชุมแห่งขันธ์ ๖ ขันธ์ ๖ มารวมกันได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มีการประชุมแห่งขันธ์ ๖ ขันธ์ ๖ มารวมกันได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มีการประชุมแห่งผัสสะ ๒ อย่าง ฯลฯ จิต ๒ ดวงใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๗๒] ปร. เมื่อขันธ์ ๕ ที่แสวงหาปฏิสนธิดับ มรรคก็อุบัติใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. บุคคลตายแล้ว เจริญมรรคได้ บุคคลทำกาละแล้วเจริญมรรคได้ใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
นิโรธกถา จบ

๒. รูปังมัคโคติกถา (๙๖)
ว่าด้วยรูปเป็นมรรค
[๕๗๓] สก. รูปของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นมรรคใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. รูปเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง ความผูกใจ ความ
สนใจ ความใฝ่ใจ ความจงใจ ความปรารถนา ความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหิสาสกะ นิกายสมิติยะ และนิกายมหาสังฆิกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๗๓/๒๔๙)
๒ เพราะมีความเห็นว่า สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ ทั้ง ๓ องค์นี้ เป็นรูป ไม่ใช่นาม และเนื่อง
จากมรรคทั้ง ๓ องค์นี้ นับเนื่องเข้าในมรรคมีองค์ ๘ จึงถือว่ารูปก็ชื่อว่ามรรคได้ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๗๓/๒๔๙)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๒๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๒. รูปังมัคโคติกถา (๙๖)
สก. รูปเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มี
ความตั้งใจมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากรูปเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่
มีความตั้งใจ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “รูปของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยมรรค
เป็นมรรค”
สก. สัมมาวาจาเป็นมรรคใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาวาจาเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง ฯลฯ มี
ความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาวาจาเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ
ไม่มีความตั้งใจมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากสัมมาวาจาเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ
ไม่มีความตั้งใจ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “สัมมาวาจาเป็นมรรค”
สก. สัมมากัมมันตะ ฯลฯ สัมมาอาชีวะเป็นมรรคใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาอาชีวะเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง ฯลฯ มี
ความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาอาชีวะเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ
ไม่มีความตั้งใจมิใช่หรือ
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๒๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๒. รูปังมัคโคติกถา (๙๖)
สก. หากสัมมาอาชีวะเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง
ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “สัมมาอาชีวะเป็นมรรค”
[๕๗๔] สก. สัมมาทิฏฐิเป็นมรรค และสัมมาทิฏฐินั้นเป็นสภาวธรรมที่รับรู้
อารมณ์ได้ มีความนึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาวาจาเป็นมรรค และสัมมาวาจานั้นเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ได้ มีความนึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาทิฏฐิเป็นมรรค และสัมมาทิฏฐินั้นเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ได้มีความนึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมากัมมันตะ ฯลฯ สัมมาอาชีวะเป็นมรรค และสัมมาอาชีวะนั้น
เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาสังกัปปะ ฯลฯ สัมมาวายามะ ฯลฯ สัมมาสติ ฯลฯ สัมมาสมาธิ
เป็นมรรค และสัมมาสมาธินั้นเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง ฯลฯ
มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาวาจาเป็นมรรค และสัมมาวาจานั้นเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
มีความนึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาสมาธิเป็นมรรค และสัมมาสมาธินั้นเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
มีความนึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๒๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๒. รูปังมัคโคติกถา (๙๖)
สก. สัมมากัมมันตะ ฯลฯ สัมมาอาชีวะเป็นมรรค และสัมมาอาชีวะนั้น
เป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาวาจาเป็นมรรค และสัมมาวาจานั้นเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาทิฏฐิเป็นมรรค และสัมมาทิฏฐินั้นเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้
ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาวาจาเป็นมรรค และสัมมาวาจานั้นเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาสังกัปปะ ฯลฯ สัมมาวายามะ ฯลฯ สัมมาสติ ฯลฯ สัมมาสมาธิ
เป็นมรรค และสัมมาสมาธินั้นเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง
ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมากัมมันตะ ฯลฯ สัมมาอาชีวะเป็นมรรค และสัมมาอาชีวะนั้นเป็น
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาทิฏฐิ ฯลฯ สัมมาสังกัปปะ ฯลฯ สัมมาวายามะ ฯลฯ สัมมาสติ
ฯลฯ สัมมาสมาธิเป็นมรรค และสัมมาสมาธินั้นเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้
ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๒๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๓. ปัญจวิญญาณสมังคิสสมัคคภาวนากถา (๙๗)
[๕๗๕] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “รูปของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยมรรค
เป็นมรรค” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ เป็นมรรคมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. หากสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะเป็นมรรค ดังนั้น ท่าน
จึงควรยอมรับว่า “รูปของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยมรรคเป็นมรรค”
รูปังมัคโคติกถา จบ

๓. ปัญจวิญญาณสมังคิสสมัคคภาวนากถา (๙๗)
ว่าด้วยการเจริญมรรคของผู้พรั่งพร้อมด้วยวิญญาณ ๕
[๕๗๖] สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยวิญญาณ ๕ มีการเจริญมรรคใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. วิญญาณ ๕ มีธรรมที่เกิดขึ้นเป็นวัตถุ มีธรรมที่เกิดขึ้นเป็น
อารมณ์๓ ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากวิญญาณ ๕ มีธรรมที่เกิดขึ้นเป็นวัตถุ มีธรรมที่เกิดขึ้นเป็นอารมณ์
ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยวิญญาณ ๕ มีการเจริญมรรคได้”

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๗๖/๒๕๐)
๒ เพราะมีความเห็นว่า บุคคลสามารถเจริญมรรคได้ในเวลาเห็นรูป ได้ยินเสียง เป็นต้น (อภิ.ปญฺจ.อ.
๕๗๖/๒๕๐)
๓ ดูเทียบ อภิ.วิ. (แปล) ๓๕/๗๖๒/๔๙๖-๔๙๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๓๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๓. ปัญจวิญญาณสมังคิสสมัคคภาวนากถา (๙๗)
สก. วิญญาณ ๕ มีธรรมที่เกิดขึ้นก่อนเป็นวัตถุ มีธรรมที่เกิดขึ้นก่อนเป็น
อารมณ์ มีธรรมภายในตนเป็นวัตถุ มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ มีธรรมไม่แตก
ดับเป็นวัตถุ มีธรรมไม่แตกดับเป็นอารมณ์ มีวัตถุต่างกัน มีอารมณ์ต่างกัน ไม่
เสวยอารมณ์ของกันและกัน ไม่เกิดขึ้นเพราะไม่ใส่ใจ ไม่เกิดขึ้นเพราะไม่มนสิการ
เกิดขึ้นโดยไม่สับลำดับกัน ไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน ไม่เกิดขึ้นในลำดับของกันและกัน
วิญญาณ ๕ ไม่มีความผูกใจมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากวิญญาณ ๕ ไม่มีความผูกใจ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “บุคคลผู้
พรั่งพร้อมด้วยวิญญาณ ๕ มีการเจริญมรรคได้”
[๕๗๗] สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยจักขุวิญญาณมีการเจริญมรรคใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขุวิญญาณปรารภความว่างเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. จักขุวิญญาณปรารภความว่างเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เพราะอาศัยจักษุและความว่าง จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เพราะอาศัยจักษุและความว่าง จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่ว่า “เพราะอาศัยจักษุและความว่าง จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้น”
มีอยู่จริงหรือ
ปร. ไม่มี
สก. พระสูตรที่ว่า “เพราะอาศัยจักษุและรูป จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้น” มีอยู่
จริงใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๓๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๓. ปัญจวิญญาณสมังคิสสมัคคภาวนากถา (๙๗)
สก. หากพระสูตรว่า “เพราะอาศัยจักษุและรูป จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้น”
มีอยู่จริง ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “เพราะอาศัยจักษุและความว่าง จักขุวิญญาณ
จึงเกิดขึ้น”
[๕๗๘] สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยจักขุวิญญาณ มีการเจริญมรรคใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขุวิญญาณปรารภอดีตและอนาคตเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยจักขุวิญญาณมีการเจริญมรรคใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขุวิญญาณปรารภผัสสะ ฯลฯ ปรารภเวทนา ฯลฯ ปรารภสัญญา
ฯลฯ ปรารภเจตนา ฯลฯ ปรารภจิต ฯลฯ ปรารภจักษุ ฯลฯ ปรารภกาย ฯลฯ
ปรารภเสียง ฯลฯ ปรารภโผฏฐัพพะเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมโนวิญญาณ มีการเจริญมรรค มโนวิญญาณ
ปรารภความว่างเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยจักขุวิญญาณ มีการเจริญมรรค จักขุวิญญาณ
ปรารภความว่างเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมโนวิญญาณ มีการเจริญมรรค มโนวิญญาณ
ปรารภอดีตและอนาคตเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๓๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๓. ปัญจวิญญาณสมังคิสสมัคคภาวนากถา (๙๗)
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยจักขุวิญญาณมีการเจริญมรรค จักขุวิญญาณ
ปรารภอดีตและอนาคตเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมโนวิญญาณมีการเจริญมรรค มโนวิญญาณ
ปรารภผัสสะ ฯลฯ ปรารภเวทนา ฯลฯ ปรารภโผฏฐัพพะเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยจักขุวิญญาณมีการเจริญมรรค จักขุวิญญาณ
ปรารภผัสสะ ปรารภเวทนา ฯลฯ ปรารภโผฏฐัพพะเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๗๙] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยวิญญาณ ๕ มีการ
เจริญมรรค” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัย
นี้เห็นรูปทางตาแล้วเป็นผู้ไม่รวบถือ๑ ไม่แยกถือ๒ ฯลฯ ฟังเสียงทางหูแล้ว ฯลฯ
ดมกลิ่นทางจมูก ฯลฯ ลิ้มรสทางลิ้น ฯลฯ ถูกต้องโผฏฐัพพะทางกายแล้วเป็นผู้
ไม่รวบถือ ไม่แยกถือ”๓ มีอยู่จริงมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยวิญญาณ ๕ จึงมีการเจริญมรรคได้

ปัญจวิญญาณสมังคิสสมัคคภาวนากถา จบ

เชิงอรรถ :
๑ รวบถือ (นิมิตฺตคฺคาหี) หมายถึงมองภาพรวมโดยเห็นเป็นหญิงหรือเป็นชาย เห็นว่ารูปสวย เสียง
ไพเราะ กลิ่นหอม รสอร่อย สัมผัสที่อ่อนนุ่ม เป็นอารมณ์ที่น่าปรารถนาด้วยอำนาจฉันทราคะ (อภิ.สงฺ.อ.
๑๓๕๒/๔๕๖-๗)
๒ แยกถือ (อนุพฺยญฺชนคฺคาหี) หมายถึงมองแยกแยะเป็นส่วน ๆ ไปด้วยอำนาจกิเลส เช่น เห็นมือเท้าว่า
สวยหรือไม่สวย เห็นอาการยิ้มแย้มหัวเราะ การพูด การเหลียวซ้ายแลขวาว่าน่ารัก ถ้าเห็นว่าสวยน่ารัก
ก็เกิดอิฏฐารมณ์ ถ้าเห็นว่าไม่สวยก็เกิดอนิฏฐารมณ์ (อภิ.สงฺ.อ. ๑๓๕๒/๔๕๖-๗)
๓ ดูเทียบ ม.มู. (แปล) ๑๒/๓๔๙/๓๒๘, องฺ.จตุกฺก. (แปล) ๒๑/๑๔/๒๕

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๓๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๔. ปัญจวิญญาณากุสลาปิอกุสลาปีติกถา (๙๘)
๔. ปัญจวิญญาณากุสลาปิอกุสลาปีติกถา (๙๘)
ว่าด้วยวิญญาณ ๕ เป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี
[๕๘๐] สก. วิญญาณ ๕ เป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มีใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. วิญญาณ ๕ มีธรรมที่เกิดขึ้นเป็นวัตถุ มีธรรมที่เกิดขึ้นเป็นอารมณ์
มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากวิญญาณ ๕ มีธรรมที่เกิดขึ้นเป็นวัตถุ มีธรรมที่เกิดขึ้นเป็นอารมณ์
ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “วิญญาณ ๕ เป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี”
สก. วิญญาณ ๕ มีธรรมที่เกิดขึ้นก่อนเป็นวัตถุ มีธรรมที่เกิดขึ้นก่อนเป็น
อารมณ์มีธรรมภายในตนเป็นวัตถุ มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ มีธรรมไม่แตกดับ
เป็นวัตถุ มีธรรมไม่แตกดับเป็นอารมณ์ มีวัตถุต่างกัน มีอารมณ์ต่างกัน ไม่เสวย
อารมณ์ของกันและกัน ไม่เกิดขึ้นเพราะไม่ใส่ใจ ไม่เกิดขึ้นเพราะไม่มนสิการ
เกิดขึ้นโดยไม่สับลำดับกัน ไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน ไม่เกิดขึ้นในลำดับของกันและกัน
วิญญาณ ๕ ไม่มีความผูกใจมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากวิญญาณ ๕ ไม่มีความผูกใจ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “วิญญาณ ๕
เป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี”
[๕๘๑] สก. จักขุวิญญาณเป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขุวิญญาณปรารภความว่างเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๘๐/๒๕๒)
๒ เพราะมีความเห็นว่า วิญญาณ ๕ มีจักขุวิญญาณ เป็นต้น เป็นได้ทั้งกุศลและอกุศล ซึ่งต่างกับความเห็น
ของสกวาทีที่เห็นว่า วิญญาณ ๕ เป็นวิบากเท่านั้น (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๘๐/๒๕๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๓๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๔. ปัญจวิญญาณากุสลาปิอกุสลาปีติกถา (๙๘)
สก. จักขุวิญญาณปรารภความว่างเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เพราะอาศัยจักษุและความว่าง จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เพราะอาศัยจักษุและความว่าง จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่ว่า “เพราะอาศัยจักษุและความว่าง จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้น”
มีอยู่จริงหรือ
ปร. ไม่มี
สก. พระสูตรที่ว่า “เพราะอาศัยจักษุและรูป จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้น” มี
อยู่จริงใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากพระสูตรที่ว่า “เพราะอาศัยจักษุและรูป จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้น”
มีอยู่จริง ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “เพราะอาศัยจักษุและความว่าง จักขุวิญญาณ
จึงเกิดขึ้น”
[๕๘๒] สก. จักขุวิญญาณเป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มีใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขุวิญญาณปรารภอดีตและอนาคตเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. จักขุวิญญาณเป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มีใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๓๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๔. ปัญจวิญญาณากุสลาปิอกุสลาปีติกถา (๙๘)
สก. จักขุวิญญาณปรารภผัสสะ ฯลฯ ปรารภจิต ฯลฯ ปรารภจักษุ ฯลฯ
ปรารภกาย ฯลฯ ปรารภเสียง ฯลฯ ปรารภโผฏฐัพพะเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มโนวิญญาณเป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี มโนวิญญาณปรารภความว่าง
เกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขุวิญญาณเป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี จักขุวิญญาณปรารภความ
ว่างเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มโนวิญญาณเป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี มโนวิญญาณปรารภอดีตและ
อนาคตเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขุวิญญาณเป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี จักขุวิญญาณปรารภอดีตและ
อนาคตเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มโนวิญญาณเป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี มโนวิญญาณปรารภผัสสะ ฯลฯ
ปรารภจิต ฯลฯ ปรารภจักษุ ฯลฯ ปรารภกาย ฯลฯ ปรารภเสียง ฯลฯ
ปรารภโผฏฐัพพะเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขุวิญญาณเป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี จักขุวิญญาณปรารภผัสสะ
ฯลฯ ปรารภโผฏฐัพพะเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๘๓] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “วิญญาณ ๕ เป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี”
ใช่ไหม
สก. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๓๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๕. สาโภคาติกถา (๙๙)
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัย
นี้เห็นรูปทางตาแล้วเป็นผู้รวบถือ ฯลฯ ไม่เป็นผู้รวบถือ ฯลฯ ฟังเสียงทางหู ฯลฯ
ถูกต้องโผฏฐัพพะทางกายแล้วเป็นผู้รวบถือ ฯลฯ ไม่เป็นผู้รวบถือ”๑ มีอยู่จริง
มิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น วิญญาณ ๕ จึงเป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี
ปัญจวิญญาณากุสลาปิอกุสลาปีติกถา จบ

๕. สาโภคาติกถา (๙๙)
ว่าด้วยวิญญาณ ๕ มีความผูกใจ
[๕๘๔] สก. วิญญาณ ๕ มีความผูกใจใช่ไหม
ปร.๒ ใช่๓
สก. วิญญาณ ๕ มีธรรมที่เกิดขึ้นเป็นวัตถุ มีธรรมที่เกิดขึ้นเป็นอารมณ์
มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากวิญญาณ ๕ มีธรรมที่เกิดขึ้นเป็นวัตถุ มีธรรมที่เกิดขึ้นเป็นอารมณ์
ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “วิญญาณ ๕ มีความผูกใจ”
สก. วิญญาณ ๕ มีธรรมที่เกิดขึ้นก่อนเป็นวัตถุ มีธรรมที่เกิดขึ้นก่อนเป็น
อารมณ์ มีธรรมภายในตนเป็นวัตถุ มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ มีธรรมไม่
แตกดับเป็นวัตถุ มีธรรมไม่แตกดับเป็นอารมณ์ มีวัตถุต่างกัน มีอารมณ์ต่างกัน
ไม่เสวยอารมณ์ของกันและกัน ไม่เกิดขึ้นเพราะไม่ใส่ใจ ไม่เกิดขึ้นเพราะไม่มนสิการ
เกิดขึ้นโดยไม่สับลำดับกัน ไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน ไม่เกิดขึ้นในลำดับของกันและกัน
มิใช่หรือ
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ดูเชิงอรรถที่ ๑,๒ ข้อ ๕๗๙ หน้า ๖๓๓ ในเล่มนี้
๒ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๘๔/๒๕๒)
๓เพราะมีความเห็นว่า วิญญาณ ๕ มีจักขุวิญญาณ เป็นต้น สามารถพิจารณาแยกแยะสิ่งดี สิ่งไม่ดีได้
(อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๘๔/๒๕๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๓๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๕. สาโภคาติกถา (๙๙)
สก. หากวิญญาณ ๕ ไม่เกิดขึ้นในลำดับของกันและกัน ท่านก็ไม่ควร
ยอมรับว่า “วิญญาณ ๕ มีความผูกใจ”
[๕๘๕] สก. จักขุวิญญาณมีความผูกใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขุวิญญาณปรารภความว่างเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. จักขุวิญญาณปรารภความว่างเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เพราะอาศัยจักษุและความว่าง จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เพราะอาศัยจักษุและความว่าง จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่ว่า “เพราะอาศัยจักษุและความว่าง จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้น”
มีอยู่จริงหรือ
ปร. ไม่มี ฯลฯ
สก. พระสูตรที่ว่า “เพราะอาศัยจักษุและรูป จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้น” มีอยู่
จริง ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากพระสูตรที่ว่า “เพราะอาศัยจักษุและรูป จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้น”
มีอยู่จริง ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “เพราะอาศัยจักษุและความว่าง จักขุวิญญาณ
จึงเกิดขึ้น”
สก. จักขุวิญญาณมีความผูกใจใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๓๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๕. สาโภคาติกถา (๙๙)
สก. จักขุวิญญาณปรารภอดีตและอนาคตเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. จักขุวิญญาณมีความผูกใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขุวิญญาณปรารภผัสสะ ฯลฯ ปรารภโผฏฐัพพะเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มโนวิญญาณมีความผูกใจ มโนวิญญาณปรารภความว่างเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขุวิญญาณมีความผูกใจ จักขุวิญญาณปรารภความว่างเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มโนวิญญาณมีความผูกใจ มโนวิญญาณปรารภอดีตและอนาคตเกิดขึ้น
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขุวิญญาณมีความผูกใจ จักขุวิญญาณปรารภอดีตและอนาคตเกิดขึ้น
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มโนวิญญาณมีความผูกใจ มโนวิญญาณปรารภผัสสะ ฯลฯ ปรารภ
โผฏฐัพพะเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขุวิญญาณมีความผูกใจ จักขุวิญญาณปรารภผัสสะ ฯลฯ ปรารภ
โผฏฐัพพะเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๓๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๖. ทวีหิสีเลหิกถา (๑๐๐)
[๕๘๖] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “วิญญาณ ๕ มีความผูกใจ” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัย
นี้เห็นรูปทางตาแล้วเป็นผู้รวบถือ ฯลฯ ไม่เป็นผู้รวบถือ ฯลฯ ถูกต้องโผฏฐัพพะ
ทางกายแล้วเป็นผู้รวบถือ ฯลฯ ไม่เป็นผู้รวบถือ” มีอยู่จริง มิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น วิญญาณ ๕ จึงมีความผูกใจ ฯลฯ
สาโภคาติกถา จบ

๖. ทวีหิสีเลหิกถา (๑๐๐)
ว่าด้วยศีล ๒ อย่าง
[๕๘๗] สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยศีล ๒ ใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยผัสสะ ๒ เวทนา ๒
สัญญา ๒ เจตนา ๒ จิต ๒ สัทธา ๒ สติ ๒ สมาธิ ๒ ปัญญา ๒ ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยโลกิยศีลใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๘๗/๒๕๓)
๒ เพราะมีความเห็นว่า ในขณะที่บรรลุมรรค โลกิยศีลสามารถเกิดร่วมกับโลกุตตรศีลได้ ซึ่งต่างกับความ
เห็นของสกวาทีที่เห็นว่า โลกุตตรศีลเท่านั้นเกิดขึ้น (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๘๗/๒๕๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๔๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๖. ทวีหิสีเลหิกถา (๑๐๐)
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยผัสสะที่เป็นโลกิยะ
เวทนาที่เป็นโลกิยะ สัญญาที่เป็นโลกิยะ เจตนาที่เป็นโลกิยะ จิตที่เป็นโลกิยะ
สัทธาที่เป็นโลกิยะ วิริยะที่เป็นโลกิยะ สติที่เป็นโลกิยะ สมาธิที่เป็นโลกิยะ
ปัญญาที่เป็นโลกิยะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยศีลที่เป็นโลกิยะและ
โลกุตตระใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยผัสสะที่เป็นโลกิยะและ
โลกุตตระ ฯลฯ เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยปัญญาที่เป็นโลกิยะและโลกุตตระใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยศีลที่เป็นโลกิยะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นปุถุชนใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๘๘] สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสัมมาวาจาที่เป็น
โลกิยะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสัมมาทิฏฐิที่เป็นโลกิยะ
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสัมมาวาจาที่เป็น
โลกิยะใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๔๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๖. ทวีหิสีเลหิกถา (๑๐๐)
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสัมมาสังกัปปะที่เป็น
โลกิยะ ฯลฯ สัมมาวายามะที่เป็นโลกิยะ ฯลฯ สัมมาสติที่เป็นโลกิยะ ฯลฯ
สัมมาสมาธิที่เป็นโลกิยะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสัมมากัมมันตะที่เป็น
โลกิยะ ฯลฯ สัมมาอาชีวะที่เป็นโลกิยะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสัมมาทิฏฐิที่เป็นโลกิยะ
ฯลฯ สัมมาสมาธิที่เป็นโลกิยะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสัมมาวาจาที่เป็นโลกิยะ
และโลกุตตระใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสัมมาทิฏฐิที่เป็นโลกิยะ
และโลกุตตระใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสัมมาวาจาที่เป็นโลกิยะ
และโลกุตตระใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสัมมาสังกัปปะที่เป็น
โลกิยะและโลกุตตระ ฯลฯ สัมมาวายามะที่เป็นโลกิยะและโลกุตตระ ฯลฯ สัมมาสติ
ที่เป็นโลกิยะและโลกุตตระ ฯลฯ สัมมาสมาธิที่เป็นโลกิยะและโลกุตตระใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๔๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๖. ทวีหิสีเลหิกถา (๑๐๐)
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสัมมากัมมันตะที่เป็น
โลกิยะและโลกุตตระ ฯลฯ สัมมาอาชีวะที่เป็นโลกิยะและโลกุตตระใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสัมมาทิฏฐิที่เป็นโลกิยะ
และโลกุตตระใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสัมมาอาชีวะที่เป็นโลกิยะ
และโลกุตตระใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสัมมาสังกัปปะที่เป็น
โลกิยะและโลกุตตระ ฯลฯ สัมมาสมาธิที่เป็นโลกิยะและโลกุตตระใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๘๙] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรค เป็นผู้บริบูรณ์
ด้วยศีล ๒” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. เมื่อโลกิยศีลดับไปแล้ว มรรคจึงเกิดขึ้นใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. บุคคลผู้ทุศีล มีศีลขาด มีศีลทะลุ เจริญมรรคได้ใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยมรรคจึงเป็นผู้บริบูรณ์ด้วยศีล ๒

ทวีหิสีเลหิกถา จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๔๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๗. สีลังอเจตสิกันติกถา (๑๐๑)
๗. สีลังอเจตสิกันติกถา (๑๐๑)
ว่าด้วยศีลไม่เป็นเจตสิก
[๕๙๐] สก. ศีลไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. ศีลเป็นรูป ฯลฯ เป็นนิพพาน ฯลฯ เป็นจักขายตนะ ฯลฯ เป็น
กายายตนะ ฯลฯ เป็นรูปายตนะ ฯลฯ เป็นโผฏฐัพพายตนะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ศีลไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ผัสสะไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ศีลไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ สัทธา ฯลฯ วิริยะ ฯลฯ
สติ ฯลฯ สมาธิ ฯลฯ ปัญญาไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ผัสสะเป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๙๐/๒๕๓)
๒ เพราะมีความเห็นว่า ศีลไม่เกิดดับตามกระแสจิต ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า ศีลเป็น
วิรติเจตสิกมีการเกิดดับตามกระแสจิต (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๙๐/๒๕๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๔๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๗. สีลังอเจตสิกันติกถา (๑๐๑)
สก. ศีลเป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ สัทธา ฯลฯ วิริยะ ฯลฯ
สติ ฯลฯ สมาธิ ฯลฯ ปัญญาเป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ศีลเป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๙๑] สก. ศีลไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ศีลมีผลที่ไม่น่าปรารถนาใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ศีลมีผลที่น่าปรารถนามิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากศีลมีผลที่น่าปรารถนา ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “ศีลไม่เป็นเจตสิก”
สก. สัทธามีผลที่น่าปรารถนา สัทธาเป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ศีลมีผลที่น่าปรารถนา ศีลเป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. วิริยะ ฯลฯ สติ ฯลฯ สมาธิ ฯลฯ ปัญญามีผลที่น่าปรารถนา ปัญญา
เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๔๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๗. สีลังอเจตสิกันติกถา (๑๐๑)
สก. ศีลมีผลที่น่าปรารถนา ศีลเป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ศีลมีผลที่น่าปรารถนา ศีลไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัทธามีผลที่น่าปรารถนา สัทธาไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ศีลมีผลที่น่าปรารถนา ศีลไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. วิริยะ ฯลฯ สติ ฯลฯ สมาธิ ฯลฯ ปัญญามีผลที่น่าปรารถนา ปัญญา
ไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๙๒] สก. ศีลไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ศีลไม่มีผล ไม่มีวิบากใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ศีลมีผลมีวิบากมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากศีลมีผลมีวิบาก ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “ศีลไม่เป็นเจตสิก” ฯลฯ
สก. จักขายตนะไม่เป็นเจตสิก ไม่มีวิบากใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ศีลไม่เป็นเจตสิก ไม่มีวิบากใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๔๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๗. สีลังอเจตสิกันติกถา (๑๐๑)
สก. โสตายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ไม่เป็นเจตสิก ไม่มีวิบากใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ศีลไม่เป็นเจตสิกไม่มีวิบากใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ศีลไม่เป็นเจตสิกมีวิบากใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขายตนะไม่เป็นเจตสิกมีวิบากใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ศีลไม่เป็นเจตสิกมีวิบากใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โสตายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ไม่เป็นเจตสิก มีวิบากใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๙๓] สก. สัมมาวาจาไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาทิฏฐิไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาวาจาไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาสังกัปปะ ฯลฯ สัมมาวายามะ ฯลฯ สัมมาสติ ฯลฯ สัมมาสมาธิ
ไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๔๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๗. สีลังอเจตสิกันติกถา (๑๐๑)
สก. สัมมากัมมันตะ ฯลฯ สัมมาอาชีวะ ไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาทิฏฐิไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาอาชีวะไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาสังกัปปะ ฯลฯ สัมมาวายามะ ฯลฯ สัมมาสติ ฯลฯ สัมมาสมาธิ
ไม่เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาทิฏฐิเป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาวาจาเป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาทิฏฐิเป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมากัมมันตะ ฯลฯ สัมมาอาชีวะเป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาสังกัปปะ ฯลฯ สัมมาวายามะ ฯลฯ สัมมาสติ ฯลฯ สัมมาสมาธิ
เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาวาจาเป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๔๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๘. สีลังนจิตตานุปริวัตตีติกถา (๑๐๒)
สก. สัมมาสมาธิเป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมากัมมันตะ ฯลฯ สัมมาอาชีวะ เป็นเจตสิกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๙๔] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “ศีลไม่เป็นเจตสิก” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. เมื่อศีลเกิดขึ้นแล้วดับไป บุคคลผู้มีศีลดับไปแล้วนั้นเป็นผู้ทุศีลใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น ศีลจึงไม่เป็นเจตสิก
สีลังอเจตสิกันติกถา จบ

๘. สีลังนจิตตานุปริวัตตีติกถา (๑๐๒)
ว่าด้วยศีลไม่คล้อยไปตามจิต
[๕๙๕] สก. ศีลไม่คล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. ศีลเป็นรูป ฯลฯ เป็นนิพพาน ฯลฯ เป็นจักขายตนะ ฯลฯ เป็น
โผฏฐัพพายตนะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ศีลไม่คล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ผัสสะไม่คล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๙๕/๒๕๔)
๒ เพราะมีความเห็นว่า เนื่องจากศีลไม่ใช่เจตสิก จึงไม่มีการเกิดดับพร้อมกับจิต (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๙๕/๒๕๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๔๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๘. สีลังนจิตตานุปริวัตตีติกถา (๑๐๒)
สก. ศีลไม่คล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ สัทธา ฯลฯ วิริยะ ฯลฯ
สติ ฯลฯ สมาธิ ฯลฯ ปัญญา ไม่คล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ผัสสะคล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ศีลคล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ สัทธา ฯลฯ วิริยะ ฯลฯ
สติ ฯลฯ สมาธิ ฯลฯ ปัญญา คล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ศีลคล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๙๖] สก. สัมมาวาจาไม่คล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาทิฏฐิไม่คล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาวาจาไม่คล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาสังกัปปะ ฯลฯ สัมมาวายามะ ฯลฯ สัมมาสติ ฯลฯ สัมมาสมาธิ
ไม่คล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๕๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๘. สีลังนจิตตานุปริวัตตีติกถา (๑๐๒)
สก. สัมมากัมมันตะ ฯลฯ สัมมาอาชีวะ ไม่คล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาทิฏฐิไม่คล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาอาชีวะไม่คล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาสังกัปปะ ฯลฯ สัมมาวายามะ ฯลฯ สัมมาสติ ฯลฯ สัมมาสมาธิ
ไม่คล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาทิฏฐิคล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาวาจาคล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาทิฏฐิคล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมากัมมันตะ ฯลฯ สัมมาอาชีวะคล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัมมาสังกัปปะ ฯลฯ สัมมาวายามะ ฯลฯ สัมมาสติ ฯลฯ สัมมาสมาธิ
คล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมาวาจาคล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๕๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๙. สมาทานเหตุกถา (๑๐๓)
สก. สัมมาสมาธิคล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัมมากัมมันตะ ฯลฯ สัมมาอาชีวะ คล้อยไปตามจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๙๗] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “ศีลไม่คล้อยไปตามจิต” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. เมื่อศีลเกิดขึ้นแล้วดับไป บุคคลผู้มีศีลดับไปแล้วนั้นเป็นผู้ทุศีลใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น ศีลจึงไม่คล้อยไปตามจิต
สีลังนจิตตานุปริวัตตีติกถา จบ

๙. สมาทานเหตุกถา (๑๐๓)
ว่าด้วยศีลมีการสมาทานเป็นเหตุ
[๕๙๘] สก. ศีลที่มีการสมาทานเป็นเหตุ เจริญได้ใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา
ที่มีการสมาทานเป็นเหตุ เจริญได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๙๘/๒๕๔)
๒ เพราะมีความเห็นว่า เพียงแต่สมาทานศีลเท่านั้น ศีลก็เจริญขึ้นอย่างต่อเนื่อง (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๙๘/๒๕๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๕๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๙. สมาทานเหตุกถา (๑๐๓)
สก. ศีลที่มีการสมาทานเป็นเหตุ เจริญได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ศีลเจริญได้เหมือนเถาวัลย์ เหมือนเถาย่านทราย เหมือนต้นไม้ เหมือน
ต้นหญ้า เหมือนหญ้าปล้องใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๕๙๙] สก. ศีลที่มีการสมาทานเป็นเหตุ เจริญได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เมื่อบุคคลสมาทานศีลแล้ว ตรึกถึงกามวิตก ตรึกถึงพยาบาทวิตก
ตรึกถึงวิหิงสาวิตกอยู่ ศีลเจริญได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มีการประชุมแห่งผัสสะ ๒ อย่าง ฯลฯ จิต ๒ ดวงใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มีการประชุมแห่งผัสสะ ๒ อย่าง ฯลฯ จิต ๒ ดวงใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ที่มีโทษและไม่มีโทษ ที่เลวและประณีต
ที่เป็นฝ่ายดำ๑ เป็นฝ่ายขาว๒ และเป็นฝ่ายมีส่วนเปรียบ๓ มาประชุมกันได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ที่มีโทษและไม่มีโทษ ที่เลวและประณีต
ที่เป็นฝ่ายดำ เป็นฝ่ายขาว และเป็นฝ่ายมีส่วนเปรียบ มาประชุมกันได้ใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ฝ่ายดำ หมายถึงสังกิเลสธรรม (ธรรมเครื่องทำใจให้เศร้าหมอง) (ที.ปา.ฏีกา ๑๔๔/๗๘)
๒ ฝ่ายขาว หมายถึงโวทานธรรม (ธรรมเครื่องทำใจให้ผ่องแผ้ว) (ที.ปา.ฏีกา ๑๔๔/๗๘)
๓ มีส่วนเปรียบ หมายถึงสังกิเลสธรรมเป็นข้าศึกกับโวทานธรรมตามลำดับ โดยการแสดงการเปรียบเทียบว่า
สังกิเลสธรรมเป็นธรรมที่ควรละ ส่วนโวทานธรรมเป็นธรรมที่ละ (ที.ปา.ฏีกา ๑๔๔/๗๘)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๕๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๙. สมาทานเหตุกถา (๑๐๓)
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย สิ่งที่อยู่ห่างไกล
กันเหลือเกิน ๔ อย่างนี้
สิ่งที่อยู่ห่างไกลกันเหลือเกิน ๔ อย่าง อะไรบ้าง คือ
๑. ท้องฟ้ากับแผ่นดิน นี้เป็นสิ่งที่อยู่ห่างไกลกันเหลือเกินอย่างที่ ๑
ฯลฯ
เพราะฉะนั้น ธรรมของสัตบุรุษจึงห่างไกลกันกับธรรมของอสัตบุรุษ”๑
มีอยู่จริงมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. ดังนั้น ท่านจึงไม่ควรยอมรับว่า “สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล
ที่มีโทษและไม่มีโทษ ที่เลวและประณีต ที่เป็นฝ่ายดำ เป็นฝ่ายขาว และเป็นฝ่าย
มีส่วนเปรียบ มาประชุมกันได้”
[๖๐๐] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “ศีลที่มีการสมาทานเป็นเหตุ เจริญได้” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ชนเหล่าใดปลูกสวนอันน่ารื่นรมย์
ปลูกป่า ฯลฯ ชนเหล่านั้นดำรงอยู่ในธรรม สมบูรณ์ด้วยศีลแล้วย่อมไปสู่สวรรค์”๒
มีอยู่จริง มิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น ศีลที่มีการสมาทานเป็นเหตุ จึงเจริญได้
สมาทานเหตุกถา จบ

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ องฺ.จตุกฺก. (แปล) ๒๑/๔๗/๗๗
๒ ดูเทียบ สํ.ส. (แปล) ๑๕/๔๗/๕๖

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๕๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๑๐. วิญญัตติสีลันติกถา (๑๐๔)
๑๐. วิญญัตติสีลันติกถา (๑๐๔)
ว่าด้วยวิญญัติเป็นศีล
[๖๐๑] สก. วิญญัติเป็นศีลใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. วิญญัติเป็นเจตนาเครื่องเว้นจากการฆ่าสัตว์ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. วิญญัติเป็นเจตนาเครื่องเว้นจากการลักทรัพย์ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. วิญญัติเป็นเจตนาเครื่องเว้นจากการประพฤติผิดในกามใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. วิญญัติเป็นเจตนาเครื่องเว้นจากการพูดเท็จใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. วิญญัติเป็นเจตนาเครื่องเว้นจากการเสพของมึนเมาคือสุราและเมรัยอัน
เป็นเหตุแห่งความประมาทใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. การกราบไหว้เป็นศีล การลุกรับเป็นศีล การทำอัญชลีเป็นศีล การทำ
สามีจิกรรมเป็นศีล การจัดอาสนะให้เป็นศีล การจัดที่นอนให้เป็นศีล การจัดน้ำ
ล้างเท้าให้เป็นศีล การจัดรองเท้าให้เป็นศีล การนวดหลังในเวลาอาบน้ำเป็นศีลใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะและนิกายสมิติยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๐๑/๒๕๔)
๒ เพราะมีความเห็นว่า กายวิญญัติและวจีวิญญัติเป็นศีล (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๐๑/๒๕๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๕๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๑๑. อวิญญัตติทุสสีลยันติกถา (๑๐๕)
สก. ศีลเป็นเจตนาเครื่องเว้นจากการฆ่าสัตว์ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. วิญญัติเป็นเจตนาเครื่องเว้นจากการเสพของมึนเมาคือสุราและเมรัยอัน
เป็นเหตุแห่งความประมาทใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๐๒] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “วิญญัติเป็นศีล” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. วิญญัติเป็นความทุศีลใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น วิญญัติจึงเป็นศีล
วิญญัตติสีลันติกถา จบ

๑๑. อวิญญัตติทุสสีลยันติกถา (๑๐๕)
ว่าด้วยอวิญญัติเป็นความทุศีล
[๖๐๓] สก. อวิญญัติเป็นความทุศีลใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. อวิญญัติเป็นปาณาติบาตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อวิญญัติเป็นอทินนาทานใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๐๓-๖๐๔/๒๕๕)
๒ เพราะมีความเห็นว่า การทำบาปโดยไม่ได้ตั้งใจและการทำบาปตามคำสั่ง เช่น การทำปาณาติบาตที่ครบองค์
จัดเป็นอวิญญัติ อวิญญัติเช่นนี้ เป็นความทุศีล (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๐๓-๖๐๔/๒๕๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๕๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๑๑. อวิญญัตติทุสสีลยันติกถา (๑๐๕)
สก. อวิญญัติเป็นกาเมสุมิจฉาจารใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อวิญญัติเป็นมุสาวาทใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อวิญญัติเป็นสุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เมื่อบุคคลยึดถือบาปกรรม(ตั้งใจทำกรรมชั่ว)แล้วให้ทานอยู่ บุญและบาป
ทั้ง ๒ อย่าง เจริญได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น๑ ฯลฯ
สก. บุญและบาปทั้ง ๒ อย่างเจริญได้ใช่ไหม
ปร. ใช่๒
สก. มีการประชุมแห่งผัสสะ ๒ อย่าง ฯลฯ จิต ๒ ดวงใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มีการประชุมแห่งผัสสะ ๒ อย่าง ฯลฯ จิต ๒ ดวงใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ที่มีโทษและไม่มีโทษ ที่เลวและประณีต
ที่เป็นฝ่ายดำ เป็นฝ่ายขาว และเป็นฝ่ายมีส่วนเปรียบ มาประชุมกันได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ที่มีโทษและไม่มีโทษ ที่เลวและประณีต
ที่เป็นฝ่ายดำ เป็นฝ่ายขาว และเป็นฝ่ายมีส่วนเปรียบ มาประชุมกันได้ใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ เพราะปรวาทีเข้าใจว่า ในขณะให้ทาน บาปจะไม่เกิด (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๐๓-๖๐๔/๒๕๕)
๒ เพราะปรวาทีหมายเอาบาปที่ทำโดยไม่เจตนา (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๐๓-๖๐๔/๒๕๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๕๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๑๑. อวิญญัตติทุสสีลยันติกถา (๑๐๕)
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย สิ่งที่อยู่ห่างไกล
กันเหลือเกิน ๔ อย่างนี้
สิ่งที่อยู่ห่างไกลกันเหลือเกิน ๔ อย่าง อะไรบ้าง คือ
๑. ท้องฟ้ากับแผ่นดิน นี้เป็นสิ่งที่อยู่ห่างไกลกันเหลือเกินอย่างที่ ๑
ฯลฯ
เพราะฉะนั้น ธรรมของสัตบุรุษจึงห่างไกลกันกับธรรมของอสัตบุรุษ”๑
มีอยู่จริงมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. ดังนั้น ท่านจึงไม่ควรยอมรับว่า “สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ที่
มีโทษและไม่มีโทษ ที่เลวและประณีต ที่เป็นฝ่ายดำ เป็นฝ่ายขาว และเป็นฝ่ายมี
ส่วนเปรียบ มาประชุมกันได้”
สก. เมื่อบุคคลยึดถือบาปกรรมแล้วถวายจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ
คิลานปัจจัยเภสัชบริขาร กราบไหว้ผู้ควรกราบไหว้ ต้อนรับผู้ควรต้อนรับ ทำอัญชลี
แก่ผู้ควรทำอัญชลี ทำสามีจิกรรมแก่ผู้ควรทำสามีจิกรรม ให้อาสนะแก่ผู้ควรให้
อาสนะ ให้ทางแก่ผู้ควรให้ทาง บุญและบาปทั้ง ๒ อย่างเจริญได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุญและบาปทั้ง ๒ อย่าง เจริญได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มีการประชุมแห่งผัสสะ ๒ อย่าง ฯลฯ จิต ๒ ดวงใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มีการประชุมแห่งผัสสะ ๒ อย่าง ฯลฯ จิต ๒ ดวงใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ที่มีโทษและไม่มีโทษ ที่เลวและประณีต
ที่เป็นฝ่ายดำ เป็นฝ่ายขาว และเป็นฝ่ายมีส่วนเปรียบ มาประชุมกันได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ องฺ.จตุกฺก. (แปล) ๒๑/๔๗/๗๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๕๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] ๑๑. อวิญญัตติทุสสีลยันติกถา (๑๐๕)
สก. สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ที่มีโทษและไม่มีโทษ ที่เลวและประณีต
ที่เป็นฝ่ายดำ เป็นฝ่ายขาว และเป็นฝ่ายมีส่วนเปรียบ มาประชุมกันได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย สิ่งที่อยู่ห่างไกล
กันเหลือเกิน ๔ อย่างนี้
สิ่งที่อยู่ห่างไกลกันเหลือเกิน ๔ อย่าง อะไรบ้าง คือ
๑. ท้องฟ้ากับแผ่นดิน นี้เป็นสิ่งที่อยู่ห่างไกลกันเหลือเกินอย่างที่ ๑
ฯลฯ
เพราะฉะนั้น ธรรมของสัตบุรุษจึงห่างไกลกันกับธรรมของอสัตบุรุษ”๑
มีอยู่จริงมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. ดังนั้น ท่านจึงไม่ควรยอมรับว่า “สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ที่
มีโทษและไม่มีโทษ ที่เลวและประณีต ที่เป็นฝ่ายดำ เป็นฝ่ายขาว และเป็นฝ่ายมี
ส่วนเปรียบ มาประชุมกันได้”
[๖๐๔] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “อวิญญัติเป็นความทุศีล” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. บุคคลเป็นผู้ยึดถือบาปกรรมมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. หากบุคคลเป็นผู้ยึดถือบาปกรรม(ตั้งใจทำกรรมชั่ว) ดังนั้น ท่านจึงควร
ยอมรับว่า “อวิญญัติเป็นความทุศีล”

อวิญญัตติทุสลีลยันติกถา จบ
ทสมวรรค จบ

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ องฺ.จตุกฺก. (แปล) ๒๑/๔๗/๗๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๕๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๐. ทสมวรรค] รวมกถาที่มีในวรรค
รวมกถาที่มีในวรรคนี้ คือ
๑. นิโรธกถา
๒. รูปังมัคโคติกถา
๓. ปัญจวิญญาณสมังคิสสมัคคภาวนากถา
๔. ปัญจวิญญาณากุสลาปิอกุสลาปีติกถา
๕. สาโภคาติกถา
๖. ทวีหิสีเลหิกถา
๗. สีลังอเจตสิกันติกถา
๘. สีลังนจิตตานุปริวัตตีติกถา
๙. สมาทานเหตุกถา
๑๐. วิญญัตติสีลันติกถา
๑๑. อวิญญัตติทุสสีลยันติกถา
ทุติยปัณณาสก์ จบ

รวมวรรคที่มีในทุติยปัณณาสก์นี้ คือ
วรรคที่ ๖ เริ่มด้วยนิยามกถา
วรรคที่ ๗ เริ่มด้วยสังคหิตกถา
วรรคที่ ๘ เริ่มด้วยฉคติกถา
วรรคที่ ๙ เริ่มด้วยอานิสังสทัสสาวีกถา
วรรคที่ ๑๐ เริ่มด้วยนิโรธกถา

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๖๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๑-๓. ติสโสปิอนุสยกถา (๑๐๖-๑๐๘)
๑๑. เอกาทสมวรรค
๑.-๓. ติสโสปิอนุสยกถา (๑๐๖-๑๐๘)
ว่าด้วยอนุสัย ๓ เรื่อง๑
[๖๐๕] สก. อนุสัยเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร.๒ ใช่๓
สก. อนุสัยเป็นอัพยากฤตฝ่ายวิบาก อัพยากฤตฝ่ายกิริยา เป็นรูป เป็น
นิพพาน เป็นจักขายตนะ ฯลฯ เป็นโผฏฐัพพายตนะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กามราคานุสัยเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กามราคะ กามราคปริยุฏฐาน กามราคสังโยชน์ กาโมฆะ กามโยคะ
กามฉันทะนิวรณ์ เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กามราคะ กามราคปริยุฏฐาน ฯลฯ กามฉันทะนิวรณ์ เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กามราคานุสัยเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ปฏิฆานุสัยเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ๓ เรื่อง คือ (๑) เรื่องอนุสัยเป็นอัพยากฤต (๒) เรื่องอนุสัยเป็นอเหตุกะ (๓) เรื่องอนุสัยเป็นจิตตวิปปยุต
(อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๐๕-๖๑๓/๒๕๕)
๒ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะและนิกายสมิติยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๐๕/๒๕๕-๒๕๖)
๓ เพราะมีความเห็นว่า อนุสัยไม่เป็นอกุศล แต่เป็นอัพยากฤต เป็นอเหตุกะ เป็นสภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิต
ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า อนุสัยเป็นอกุศล เป็นสเหตุกะ และเป็นสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิต
(อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๐๕/๒๕๕-๒๕๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๖๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๑-๓. ติสโสปิอนุสยกถา (๑๐๖-๑๐๘)
สก. ปฏิฆะ ปฏิฆปริยุฏฐาน ปฏิฆสังโยชน์ เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ปฏิฆะ ปฏิฆปริยุฏฐาน ปฏิฆสังโยชน์ เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ปฏิฆานุสัยเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มานานุสัยเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มานะ มานปริยุฏฐาน มานสังโยชน์ เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มานะ มานปริยุฏฐาน มานสังโยชน์ เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มานานุสัยเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ทิฏฐานุสัยเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ทิฏฐิ ทิฏโฐฆะ ทิฏฐิโยคะ ทิฏฐิปริยุฏฐาน ทิฏฐิสังโยชน์ เป็นอัพยากฤต
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ทิฏฐิ ทิฏโฐฆะ ทิฏฐิโยคะ ทิฏฐิปริยุฏฐาน ทิฏฐิสังโยชน์ เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ทิฏฐานุสัยเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๖๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๑-๓. ติสโสปิอนุสยกถา (๑๐๖-๑๐๘)
สก. วิจิกิจฉานุสัยเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. วิจิกิจฉา วิจิกิจฉาปริยุฏฐาน วิจิกิจฉาสังโยชน์ วิจิกิจฉานิวรณ์ เป็น
อัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. วิจิกิจฉา วิจิกิจฉาปริยุฏฐาน วิจิกิจฉาสังโยชน์ วิจิกิจฉานิวรณ์ เป็น
อกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. วิจิกิจฉานุสัยเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ภวราคานุสัยเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ภวราคะ ภวราคปริยุฏฐาน ภวราคสังโยชน์ เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ภวราคะ ภวราคปริยุฏฐาน ภวราคสังโยชน์ เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ภวราคานุสัยเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อวิชชานุสัยเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อวิชชา อวิชโชฆะ อวิชชาโยคะ อวิชชาปริยุฏฐาน อวิชชาสังโยชน์
อวิชชานิวรณ์ เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๖๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๑-๓. ติสโสปิอนุสยกถา (๑๐๖-๑๐๘)
สก. อวิชชา อวิชโชฆะ อวิชชาโยคะ อวิชชาปริยุฏฐาน อวิชชาสังโยชน์
อวิชชานิวรณ์ เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อวิชชานุสัยเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๐๖] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “อนุสัยเป็นอัพยากฤต” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. ปุถุชน เมื่อจิตที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นไปอยู่ ท่านยอมรับว่า
“มีอนุสัย” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศลมาประชุมกันได้ใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น อนุสัยจึงเป็นอัพยากฤต
ปร. ปุถุชน เมื่อจิตที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นไปอยู่ ท่านยอมรับว่า
“มีราคะ” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศลมาประชุมกันได้ใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น ราคะจึงเป็นอัพยากฤต
[๖๐๗] สก. อนุสัยเป็นอเหตุกะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อนุสัยเป็นรูป เป็นนิพพาน เป็นจักขายตนะ ฯลฯ เป็นโผฏฐัพพายตนะ
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๖๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๑-๓. ติสโสปิอนุสยกถา (๑๐๖-๑๐๘)
สก. กามราคานุสัยเป็นอเหตุกะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กามราคะ กามราคปริยุฏฐาน กามราคสังโยชน์ กามฉันทนิวรณ์
เป็นอเหตุกะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กามราคะ กามราคปริยุฏฐาน ฯลฯ กามฉันทนิวรณ์ เป็นสเหตุกะ
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กามราคานุสัยเป็นสเหตุกะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ปฏิฆานุสัย ฯลฯ มานานุสัย ทิฏฐานุสัย วิจิกิจฉานุสัย ภวราคานุสัย
ฯลฯ อวิชชานุสัย เป็นอเหตุกะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อวิชชา อวิชโชฆะ อวิชชาโยคะ อวิชชาปริยุฏฐาน อวิชชาสังโยชน์
อวิชชานิวรณ์ เป็นอเหตุกะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อวิชชา อวิชโชฆะ ฯลฯ อวิชชานิวรณ์ เป็นสเหตุกะใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อวิชชานุสัยเป็นสเหตุกะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๐๘] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “อนุสัยเป็นอเหตุกะ” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. ปุถุชน เมื่อจิตที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นไปอยู่ ท่านยอมรับว่า
“มีอนุสัย” ใช่ไหม
สก. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๖๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๑-๓. ติสโสปิอนุสยกถา (๑๐๖-๑๐๘)
ปร. อนุสัยเป็นสเหตุกะโดยเหตุนั้นใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น อนุสัยจึงเป็นอเหตุกะ
ปร. ปุถุชน เมื่อจิตที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นไปอยู่ ท่านยอมรับว่า
“มีราคะ” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. ราคะเป็นสเหตุกะโดยเหตุนั้นใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น ราคะจึงเป็นอเหตุกะ
[๖๐๙] สก. อนุสัย วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อนุสัยเป็นรูป เป็นนิพพาน เป็นจักขายตนะ ฯลฯ เป็นโผฏฐัพพายตนะ
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กามราคานุสัย วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กามราคะ กามราคปริยุฏฐาน กามราคสังโยชน์ กาโมฆะ กามโยคะ
กามฉันทนิวรณ์ วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กามราคะ กามราคปริยุฏฐาน ฯลฯ กามฉันทนิวรณ์ สัมปยุตด้วยจิต
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กามราคานุสัย สัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๖๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๑-๓. ติสโสปิอนุสยกถา (๑๐๖-๑๐๘)
[๖๑๐] สก. กามราคานุสัย วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กามราคานุสัยนับเนื่องในขันธ์ไหน
ปร. นับเนื่องในสังขารขันธ์
สก. สังขารขันธ์ วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สังขารขันธ์ วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กามราคานุสัยนับเนื่องในสังขารขันธ์ แต่วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กามราคะนับเนื่องในสังขารขันธ์ แต่วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กามราคะนับเนื่องในสังขารขันธ์ สัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กามราคานุสัยนับเนื่องในสังขารขันธ์ สัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กามราคานุสัยนับเนื่องในสังขารขันธ์ แต่วิปปยุตจากจิต ส่วนกามราคะ
นับเนื่องในสังขารขันธ์และสัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สังขารขันธ์ส่วนหนึ่งสัมปยุตด้วยจิต อีกส่วนหนึ่งวิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๖๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๑-๓. ติสโสปิอนุสยกถา (๑๐๖-๑๐๘)
สก. สังขารขันธ์ส่วนหนึ่งสัมปยุตด้วยจิต อีกส่วนหนึ่งวิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ ส่วนหนึ่งสัมปยุตด้วยจิต อีกส่วนหนึ่งวิปปยุต
จากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๑๑] สก. ปฏิฆานุสัย มานานุสัย ทิฏฐานุสัย วิจิกิจฉานุสัย ภวราคานุสัย
อวิชชานุสัย วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อวิชชา อวิชโชฆะ อวิชชาโยคะ อวิชชานิวรณ์ วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อวิชชา อวิชโชฆะ อวิชชาโยคะ อวิชชานิวรณ์ สัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อวิชชานุสัยสัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๑๒] สก. อวิชชานุสัย วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อวิชชานุสัย นับเนื่องในขันธ์ไหน
ปร. นับเนื่องในสังขารขันธ์
สก. สังขารขันธ์ วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สังขารขันธ์ วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๖๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๑-๓. ติสโสปิอนุสยกถา (๑๐๖-๑๐๘)
สก. อวิชชานุสัยนับเนื่องในสังขารขันธ์ แต่วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อวิชชานับเนื่องในสังขารขันธ์ แต่วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อวิชชานับเนื่องในสังขารขันธ์ สัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อวิชชานุสัยนับเนื่องในสังขารขันธ์ สัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อวิชชานุสัยนับเนื่องในสังขารขันธ์ แต่วิปปยุตจากจิต ส่วนอวิชชานับ
เนื่องในสังขารขันธ์และสัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สังขารขันธ์ส่วนหนึ่งสัมปยุตด้วยจิต อีกส่วนหนึ่งวิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สังขารขันธ์ส่วนหนึ่งสัมปยุตด้วยจิต อีกส่วนหนึ่งวิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ ส่วนหนึ่งสัมปยุตด้วยจิต อีกส่วนหนึ่งวิปปยุต
จากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๑๓] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “อนุสัย วิปปยุตจากจิต” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. ปุถุชน เมื่อจิตที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นไปอยู่ ท่านยอมรับว่า
“มีอนุสัย” ใช่ไหม
สก. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๖๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๔. ญาณกถา (๑๐๙)
ปร. อนุสัย สัมปยุตด้วยจิตนั้นใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น อนุสัยจึงวิปปยุตจากจิต
ปร. ปุถุชน เมื่อจิตที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นไปอยู่ ท่านยอมรับว่า
“มีราคะ” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. ราคะ สัมปยุตด้วยจิตนั้นใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น
ปร. ดังนั้น ราคะจึงวิปปยุตจากจิต
ติสโสปิอนุสยกถา จบ

๔. ญาณกถา (๑๐๙)
ว่าด้วยญาณ
[๖๑๔] สก. พระอริยบุคคลเมื่อความไม่รู้ปราศไปแล้ว เมื่อจิตที่วิปปยุตจาก
ญาณเป็นไปอยู่ ท่านไม่ยอมรับว่า “มีญาณ” ใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. พระอริยบุคคลเมื่อราคะปราศไปแล้ว ท่านไม่ยอมรับว่า “ปราศจาก
ราคะ” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. พระอริยบุคคลเมื่อความไม่รู้ปราศไปแล้ว เมื่อจิตที่วิปปยุตจากญาณ
เป็นไปอยู่ ท่านไม่ยอมรับว่า “มีญาณ” ใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๑๖/๒๕๗)
๒ เพราะมีความเห็นว่า เมื่อโมหะสิ้นไป ด้วยอำนาจมรรคญาณในขณะที่เห็นรูปเป็นต้น จิต(ของพระอริยบุคคล)
เป็นจิตที่วิปปยุตจากญาณ ไม่ใช่เป็นจิตที่ประกอบด้วยมรรคญาณ จึงไม่ควรเรียกผู้นั้นว่า เป็นผู้มีญาณ ซึ่ง
ต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า ควรเรียกว่า เป็นผู้มีญาณ ตามหลักปุคคลบัญญัติ (อภิ.ปญฺจ.อ.
๖๑๔/๒๕๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๗๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๔. ญาณกถา (๑๐๙)
สก. พระอริยบุคคลเมื่อโทสะปราศไปแล้ว โมหะปราศไปแล้ว กิเลสปราศ
ไปแล้ว ท่านไม่ยอมรับว่า “หมดกิเลส” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. พระอริยบุคคลเมื่อราคะปราศไปแล้ว ท่านยอมรับว่า “ปราศจากราคะ”
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระอริยบุคคลเมื่อความไม่รู้ปราศไปแล้ว เมื่อจิตที่วิปปยุตจากญาณเป็น
ไปอยู่ ท่านยอมรับว่า “มีญาณ” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. พระอริยบุคคลเมื่อโทสะปราศไปแล้ว เมื่อโมหะปราศไปแล้ว เมื่อกิเลส
ปราศไปแล้ว ท่านยอมรับว่า “หมดกิเลส” ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระอริยบุคคลเมื่อความไม่รู้ปราศไปแล้ว เมื่อจิตที่วิปปยุตจากญาณเป็น
ไปอยู่ ท่านยอมรับว่า “มีญาณ” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๑๕] ปร. พระอริยบุคคลเมื่อความไม่รู้ปราศไปแล้ว เมื่อจิตที่วิปปยุตจากญาณ
เป็นไปอยู่ ท่านยอมรับว่า “มีญาณ” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. ชื่อว่ามีญาณ ด้วยญาณที่เป็นอดีต ชื่อว่ามีญาณ ด้วยญาณที่ดับไปแล้ว
ปราศไปแล้ว ระงับไปแล้วใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

ญาณกถา จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๗๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๕. ญาณังจิตตวิปปยุตตันติกถา (๑๑๐)
๕. ญาณังจิตตวิปปยุตตันติกถา (๑๑๐)
ว่าด้วยญาณวิปปยุตจากจิต
[๖๑๖] สก. ญาณ วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร.๑ ใช่
สก. ญาณเป็นรูป เป็นนิพพาน เป็นจักขายตนะ ฯลฯ เป็นโผฏฐัพพายตนะ
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ญาณ วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละ สัมมาทิฏฐิ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์
วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละ สัมมาทิฏฐิ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์
สัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ญาณ สัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ญาณ วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ญาณ นับเนื่องในขันธ์ไหน
ปร. นับเนื่องในสังขารขันธ์
สก. สังขารขันธ์ วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายปุพพเสลิยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๑๖/๒๕๗)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๗๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๕. ญาณังจิตตวิปปยุตตันติกถา (๑๑๐)
สก. สังขารขันธ์ วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ญาณนับเนื่องในสังขารขันธ์ แต่วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ปัญญานับเนื่องในสังขารขันธ์ แต่วิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ปัญญานับเนื่องในสังขารขันธ์ สัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ญาณนับเนื่องในสังขารขันธ์ สัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ญาณนับเนื่องในสังขารขันธ์ แต่วิปปยุตจากจิต ปัญญานับเนื่องใน
สังขารขันธ์และสัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สังขารขันธ์ส่วนหนึ่งสัมปยุตด้วยจิต อีกส่วนหนึ่งวิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สังขารขันธ์ส่วนหนึ่งสัมปยุตด้วยจิต อีกส่วนหนึ่งวิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ ส่วนหนึ่งสัมปยุตด้วยจิต อีกส่วนหนึ่งวิปปยุต
จากจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๗๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๖. อิทังทุกขันติกถา (๑๑๑)
[๖๑๗] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “ญาณวิปปยุตจากจิต” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. พระอรหันต์ผู้พรั่งพร้อมด้วยจักขุวิญญาณ ท่านยอมรับว่า “มีญาณ”
ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. ญาณ สัมปยุตด้วยจิตนั้นใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น ญาณจึงวิปปยุตจากจิต
ปร. พระอรหันต์ผู้พรั่งพร้อมด้วยจักขุวิญญาณ ท่านยอมรับว่า “มีปัญญา”
ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. ปัญญา สัมปยุตด้วยจิตนั้นใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น ปัญญาจึงวิปปยุตจากจิต
ญาณังจิตตวิปปยุตตันติกถา จบ

๖. อิทังทุกขันติกถา (๑๑๑)
ว่าด้วยการเปล่งวาจาว่านี้ทุกข์
[๖๑๘] สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้ทุกข์” ญาณว่า “นี้ทุกข์” จึงดำเนินไปใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอันธกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๑๘/๒๕๗)
๒ เพราะมีความเห็นว่า ในขณะที่บรรลุอริยมรรค จะมีการเปล่งเสียงออกมาว่า “นี้ทุกข์” การเปล่งเสียงนี้
จัดเป็นญาณ ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า ในขณะที่บรรลุอริยมรรคนั้น จะไม่มีการเปล่งเสียง
ใด ๆ ทั้งสิ้น (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๑๘/๒๕๗)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๗๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๖. อิทังทุกขันติกถา (๑๑๑)
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้ทุกขสมุทัย” ญาณว่า “นี้ทุกขสมุทัย” จึงดำเนินไป
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้ทุกข์” ญาณว่า “นี้ทุกข์” จึงดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้ทุกขนิโรธ” ญาณว่า “นี้ทุกขนิโรธ” จึงดำเนินไป
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้ทุกข์” ญาณว่า “นี้ทุกข์” จึงดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้มรรค” ญาณว่า “นี้มรรค” จึงดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้สมุทัย” แต่ญาณว่า “นี้สมุทัย” ไม่ดำเนินไป
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้ทุกข์” แต่ญาณว่า “นี้ทุกข์” ไม่ดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้นิโรธ” ... เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้มรรค” แต่ญาณว่า
“นี้มรรค” ไม่ดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้ทุกข์” แต่ญาณว่า “นี้ทุกข์” ไม่ดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๗๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๖. อิทังทุกขันติกถา (๑๑๑)
[๖๑๙] สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้ทุกข์” ญาณว่า “นี้ทุกข์” จึงดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “รูปไม่เที่ยง” ญาณว่า “รูปไม่เที่ยง” จึงดำเนินไป
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้ทุกข์” ญาณว่า “นี้ทุกข์” จึงดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “เวทนาไม่เที่ยง ฯลฯ สัญญา ฯลฯ สังขาร ฯลฯ
วิญญาณไม่เที่ยง” ญาณว่า “วิญญาณไม่เที่ยง” จึงดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้ทุกข์” ญาณว่า “นี้ทุกข์” จึงดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “รูปเป็นอนัตตา” ญาณว่า “รูปเป็นอนัตตา” จึง
ดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้ทุกข์” ญาณว่า “นี้ทุกข์” จึงดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “เวทนาเป็นอนัตตา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ สังขาร ฯลฯ
วิญญาณเป็นอนัตตา” ญาณว่า “วิญญาณเป็นอนัตตา” จึงดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เมื่อเปล่งว่า “รูปไม่เที่ยง” แต่ญาณว่า “รูปไม่เที่ยง” ไม่ดำเนินไป
ใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๗๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๖. อิทังทุกขันติกถา (๑๑๑)
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้ทุกข์” แต่ญาณว่า “นี้ทุกข์” ไม่ดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “เวทนาไม่เที่ยง ฯลฯ สัญญา ฯลฯ สังขาร ฯลฯ
วิญญาณไม่เที่ยง” แต่ญาณว่า “วิญญาณไม่เที่ยง” ไม่ดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้ทุกข์” แต่ญาณว่า “นี้ทุกข์” ไม่ดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “รูปเป็นอนัตตา” แต่ญาณว่า “รูปเป็นอนัตตา”
ไม่ดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้ทุกข์” แต่ญาณว่า “นี้ทุกข์” ไม่ดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “เวทนาเป็นอนัตตา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ สังขาร ฯลฯ
วิญญาณเป็นอนัตตา” แต่ญาณว่า “วิญญาณเป็นอนัตตา” ไม่ดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้ทุกข์” แต่ญาณว่า “นี้ทุกข์” ไม่ดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๒๐] สก. เมื่อเปล่งวาจาว่า “นี้ทุกข์” ญาณว่า “นี้ทุกข์” จึงดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ญาณว่า “อิ” ว่า “ทํ” ว่า “ทุ” และว่า “ขํ” จึงดำเนินไปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

อิทังทุกขันติกถา จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๗๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๗. อิทธิพลกถา (๑๑๒)
อิทธิพลกถา (๑๑๒)
ว่าด้วยกำลังฤทธิ์
[๖๒๑] สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยกำลังฤทธิ์ พึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัป๑
ใช่ไหม
ปร.๒ ใช่๓
สก. อายุนั้นสำเร็จได้ด้วยฤทธิ์ คตินั้นสำเร็จได้ด้วยฤทธิ์ การได้อัตภาพนั้น
ก็สำเร็จได้ด้วยฤทธิ์ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยกำลังฤทธิ์ พึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัปที่เป็นอดีต ตลอดกัปที่เป็นอนาคตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยกำลังฤทธิ์ พึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พึงดำรงอยู่ได้ตลอด ๒-๓-๔ กัปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ กัป ในที่นี้หมายถึงกัป ๓ อย่าง คือ (๑) มหากัปปะ (กัปใหญ่) ช่วงระยะเวลายาวนานจนไม่มีใครนับได้ว่ากี่ปี
บางทีเรียกว่า อสงไขยกัป (๒) กัปเปกเทสะ (ส่วนแห่งกัป) ระยะเวลาที่ยังกำหนดนับได้ ใช้นับอายุของ
พรหม เช่น พวกเทวดาชั้นพรหมมีอายุประมาณ ๑ กัป (๓) อายุกัปปะ (อายุกัป) ช่วงระยะเวลาที่นับเป็นปี
ได้ ใช้นับอายุของสัตว์นรก เทวดา และมนุษย์ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๒๑-๖๒๔/๒๕๘ ดูเทียบ องฺ.จตุกฺก. (แปล)
๒๑/๑๒๓/๑๘๗-๑๘๘/๑๕๖/๒๑๖-๒๑๗)
๒ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๒๑/๒๕๘)
๓ เพราะมีความเห็นว่า ผู้มีฤทธิ์สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตลอดมหากัป ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า
ผู้มีฤทธิ์สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตลอดกัป (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๒๑/๒๕๘)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๗๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๗. อิทธิพลกถา (๑๑๒)
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยกำลังฤทธิ์ พึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เมื่อยังมีอายุ๑ ก็ดำรงอยู่เท่าที่อายุยังเหลืออยู่ หรือว่าเมื่อหมดอายุก็ดำรง
อยู่เท่าที่อายุยังเหลืออยู่
ปร. เมื่อยังมีอายุ ก็ดำรงอยู่เท่าที่อายุยังเหลืออยู่ได้
สก. หากเมื่อยังมีอายุ ก็ดำรงอยู่เท่าที่อายุยังเหลืออยู่ ท่านก็ไม่ควรยอมรับ
ว่า “บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยกำลังฤทธิ์ พึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัป” ฯลฯ เมื่อยังมีอายุ
ก็ดำรงอยู่เท่าที่อายุยังเหลืออยู่ หรือว่าเมื่อหมดอายุก็ดำรงอยู่เท่าที่อายุยังเหลืออยู่
ปร. เมื่อหมดอายุ ก็ดำรงอยู่เท่าที่อายุยังเหลืออยู่
สก. บุคคลที่ตายแล้ว พึงดำรงอยู่ได้ หรือว่าบุคคลที่ทำกาละแล้วพึงดำรง
อยู่ได้
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๒๒] สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยกำลังฤทธิ์ พึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัป
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลใช้ฤทธิ์บังคับว่า “ผัสสะที่เกิดขึ้นแล้วอย่าดับไปเลย” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลใช้ฤทธิ์บังคับว่า “เวทนาที่เกิดขึ้นแล้วอย่าดับไปเลย ฯลฯ
สัญญาที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ เจตนาที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ จิตที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ คำว่า อายุ นี้แปลมาจากคำว่า ชีวิตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๗๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๗. อิทธิพลกถา (๑๑๒)
สัทธาที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ วิริยะที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ สติที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ สมาธิ
ที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ ปัญญาที่เกิดขึ้นแล้วอย่าดับไปเลย” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยกำลังฤทธิ์ พึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลใช้ฤทธิ์บังคับว่า “รูปจงเป็นของเที่ยง” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลใช้ฤทธิ์บังคับว่า “เวทนาจงเป็นของเที่ยง ฯลฯ สัญญา ฯลฯ
สังขาร ฯลฯ วิญญาณ จงเป็นของเที่ยง” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยกำลังฤทธิ์ พึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลใช้ฤทธิ์บังคับว่า “สัตว์ทั้งหลายผู้มีความเกิดเป็นธรรมดา อย่าได้
เกิดเลย” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลใช้ฤทธิ์บังคับว่า “สัตว์ทั้งหลายผู้มีความแก่เป็นธรรมดา อย่าได้
แก่เลย ฯลฯ สัตว์ทั้งหลายผู้มีความเจ็บเป็นธรรมดา อย่าได้เจ็บเลย ฯลฯ สัตว์
ทั้งหลายผู้มีความตายเป็นธรรมดา อย่าได้ตายเลย” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๒๓] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยกำลังฤทธิ์ พึงดำรง
อยู่ได้ตลอดกัป” ใช่ไหม
สก. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๘๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๗. อิทธิพลกถา (๑๑๒)
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “อานนท์ อิทธิบาท ๔ อันผู้ใด
ผู้หนึ่งได้เจริญ ทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้เป็นที่ตั้ง ให้ตั้งมั่น สั่งสม
ปรารภดีแล้ว ผู้นั้นเมื่อมุ่งหวัง พึงดำรงอยู่ตลอด ๑ กัป หรือเกินกว่า ๑ กัป”๑ มีอยู่จริง
มิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยกำลังฤทธิ์จึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัป
[๖๒๔] สก. ผู้พรั่งพร้อมด้วยกำลังฤทธิ์ พึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย ไม่มีใครเลย ไม่
ว่าจะเป็นสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใคร ๆ ในโลกที่จะประกันธรรม
๔ ประการ
ธรรม ๔ ประการ อะไรบ้าง คือ
๑. ไม่มีใครเลย ไม่ว่าจะเป็นสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม
หรือใคร ๆ ในโลกที่จะประกันสิ่งที่มีความแก่เป็นธรรมดาว่า ไม่แก่
๒. ไม่มีใครเลย ไม่ว่าจะเป็นสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม
หรือใคร ๆ ในโลกที่จะประกันสิ่งที่มีความเจ็บเป็นธรรมดาว่า ไม่เจ็บ
๓. ไม่มีใครเลย ไม่ว่าจะเป็นสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม
หรือใคร ๆ ในโลกที่จะประกันสิ่งที่มีความตายเป็นธรรมดาว่า
ไม่ตาย
๔. ไม่มีใครเลย ไม่ว่าจะเป็นสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม
หรือใคร ๆ ในโลกที่จะประกันผลแห่งกรรมชั่วที่เศร้าหมอง ให้
เกิดในภพใหม่ มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผล มีชาติ ชรา และ
มรณะต่อไปว่า ไม่บังเกิด

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ ที.ม. (แปล) ๑๐/๑๖๗/๑๑๒, สํ.ม. (แปล) ๑๙/๘๒๒/๓๘๕-๓๙๐, ขุ.อุ. (แปล) ๒๕/๕๑/๒๗๘-๒๘๔

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๘๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๘. สมาธิกถา (๑๑๓)
ภิกษุทั้งหลาย ไม่มีใครเลย ไม่ว่าจะเป็นสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม
หรือใคร ๆ ในโลกที่จะประกันธรรม ๔ ประการนี้แล”๑ มีอยู่จริงมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. ดังนั้น ท่านจึงไม่ควรยอมรับว่า “ผู้พรั่งพร้อมด้วยกำลังฤทธิ์พึงดำรง
อยู่ได้ตลอดกัป”
อิทธิพลกถา จบ

๘. สมาธิกถา (๑๑๓)
ว่าด้วยสมาธิ
[๖๒๕] สก. ความสืบต่อแห่งจิตเป็นสมาธิใช่ไหม
ปร.๒ ใช่๓
สก. ความสืบต่อแห่งจิตที่เป็นอดีตเป็นสมาธิใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความสืบต่อแห่งจิตเป็นสมาธิใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความสืบต่อแห่งจิตที่เป็นอนาคตเป็นสมาธิใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความสืบต่อแห่งจิตเป็นสมาธิใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ องฺ.จตุกฺก. (แปล) ๒๑/๑๘๒/๒๕๘-๒๕๙
๒ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายสัพพัตถิกวาทและนิกายอุตตราปถกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๒๕/๒๕๙)
๓ เพราะมีความเห็นว่า เอกัคคตาเจตสิกที่เกิดขึ้นนาน ๆ หลายขณะจิตจึงจะเป็นสมาธิ ซึ่งต่างกับความเห็น
ของสกวาทีที่เห็นว่า เอกัคคตาเจตสิกที่เกิดขึ้น แม้ในขณะจิตดวงเดียว ก็เป็นสมาธิ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๒๕/๒๕๙)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๘๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๘. สมาธิกถา (๑๑๓)
สก. อดีตดับไปแล้ว อนาคตก็ยังไม่เกิดมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากอดีตดับไปแล้ว อนาคตก็ยังไม่เกิด ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า
“ความสืบต่อแห่งจิตเป็นสมาธิ”
[๖๒๖] ปร. สมาธิเป็นไปชั่วขณะจิตเดียวใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยจักขุวิญญาณเป็นผู้เข้าสมาบัติใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยโสตวิญญาณ ฯลฯ พรั่งพร้อมด้วยฆานวิญญาณ
ฯลฯ พรั่งพร้อมด้วยชิวหาวิญญาณ ฯลฯ พรั่งพร้อมด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ
พรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นอกุศล ฯลฯ พรั่งพร้อมด้วยจิตที่สหรคตด้วยราคะ ฯลฯ
พรั่งพร้อมด้วยจิตที่สหรคตด้วยโทสะ ฯลฯ พรั่งพร้อมด้วยจิตที่สหรคตด้วยโมหะ
ฯลฯ พรั่งพร้อมด้วยจิตที่สหรคตด้วยอโนตตัปปะ เป็นผู้เข้าสมาบัติใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความสืบต่อแห่งจิตเป็นสมาธิใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความสืบต่อแห่งจิตที่เป็นอกุศลเป็นสมาธิใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความสืบต่อแห่งจิตที่สหรคตด้วยราคะ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยโทสะ ฯลฯ
ที่สหรคตด้วยโมหะ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยอโนตตัปปะ เป็นสมาธิใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “ความสืบต่อแห่งจิตเป็นสมาธิ” ใช่ไหม
สก. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๘๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๙. ธัมมัฏฐิตตากถา (๑๑๔)
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “นิครนถ์ เราไม่เคลื่อนไหวกาย
ไม่พูด ฯลฯ สามารถเสวยสุขโดยส่วนเดียวตลอด ๗ คืน ๗ วัน”๑ มีอยู่จริงมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น ความสืบต่อแห่งจิตจึงเป็นสมาธิ
สมาธิกถา จบ

๙. ธัมมัฏฐิตตากถา (๑๑๔)
ว่าด้วยความตั้งอยู่แห่งสภาวธรรม
[๖๒๗] สก. ความตั้งอยู่แห่งสภาวธรรม๒เป็นสภาวะสำเร็จแล้ว๓ ใช่ไหม
ปร.๔ ใช่๕
สก. ความตั้งอยู่แห่งความตั้งอยู่แห่งสภาวธรรมนั้นเป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความตั้งอยู่แห่งความตั้งอยู่แห่งสภาวธรรมนั้นเป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. การทำที่สุดแห่งทุกข์ไม่มี ความตัดขาดวัฏฏะไม่มี อนุปาทาปรินิพพาน
ก็ไม่มี แก่ความตั้งอยู่แห่งความตั้งอยู่แห่งสภาวธรรมทั้ง ๒ ชั้นดังกล่าวมานั้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ ม.มู. (แปล) ๑๒/๑๘๐/๑๘๕
๒ ความตั้งอยู่แห่งสภาวธรรม ในที่นี้หมายถึงปฏิจจสมุปบาท (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๒๗/๒๖๐)
๓ สภาวะที่สำเร็จ (ปรินิปฺผนฺน) หมายถึงสำเร็จมาจากเหตุ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๒๗/๒๖๐)
๔ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอันธกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๒๗/๒๖๐)
๕ เพราะมีความเห็นว่า ความตั้งอยู่แห่งสภาวธรรมสำเร็จมาจากเหตุเพราะมีสภาวธรรมอื่นเป็นเหตุ ซึ่งต่างกับ
ความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า ความตั้งอยู่แห่งสภาวธรรมมิใช่สำเร็จมาจากเหตุอื่น (อภิ.ปญฺจ.อ.
๖๒๗/๒๖๐)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๘๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๙. ธัมมัฏฐิตตากถา (๑๑๔)
สก. ความตั้งอยู่แห่งรูปเป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความตั้งอยู่แห่งความตั้งอยู่แห่งรูปนั้นเป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความตั้งอยู่แห่งความตั้งอยู่แห่งรูปนั้นเป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. การทำที่สุดแห่งทุกข์ไม่มี การตัดขาดวัฏฏะไม่มี อนุปาทาปรินิพพาน
ก็ไม่มีแก่ความตั้งอยู่แห่งความตั้งอยู่แห่งรูปทั้ง ๒ ชั้นดังกล่าวมานั้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความตั้งอยู่แห่งเวทนา ฯลฯ ความตั้งอยู่แห่งสัญญา ฯลฯ ความตั้งอยู่
แห่งสังขาร ฯลฯ ความตั้งอยู่แห่งวิญญาณ เป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความตั้งอยู่แห่งความตั้งอยู่แห่งวิญญาณนั้นเป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความตั้งอยู่แห่งความตั้งอยู่แห่งวิญญาณนั้นเป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. การทำที่สุดทุกข์ไม่มี การตัดขาดวัฏฏะไม่มี อนุปาทาปรินิพพานก็
ไม่มีแก่ความตั้งอยู่แห่งความตั้งอยู่แห่งวิญญาณทั้ง ๒ ชั้นดังกล่าวมานั้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

ธัมมัฏฐิตตากถา จบ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๘๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๑๐. อนิจจตากถา (๑๑๕)
๑๐. อนิจจตากถา (๑๑๕)
ว่าด้วยความไม่เที่ยง
[๖๒๘] สก. ความไม่เที่ยงเป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. ความไม่เที่ยงแห่งความไม่เที่ยงนั้นเป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความไม่เที่ยงแห่งความไม่เที่ยงนั้นเป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. การทำที่สุดแห่งทุกข์ไม่มี การตัดขาดวัฏฏะไม่มี อนุปาทาปรินิพพานก็
ไม่มี แก่ความไม่เที่ยงแห่งความไม่เที่ยงทั้ง ๒ ชั้นดังกล่าวมานั้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความแก่เป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความแก่แห่งความแก่นั้นเป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความแก่แห่งความแก่นั้นเป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. การทำที่สุดแห่งทุกข์ไม่มี การตัดขาดวัฏฏะไม่มี อนุปาทาปรินิพพาน
ก็ไม่มีแก่ความแก่แห่งความแก่ทั้ง ๒ ชั้นดังกล่าวมานั้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอันธกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๒๘/๒๖๐)
๒ เพราะมีความเห็นว่า ความไม่เที่ยงเป็นสภาวธรรมที่สำเร็จมาจากเหตุปัจจัย ซึ่งต่างกับความเห็นของ
สกวาทีที่เห็นว่า ความไม่เที่ยงเป็นสภาวธรรมที่ไม่สำเร็จมาจากเหตุปัจจัย (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๒๘/๒๖๐)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๘๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] ๑๐. อนิจจตากถา (๑๑๕)
สก. ความตายเป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความตายแห่งความตายนั้นเป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความตายแห่งความตายนั้นเป็นสภาวะสำเร็จแล้วใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. การทำที่สุดแห่งทุกข์ไม่มี การตัดขาดวัฏฏะไม่มี อนุปาทาปรินิพพานก็
ไม่มีแก่ความตายแห่งความตายทั้ง ๒ ชั้นดังกล่าวมาใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๒๙] สก. รูปเป็นสภาวะสำเร็จแล้ว แต่ความไม่เที่ยงแห่งรูปมีอยู่ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความไม่เที่ยงเป็นสภาวะสำเร็จแล้ว แต่ความไม่เที่ยงแห่งความไม่เที่ยง
มีอยู่ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปเป็นสภาวะสำเร็จแล้ว แต่ความแก่แห่งรูปมีอยู่ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความแก่เป็นสภาวะสำเร็จแล้ว แต่ความแก่แห่งความแก่มีอยู่ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปเป็นสภาวะสำเร็จแล้ว แต่ความแตกสลาย ความอันตรธานไปแห่งรูป
มีอยู่ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความตายเป็นสภาวะสำเร็จแล้ว แต่ความแตกสลาย ความอันตรธาน
ไปแห่งความตายมีอยู่ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๘๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๑. เอกาทสมวรรค] รวมกถาที่มีในวรรค
สก. เวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ สังขาร ฯลฯ วิญญาณ เป็นสภาวะสำเร็จแล้ว
แต่ความไม่เที่ยงแห่งวิญญาณมีอยู่ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความไม่เที่ยงเป็นสภาวะสำเร็จแล้ว แต่ความไม่เที่ยงแห่งความไม่เที่ยงมีอยู่
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. วิญญาณเป็นสภาวะสำเร็จแล้ว แต่ความแก่แห่งวิญญาณมีอยู่ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความแก่เป็นสภาวะสำเร็จแล้ว แต่ความแก่แห่งความแก่มีอยู่ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. วิญญาณเป็นสภาวะสำเร็จแล้ว แต่ความแตกสลาย ความอันตรธานไป
แห่งวิญญาณมีอยู่ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความตายเป็นสภาวะสำเร็จแล้ว แต่ความแตกสลาย ความอันตรธาน
ไปแห่งความตายมีอยู่ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
อนิจจตากถา จบ
เอกาทสมวรรค จบ

รวมกถาที่มีในวรรคนี้ คือ

๑-๓. ติสโสปิอนุสยกถา ๔. ญาณกถา
๕. ญาณังจิตตวิปปยุตตันติกถา ๖. อิทังทุกขันติกถา
๗. อิทธิพลกถา ๘. สมาธิกถา
๙. ธัมมัฏฐิตตากถา ๑๐. อนิจจตากถา


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๘๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๑. สังวโรกัมมันติกถา (๑๑๖)
๑๒. ทวาทสมวรรค
๑. สังวโรกัมมันติกถา (๑๑๖)
ว่าด้วยความสำรวมเป็นกรรม
[๖๓๐] สก. ความสำรวมเป็นกรรมใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. ความสำรวมจักขุนทรีย์เป็นจักขุกรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความสำรวมโสตินทรีย์ ฯลฯ ความสำรวมฆานินทรีย์ ฯลฯ ความ
สำรวมชิวหินทรีย์ ฯลฯ ความสำรวมกายินทรีย์ เป็นกายกรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความสำรวมกายินทรีย์เป็นกายกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความสำรวมจักขุนทรีย์เป็นจักขุกรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความสำรวมกายินทรีย์เป็นกายกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความสำรวมโสตินทรีย์ ฯลฯ ความสำรวมฆานินทรีย์ ฯลฯ ความ
สำรวมชิวหินทรีย์ เป็นชิวหากรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๓๐/๒๖๑)
๒ เพราะมีความเห็นว่า เจตนาไม่ชื่อว่ากรรม ความสำรวมและความไม่สำรวมเท่านั้นชื่อว่ากรรม (อภิ.ปญฺจ.อ.
๖๓๐/๒๖๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๘๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๑. สังวโรกัมมันติกถา (๑๑๖)
สก. ความสำรวมมนินทรีย์เป็นมโนกรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความสำรวมมนินทรีย์เป็นมโนกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความสำรวมจักขุนทรีย์เป็นจักขุกรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความสำรวมมนินทรีย์เป็นมโนกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความสำรวมโสตินทรีย์ ฯลฯ ความสำรวมฆานินทรีย์ ฯลฯ ความ
สำรวมชิวหินทรีย์ ฯลฯ ความสำรวมกายินทรีย์ เป็นกายกรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๓๑] สก. ความไม่สำรวมเป็นกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความไม่สำรวมจักขุนทรีย์เป็นจักขุกรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความไม่สำรวมโสตินทรีย์ ฯลฯ ความไม่สำรวมฆานินทรีย์ ฯลฯ
ความไม่สำรวมชิวหินทรีย์ ฯลฯ ความไม่สำรวมกายินทรีย์ เป็นกายกรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความไม่สำรวมกายินทรีย์เป็นกายกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๙๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๑. สังวโรกัมมันติกถา (๑๑๖)
สก. ความไม่สำรวมจักขุนทรีย์เป็นจักขุกรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความไม่สำรวมกายินทรีย์เป็นกายกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความไม่สำรวมโสตินทรีย์ ฯลฯ ความไม่สำรวมฆานินทรีย์ ฯลฯ ความ
ไม่สำรวมชิวหินทรีย์ เป็นชิวหากรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความไม่สำรวมมนินทรีย์เป็นมโนกรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความไม่สำรวมมนินทรีย์เป็นมโนกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความไม่สำรวมจักขุนทรีย์เป็นจักขุกรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความไม่สำรวมมนินทรีย์เป็นมโนกรรมใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความไม่สำรวมโสตินทรีย์ ฯลฯ ความไม่สำรวมฆานินทรีย์ ฯลฯ
ความไม่สำรวมชิวหินทรีย์ ฯลฯ ความไม่สำรวมกายินทรีย์ เป็นกายกรรมใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๓๒] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “ความสำรวมก็ดี ความไม่สำรวมก็ดี เป็น
กรรม” ใช่ไหม
สก. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๙๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๒. กัมมกถา (๑๑๗)
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้
เห็นรูปทางตาแล้วเป็นผู้รวบถือ ฯลฯ ไม่เป็นผู้รวบถือ ฟังเสียงทางหู ฯลฯ รู้
ธรรมารมณ์ทางใจแล้วเป็นผู้รวบถือ ฯลฯ ไม่เป็นผู้รวบถือ”๑ มีอยู่จริงมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น ความสำรวมก็ดี ความไม่สำรวมก็ดีจึงเป็นกรรม
สังวโรกัมมันติกถา จบ

๒. กัมมกถา (๑๑๗)
ว่าด้วยกรรม
[๖๓๓] สก. กรรมทั้งปวงมีวิบากใช่ไหม
ปร.๒ ใช่๓
สก. เจตนาทั้งปวงมีวิบากใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เจตนาทั้งปวงมีวิบากใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เจตนาที่เป็นอัพยากฤตฝ่ายวิบากมีวิบากใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เจตนาทั้งปวงมีวิบากใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ ม.มู. (แปล) ๑๒/๓๔๙/๓๘๑-๓๘๒, องฺ.จตุกฺก. (แปล) ๒๑/๑๔/๒๕
๒ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๓๓-๖๓๕/๒๖๒)
๓ เพราะมีความเห็นว่า กรรมทุกอย่างต้องให้ผล ไม่มีอโหสิกรรม ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า
เจตนาทุกอย่างเป็นกรรม เจตนาที่เป็นกุศลและอกุศลให้ผล ส่วนเจตนาที่เป็นอัพยากฤตไม่ให้ผล
(เป็นอโหสิกรรม) (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๓๓-๖๓๕/๒๖๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๙๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๒. กัมมกถา (๑๑๗)
สก. เจตนาที่เป็นอัพยากฤตฝ่ายกิริยามีวิบากใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เจตนาทั้งปวงมีวิบากใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เจตนาที่เป็นอัพยากฤตฝ่ายวิบากที่เป็นกามาวจรมีวิบากใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เจตนาทั้งปวงมีวิบากใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เจตนาที่เป็นอัพยากฤตฝ่ายวิบากที่เป็นรูปาวจร ที่เป็นอรูปาวจร ที่
เป็นโลกุตตระมีวิบากใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เจตนาทั้งปวงมีวิบากใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เจตนาที่เป็นอัพยากฤตฝ่ายกิริยาที่เป็นกามาวจรมีวิบากใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เจตนาทั้งปวงมีวิบากใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เจตนาที่เป็นอัพยากฤตฝ่ายกิริยาที่เป็นรูปาวจร ที่เป็นอรูปาวจร ม
ีวิบากใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๓๔] สก. เจตนาที่เป็นอัพยากฤตฝ่ายวิบากไม่มีวิบากใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากเจตนาที่เป็นอัพยากฤตฝ่ายวิบากไม่มีวิบาก ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า
“เจตนาทั้งปวงมีวิบาก”

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๙๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๒. กัมมกถา (๑๑๗)
สก. เจตนาที่เป็นอัพยากฤตฝ่ายกิริยาไม่มีวิบากใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากเจตนาที่เป็นอัพยากฤตฝ่ายกิริยาไม่มีวิบาก ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า
“เจตนาทั้งปวงมีวิบาก”
สก. เจตนาที่เป็นอัพยากฤตฝ่ายวิบาก ที่เป็นกามาวจร ที่เป็นรูปาวจร ที่
เป็นอรูปาวจร ที่เป็นโลกุตตระ ไม่มีวิบากใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากเจตนาที่เป็นอัพยากฤตฝ่ายวิบาก ที่เป็นโลกุตตระ ไม่มีวิบาก
ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “เจตนาทั้งปวงมีวิบาก”
สก. เจตนาที่เป็นอัพยากฤตฝ่ายกิริยาที่เป็นกามาวจร ที่เป็นรูปาวจร ที่เป็น
อรูปาวจร ไม่มีวิบากใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากเจตนาที่เป็นอัพยากฤตฝ่ายกิริยา ที่เป็นอรูปาวจร ไม่มีวิบาก
ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “เจตนาทั้งปวงมีวิบาก”
[๖๓๕] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “กรรมทั้งปวงมีวิบาก” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราไม่กล่าวกรรม
ที่สัตว์มีเจตนาทำไว้ สั่งสมไว้ว่า สิ้นสุด เพราะยังไม่เสวยผล ก็ผลนั้นแลสัตว์ต้อง
เสวยในอัตภาพนี้ ในอัตภาพถัดไปหรือในอัตภาพต่อ ๆ ไป”๑ มีอยู่จริงมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น กรรมทั้งปวงจึงมีวิบาก

กัมมกถา จบ

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ องฺ.ทสก. (แปล) ๒๔/๒๑๗/๓๕๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๙๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๓. สัทโทวิปาโกติกถา (๑๑๘)
๓. สัทโทวิปาโกติกถา (๑๑๘)
ว่าด้วยเสียงเป็นวิบาก
[๖๓๖] สก. เสียงเป็นวิบากใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. เสียงมีสุขเวทนา มีทุกขเวทนา มีอทุกขมสุขเวทนา สัมปยุตด้วย
สุขเวทนา สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา สัมปยุตด้วยผัสสะ
สัมปยุตด้วยเวทนา สัมปยุตด้วยสัญญา สัมปยุตด้วยเจตนา สัมปยุตด้วยจิต รับ
รู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง มีความผูกใจ มีความสนใจ มีความใฝ่ใจ มีความจงใจ
มีความปรารถนา มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เสียงไม่มีสุขเวทนา ไม่มีทุกขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มี
ความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากเสียงไม่มีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ฯลฯ ไม่มีความนึกถึง
ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “เสียงเป็นวิบาก”
สก. ผัสสะเป็นวิบาก มีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณได้ มีความนึกถึง ฯลฯ
มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เสียงเป็นวิบาก มีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง ฯลฯ
มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๓๖/๒๖๓)
๒ เพราะมีความเห็นว่า เสียงเกิดจากกรรม จึงจัดเป็นวิบาก ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า เสียง
เป็นเพียงรูปธรรม เกิดจากจิตและอุตุ (ธรรมชาติ) ไม่เรียกว่าวิบาก ส่วนธรรมที่จะเรียกว่าวิบากได้ ต้อง
เป็นนามธรรมล้วน (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๓๖/๒๖๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๙๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๔. สฬายตนกถา (๑๑๙)
สก. เสียงเป็นวิบาก ไม่มีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง
ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ผัสสะเป็นวิบาก ไม่มีสุขเวทนา ไม่มีทุกขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ไม่ได้
ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๓๗] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “เสียงเป็นวิบาก” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “เพราะตถาคต ได้ทำ สั่งสม
พอกพูน เพิ่มพูนกรรมนั้น ตถาคตนั้น จึงมีพระสุรเสียงดุจเสียงพรหม ตรัสดุจ
เสียงร้องของนกการเวก”๑ มีอยู่จริงมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น เสียงจึงเป็นวิบาก
สัทโทวิปาโกติกถา จบ

๔. สฬายตนกถา (๑๑๙)
ว่าด้วยอายตนะ ๖
[๖๓๘] สก. จักขายตนะเป็นวิบากใช่ไหม
ปร.๒ ใช่๓
สก. จักขายตนะมีสุขเวทนา มีทุกขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง
ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ ที.ปา. (แปล) ๑๑/๒๓๖/๑๙๓
๒ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๓๘/๒๖๓)
๓ เพราะมีความเห็นว่า อายตนะที่เป็นรูปเกิดจากกรรม จึงจัดเป็นวิบาก ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า
อายตนะที่เป็นรูป เป็นเพียงรูปธรรม เกิดจากจิตและอุตุ (ธรรมชาติ) ไม่เรียกว่าวิบาก ส่วนธรรมที่จะเรียกว่า
วิบากได้ ต้องเป็นนามธรรมล้วน (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๓๘/๒๖๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๙๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๔. สฬายตนกถา (๑๑๙)
สก. จักขายตนะไม่มีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง
ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากจักขายตนะไม่มีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง
ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “จักขายตนะเป็นวิบาก” ฯลฯ
สก. ผัสสะเป็นวิบาก มีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง
ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขายตนะเป็นวิบาก มีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง
ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. จักขายตนะเป็นวิบาก แต่ไม่มีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มี
ความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ผัสสะเป็นวิบาก แต่ไม่มีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มี
ความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๓๙] สก. โสตายตนะ ฯลฯ ฆานายตนะ ฯลฯ ชิวหายตนะ ฯลฯ
กายายตนะ เป็นวิบากใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กายายตนะมีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง ฯลฯ มี
ความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๙๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๔. สฬายตนกถา (๑๑๙)
สก. กายายตนะไม่มีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง ฯลฯ
ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากกายายตนะไม่มีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มีความนึกถึง
ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “กายายตนะเป็นวิบาก” ฯลฯ
สก. ผัสสะเป็นวิบาก มีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง ฯลฯ
มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กายายตนะเป็นวิบาก มีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ได้ มีความนึกถึง
ฯลฯ มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กายายตนะเป็นวิบาก แต่ไม่มีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มี
ความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ผัสสะเป็นวิบาก แต่ไม่มีสุขเวทนา ฯลฯ รับรู้อารมณ์ไม่ได้ ไม่มี
ความนึกถึง ฯลฯ ไม่มีความตั้งใจใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๔๐] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “อายตนะ ๖ เป็นวิบาก” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. อายตนะ ๖ ชื่อว่าเกิดขึ้นเพราะได้มีการทำกรรมไว้มิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. หากอายตนะ ๖ ชื่อว่าเกิดขึ้นเพราะได้มีการทำกรรมไว้ ดังนั้น ท่านจึง
ควรยอมรับว่า “อายตนะ ๖ เป็นวิบาก”

สฬายตนกถา จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๙๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๕. สัตตักขัตตุปรมกถา (๑๒๐)
๕. สัตตักขัตตุปรมกถา (๑๒๐)
ว่าด้วยบุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ
[๖๔๑] สก. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ๑ เป็นผู้แน่นอนที่จะเกิดอีก ๗ ครั้ง
เป็นอย่างยิ่งใช่ไหม
ปร.๒ ใช่๓
สก. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ ปลงชีวิตมารดา ปลงชีวิตบิดา ปลงชีวิต
พระอรหันต์ มีจิตคิดประทุษร้ายทำร้ายพระตถาคตจนพระโลหิตห้อ ทำลายสงฆ์ให้
แตกกันได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะเป็นผู้แน่นอนที่จะเกิดอีก ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะนั้น เป็นผู้ไม่ควรที่จะได้บรรลุธรรมในระหว่างใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะเป็นผู้ไม่ควรที่จะได้บรรลุธรรมในระหว่างใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เขาปลงชีวิตมารดา ปลงชีวิตบิดา ปลงชีวิตพระอรหันต์ มีจิตคิด
ประทุษร้ายทำร้ายพระตถาคตจนพระโลหิตห้อ ทำลายสงฆ์ให้แตกกันได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ หมายถึงพระอริยบุคคลชั้นโสดาบันผู้ละสังโยชน์เบื้องต่ำ ๓ ประการได้แล้ว
ไม่มีทางตกต่ำ มีความแน่นอนที่จะสำเร็จสัมโพธิในวันข้างหน้า ท่องเที่ยวไปในเทวโลกและมนุษยโลกอีก
๗ ชาติแล้วจึงจะทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ (อภิ.ปญฺจ.อ.๓๑/๕๓-๕๔), ดูเทียบ อภิ.ปุ. (แปล) ๓๖/๓๑/๑๕๔
๒ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอุตตราปถกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๔๑/๒๖๔)
๓ เพราะมีความเห็นว่า พระโสดาบันประเภทสัตตักขัตตุปรมะต้องเกิดถึง ๗ ชาติ จึงจะสามารถบรรลุ
อรหัตตผลได้(ตีความตามพยัญชนะ) ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า พระโสดาบันประเภทสัตตัก-
ขัตตุปรมะไม่มีกฎตายตัวว่าจะต้องเกิดถึง ๗ ชาติ บางท่านอาจไม่ถึง ๗ ชาติ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความแก่กล้า
แห่งอินทรีย์ของแต่ละบุคคล (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๔๑/๒๖๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๖๙๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๕. สัตตักขัตตุปรมกถา (๑๒๐)
[๖๔๒] สก. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะเป็นผู้แน่นอนที่จะเกิดอีก ๗ ครั้งเป็น
อย่างยิ่งใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะเป็นผู้แน่นอนที่จะเกิดอีก ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง
ด้วยมรรคอันแน่นอนใด มรรคอันแน่นอนนั้นมีอยู่ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะเป็นผู้แน่นอนที่จะเกิด ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง
ด้วยสติปัฏฐาน สัมมัปปธาน อิทธิบาท อินทรีย์ พละ โพชฌงค์เหล่าใด สติปัฏฐาน
สัมมัปปธาน อิทธิบาท อินทรีย์ พละ โพชฌงค์เหล่านั้นมีอยู่ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๔๓] สก. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะเป็นผู้แน่นอนที่จะเกิดอีก ๗ ครั้งเป็น
อย่างยิ่ง ด้วยมรรคอันแน่นอนใด มรรคอันแน่นอนนั้นไม่มีใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากบุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะเป็นผู้แน่นอนที่จะเกิดอีก ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง
ด้วยมรรคอันแน่นอนใด มรรคอันแน่นอนนั้นไม่มี ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “บุคคล
ผู้สัตตักขัตตุปรมะเป็นผู้แน่นอนที่จะเกิดอีก ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง”
สก. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะเป็นผู้แน่นอนที่จะเกิดอีก ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง
ด้วยสติปัฏฐาน ฯลฯ โพชฌงค์เหล่าใด สติปัฏฐาน ฯลฯ โพชฌงค์เหล่านั้น
ไม่มีใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากบุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะเป็นผู้แน่นอนที่จะเกิดอีก ๗ ครั้งเป็น
อย่างยิ่ง ด้วยโพชฌงค์เหล่าใด โพชฌงค์เหล่านั้นไม่มี ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า
“บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะเป็นผู้แน่นอนที่จะเกิดอีก ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง”

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๐๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๕. สัตตักขัตตุปรมกถา (๑๒๐)
[๖๔๔] สก. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะเป็นผู้แน่นอนที่จะเกิดอีก ๗ ครั้งเป็น
อย่างยิ่งใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ด้วยการกำหนดแน่นอนคือสกทาคามีใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ด้วยการกำหนดแน่นอนคืออนาคามีใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ด้วยการกำหนดแน่นอนคืออรหัตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ด้วยการกำหนดแน่นอนอะไร
ปร. ด้วยการกำหนดแน่นอนคือโสดาปัตติผล
สก. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะเป็นผู้แน่นอนที่จะเกิด ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เหล่าชนที่ก้าวลงสู่โสดาปัตตินิยาม ทั้งหมดนั้นเป็นผู้แน่นอนที่จะเกิด
อีก ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่งใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๔๕] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะเป็นผู้แน่นอนที่จะเกิด
อีก ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. บุคคลนั้นเป็นสัตตักขัตตุปรมะมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. หากบุคคลนั้นเป็นสัตตักขัตตุปรมะ ดังนั้น ท่านจึงควรยอมรับว่า
“บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะเป็นผู้แน่นอนที่จะเกิดอีก ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง”

สัตตักขัตตุปรมกถา จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๐๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๖. โกลังโกลกถา (๑๒๑)
๖. โกลังโกลกถา (๑๒๑)
ว่าด้วยบุคคลผู้โกลังโกละ
[๖๔๖] ปร.๑ ท่านไม่ยอมรับว่า “บุคคลผู้โกลังโกละ๒ เป็นผู้แน่นอนที่จะเกิดอีก
๒-๓ ครั้ง” ใช่ไหม
สก. ใช่๓
ปร. ผู้นั้นเป็นโกลังโกละมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. หากผู้นั้นเป็นโกลังโกละ ดังนั้น ท่านจึงควรยอมรับว่า “บุคคลผู้โกลัง-
โกละเป็นผู้แน่นอนที่จะเกิดอีก ๒-๓ ครั้ง”

โกลังโกลกถา จบ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอุตตราปถกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๔๖/๒๖๖)
๒ บุคคลผู้โกลังโกละ หมายถึงพระอริยบุคคลชั้นโสดาบันผู้ละสังโยชน์เบื้องต่ำ ๓ ประการได้แล้ว ไม่มีทาง
ตกต่ำ มีความแน่นอนที่จะสำเร็จสัมโพธิในวันข้างหน้า เมื่อจะเกิดในภพใหม่เป็นเทวดาหรือมนุษย์ก็เกิด
ได้อีก ๒ หรือ ๓ ภพ และถ้าเกิดเป็นมนุษย์จะไม่เกิดในตระกูลต่ำ แต่จะเกิดในตระกูลที่มีโภคสมบัติมาก
เท่านั้น (อภิ.ปญฺจ.อ. ๓๒/๕๔), ดูเทียบ อภิ.ปุ. (แปล) ๓๖/๓๒/๑๕๔
๓ เพราะมีความเห็นว่า พระโสดาบันประเภทโกลังโกละไม่มีกฎตายตัวว่า จะต้องเกิดถึง ๓ ภพ อาจบรรลุ
อรหัตตผลก่อนก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความแก่กล้าแห่งอินทรีย์ของแต่ละบุคคล ซึ่งต่างกับความเห็นของ
ปรวาทีที่เห็นว่า พระโสดาบันประเภทโกลังโกละจะต้องเกิดอีก ๓ ภพแน่นอน (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๔๖-๖๔๗/๒๖๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๐๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๘. ชีวิตาโวโรปนกถา (๑๒๓)
๗. เอกพีชีกถา (๑๒๒)
ว่าด้วยบุคคลผู้เอกพีชี
[๖๔๗] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “บุคคลผู้เอกพีชี๑ เป็นผู้แน่นอนที่จะเกิดอีก
ครั้งเดียว” ใช่ไหม
สก. ใช่๒
ปร. ผู้นั้นเป็นเอกพีชีมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. หากผู้นั้นเป็นเอกพีชี ดังนั้น ท่านจึงควรยอมรับว่า “บุคคลผู้เอกพีชี
เป็นผู้แน่นอนที่จะเกิดอีกครั้งเดียว”
เอกพีชีกถา จบ

๘. ชีวิตาโวโรปนกถา (๑๒๓)
ว่าด้วยการปลงชีวิต
[๖๔๘] สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ๓อาจจงใจปลงชีวิตสัตว์ได้ใช่ไหม
ปร.๔ใช่๕

เชิงอรรถ :
๑ บุคคลผู้เอกพีชี หมายถึงพระอริยบุคคลชั้นโสดาบันผู้ละสังโยชน์เบื้องต่ำ ๓ ประการได้แล้ว ไม่มีทาง
ตกต่ำ มีความแน่นอนที่จะสำเร็จสัมโพธิในวันข้างหน้า มีพืชคืออัตภาพเดียว คือเกิดอีกครั้งเดียวก็บรรลุ
อรหัตตผล (อภิ.ปญฺจ.อ. ๓๓/๕๔), ดูเทียบ อภิ.ปุ. (แปล) ๓๖/๓๓/๑๕๔
๒ เพราะมีความเห็นว่า ไม่มีกฎตายตัวว่า จะต้องเกิดครั้งเดียวจึงจะบรรลุอรหัตตผล อาจบรรลุในชาตินั้นก็ได้
ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับความแก่กล้าแห่งอินทรีย์ของแต่ละบุคคล ซึ่งต่างกับความเห็นของปรวาทีที่เห็นว่า ต้อง
เกิดอีก ๑ ภพแน่นอน (ตีความตามพยัญชนะ)
๓ ผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ หมายถึงพระอริยบุคคลชั้นโสดาบัน ซึ่งมีชื่อว่า “ผู้ถึงพร้อมด้วยทัศนะ” บ้าง “ผู้
มาสู่พระสัทธรรม” บ้าง “ผู้เห็นพระสัทธรรม” บ้าง “ผู้ประกอบด้วยญาณของพระเสขะ” บ้าง
“ผู้ประกอบด้วยวิชชาของพระเสขะ” บ้าง “ผู้เข้าถึงกระแสธรรม” บ้าง “ผู้มีปัญญาแทงตลอด” บ้าง
“ผู้ยืนจรดประตูอมตะ” บ้าง (องฺ.เอกก.อ. ๑/๒๖๘/๔๐๒)
๔ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายปุพพเสลิยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๔๘/๒๖๕)
๕ เพราะมีความเห็นว่า แม้เป็นพระโสดาบันอยู่ก็อาจทำปาณาติบาตได้ ซึ่งต่างกับความเห็น
ของสกวาทีที่เห็นว่า พระโสดาบันจะไม่ทำปาณาติบาตโดยเจตนาอย่างแน่นอน (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๔๘-๖๔๙/๒๖๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๐๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๘. ชีวิตาโวโรปนกถา (๑๒๓)
สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ อาจจงใจปลงชีวิตมารดา ฯลฯ ปลงชีวิตบิดา
ปลงชีวิตพระอรหันต์ มีจิตคิดประทุษร้ายทำร้ายพระตถาคตจนพระโลหิตห้อ ฯลฯ
ทำลายสงฆ์ให้แตกกันได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิอาจจงใจปลงชีวิตสัตว์ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิเป็นผู้ไม่มีความเคารพในพระศาสดาใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิเป็นผู้ไม่มีความเคารพในพระธรรม ฯลฯ ใน
พระสงฆ์ ฯลฯ ในสิกขาใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิเป็นผู้มีความเคารพในพระศาสดามิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากบุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิเป็นผู้มีความเคารพในพระศาสดา ท่านก็ไม่
ควรยอมรับว่า “บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิอาจจงใจปลงชีวิตสัตว์ได้” บุคคลผู้ถึงพร้อม
ด้วยทิฏฐิเป็นผู้มีความเคารพในพระธรรม ฯลฯ ในพระสงฆ์ ฯลฯ ในสิกขามิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากบุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิเป็นผู้มีความเคารพในสิกขา ท่านก็ไม่ควร
ยอมรับว่า “บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิอาจจงใจปลงชีวิตสัตว์ได้”
[๖๔๙] สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ เป็นผู้ไม่มีความเคารพในพระศาสดา
ใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๐๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๙. ทุคคติกถา (๑๒๔)
สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิอาจถ่ายอุจจาระ ถ่ายปัสสาวะรด ถ่มน้ำลาย
ลงที่พระพุทธสถูป ทำพระพุทธสถูปไว้ทางเบื้องซ้าย๑ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิอาจจงใจปลงชีวิตสัตว์ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย สาวกทั้งหลาย
ของเราย่อมไม่ล่วงละเมิดสิกขาบทที่เราบัญญัติไว้ แม้เพราะเหตุแห่งชีวิต เหมือน
น้ำในมหาสมุทรมีปกติคงที่ ไม่ล้นฝั่ง”๒ มีอยู่จริงมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. ดังนั้น ท่านจึงไม่ควรยอมรับว่า “บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิอาจจงใจ
ปลงชีวิตสัตว์ได้”
ชีวิตาโวโรปนกถา จบ

๙. ทุคคติกถา (๑๒๔)
ว่าด้วยทุคติ
[๖๕๐] สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิละทุคติ๓ได้ใช่ไหม
ปร.๔ ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ทำพระพุทธสถูปไว้ทางเบื้องซ้าย ในที่นี้หมายถึงการเดินเวียนซ้ายรอบพระเจดีย์ เป็นอุตราวัฏ(ทวนเข็ม
นาฬิกา) ไม่เดินเวียนขวา ที่เรียกว่ากระทำประทักษิณ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๔๙/๒๖๕)
๒ ดูเทียบ วิ.จู. (แปล) ๗/๓๘๕/๒๘๒-๒๘๕, องฺ.อฏฺฐก. (แปล) ๒๓/๒๐/๒๕๒-๒๕๖, ขุ.อุ. (แปล)
๒๕/๔๕/๒๖๐-๒๖๘
๓ ทุคติ โดยทั่วไปมีความหมาย ๒ อย่าง คือ (๑) เป็นชื่อภพภูมิชั้นต่ำ เช่น สัตว์ดิรัจฉาน (๒) เป็นชื่อตัณหา
คือ ความยินดี รักใคร่ในรูป เสียง กลิ่น รส เป็นต้น ของสัตว์ในทุคติ แต่ฝ่ายปรวาทีถือเอาความหมายที่ ๑
เท่านั้น (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๕๐-๖๕๒/๒๖๕)
๔ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอุตตราปถกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๕๐-๖๕๒/๒๖๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๐๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๙. ทุคคติกถา (๑๒๔)
สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิยังยินดีในรูปที่มีในอบายใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากบุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิยังยินดีในรูปที่มีในอบาย ท่านก็ไม่ควร
ยอมรับว่า “บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิละทุคติได้”
สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิละทุคติได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิยังยินดีในเสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ รส ฯลฯ
โผฏฐัพพะ ที่มีในอบาย ฯลฯ ยังเสพเมถุนธรรมกับหญิงอมนุษย์ กับสัตว์
ดิรัจฉานตัวเมีย กับนางนาค ยังรับแพะและแกะ ยังรับไก่และสุกร ยังรับช้าง โค
ม้า และลา ยังรับนกกระทา นกคุ่ม นกยูง และนกเขาใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากบุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิยังรับนกกระทา นกคุ่ม นกยูง และนกเขา
ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิละทุคติได้”
[๖๕๑] สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิละทุคติได้ บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ
ยังยินดีในรูปที่มีในอบายใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระอรหันต์ละทุคติได้ แต่ยังยินดีในรูปที่มีในอบายใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิละทุคติได้ บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิยังยินดี
ในเสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ รส ฯลฯ โผฏฐัพพะที่มีในอบาย ยังรับนกกระทา นกคุ่ม
นกยูง และนกเขาใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระอรหันต์ละทุคติได้ แต่ยังรับนกกระทา นกคุ่ม นกยูง และนกเขา
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๐๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] ๙. ทุคคติกถา (๑๒๔)
สก. พระอรหันต์ละทุคติได้และไม่ยินดีในรูปที่มีในอบายใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิละทุคติได้และไม่ยินดีในรูปที่มีในอบายใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. พระอรหันต์ละทุคติได้และไม่ยินดีในเสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ รส ฯลฯ
โผฏฐัพพะที่มีในอบาย ไม่เสพเมถุนธรรมกับหญิงอมนุษย์ กับสัตว์ดิรัจฉาน
ตัวเมีย กับนางนาค ไม่รับแพะและแกะ ไม่รับไก่และสุกร ไม่รับช้าง โค ม้า และลา
ฯลฯ ไม่รับนกกระทา นกคุ่ม นกยูง และนกเขาใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิละทุคติได้ และไม่รับนกกระทา นกคุ่ม
นกยูง และนกเขาใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๕๒] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิละทุคติได้” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิยังเกิดในนรก ฯลฯ ในกำเนิดดิรัจฉาน ยัง
เกิดในภูมิแห่งเปรตใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิจึงละทุคติได้

ทุคคติกถา จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๐๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๒. ทวาทสมวรรค] รวมกถาที่มีในวรรค
๑๐. สัตตมภวิกกถา (๑๒๕)
ว่าด้วยบุคคลผู้มีภพที่ ๗
[๖๕๓] ปร.๑ ท่านไม่ยอมรับว่า “บุคคลผู้มีภพที่ ๗ ละทุคติได้” ใช่ไหม
สก. ใช่๒
ปร. บุคคลผู้มีภพที่ ๗ พึงเกิดในนรก ในกำเนิดดิรัจฉาน ในภูมิแห่งเปรตได้
ใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น บุคคลผู้มีภพที่ ๗ จึงละทุคติได้
สัตตมภวิกกถา จบ
ทวาทสมวรรค จบ

รวมกถาที่มีในวรรคนี้ คือ

๑. สังวโรกัมมันติกถา ๒. กัมมกถา
๓. สัทโทวิปาโกติกถา ๔. สฬายตนกถา
๕. สัตตักขัตตุปรมกถา ๖. โกลังโกลกถา
๗. เอกพีชีกถา ๘. ชีวิตาโวโรปนกถา
๙. ทุคคติกถา ๑๐. สัตตมภวิกกถา


เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอุตตราปถกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๕๓/๒๖๖)
๒ เพราะมีความเห็นว่า พระโสดาบันผู้จะบรรลุอรหัตตผลในภพที่ ๗ (พระโสดาบันประเภทสัตตักขัตตุปรมะ)
ยังละตัณหา คือ ยินดี รักใคร่ในสัตว์ดิรัจฉานไม่ได้ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๕๓/๒๖๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๐๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๑. กัปปัฏฐกถา (๑๒๖)
๑๓. เตรสมวรรค
๑. กัปปัฏฐกถา (๑๒๖)
ว่าด้วยผู้ดำรงอยู่ได้ตลอดกัป
[๖๕๔] สก. บุคคลผู้กัปปัฏฐะ๑ พึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัปใช่ไหม
ปร.๒ ใช่๓
สก. กัปดำรงอยู่และพระพุทธเจ้าก็อุบัติในโลกใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้กัปปัฏฐะพึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กัปดำรงอยู่และพระสงฆ์แตกกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้กัปปัฏฐะพึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กัปดำรงอยู่และบุคคลผู้กัปปัฏฐะก็ทำกรรมอันเป็นเหตุให้ตั้งอยู่ตลอดกัป
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้กัปปัฏฐะพึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัปใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ผู้กัปปัฏฐะ หมายถึงผู้ทำกรรมหนักไม่ว่าฝ่ายกุศล หรือฝ่ายอกุศล เมื่อตายแล้วจะเกิดอยู่ในภพภูมิหนึ่ง
ตลอดกัป (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๕๔-๖๕๗/๒๖๖)
๒ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายราชคิริกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๕๔-๖๕๗/๒๖๖)
๓ เพราะมีความเห็นว่า ผู้ทำลายสงฆ์ให้แตกกันจะต้องรับกรรมในนรกตลอดกัป ที่เรียกว่ามหากัป อย่างแน่นอน
(อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๕๔-๖๕๗/๒๖๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๐๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๑. กัปปัฏฐกถา (๑๒๖)
สก. กัปดำรงอยู่และบุคคลผู้กัปปัฏฐะทำกาละใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๕๕] สก. บุคคลผู้กัปปัฏฐะพึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พึงดำรงอยู่ตลอดกัปที่เป็นอดีต ตลอดกัปที่เป็นอนาคตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้กัปปัฏฐะพึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พึงดำรงอยู่ตลอด ๒-๓-๔ กัปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๕๖] สก. บุคคลผู้กัปปัฏฐะพึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัปใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้กัปปัฏฐะ เมื่อกัปถูกไฟไหม้ไปที่ไหน
ปร. ไปโลกธาตุอื่น
สก. ตายไปหรือเหาะไป
ปร. ตายไป
สก. กรรมที่เป็นเหตุให้ตั้งอยู่ตลอดกัปเป็นกรรมให้ผลในภพต่อ ๆ ไปใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เหาะไปได้ใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๑๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๑. กัปปัฏฐกถา (๑๒๖)
สก. บุคคลผู้กัปปัฏฐะเป็นผู้มีฤทธิ์ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้กัปปัฏฐะเป็นผู้มีฤทธิ์ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้กัปปัฏฐะเจริญอิทธิบาท คือ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสาใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๕๗] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “บุคคลผู้กัปปัฏฐะยังดำรงอยู่ได้ตลอดกัป”
ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า
“บุคคลผู้ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน ยินดีในการแตกกัน
อยู่ในอธรรม เป็นผู้เข้าถึงอบาย อยู่ในนรกตลอดกัป
พลาดจากนิพพานอันเป็นธรรมเกษมจากโยคะ๑
เสวยผลกรรมอยู่ในนรกตลอดกัป
เพราะทำลายสงฆ์ที่สามัคคีกันให้แตกแยกกัน”๒
มีอยู่จริงมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น บุคคลผู้กัปปัฏฐะจึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัป

กัปปัฏฐกถา จบ

เชิงอรรถ :
๑ ธรรมเกษมจากโยคะ หมายถึงอรหัตตผล (องฺ.ทสก.อ. ๓/๓๙-๔๐/๓๔๕)
๒ ดูเทียบ องฺ.ทสก. (แปล) ๒๔/๓๙/๙๐-๙๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๑๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๒. กุสลปฏิลาภกถา (๑๒๗)
๒. กุสลปฏิลาภกถา (๑๒๗)
ว่าด้วยการได้จิตที่เป็นกุศล
[๖๕๘] สก. บุคคลผู้กัปปัฏฐะไม่พึงได้จิตที่เป็นกุศลใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. บุคคลผู้กัปปัฏฐะพึงให้ทานใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากบุคคลผู้กัปปัฏฐะพึงให้ทาน ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “บุคคลผู้
กัปปัฏฐะไม่พึงได้จิตที่เป็นกุศล”
สก. บุคคลผู้กัปปัฏฐะไม่พึงได้จิตที่เป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้กัปปัฏฐะพึงถวายจีวร ฯลฯ บิณฑบาต ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ
คิลานปัจจัยเภสัชบริขาร ฯลฯ ของขบเคี้ยว ฯลฯ ของบริโภค ฯลฯ น้ำดื่ม ฯลฯ
พึงไหว้พระเจดีย์ ฯลฯ ยกดอกไม้ ฯลฯ ของหอม ฯลฯ เครื่องลูบไล้บูชาพระเจดีย์
ฯลฯ ทำประทักษิณพระเจดีย์ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากบุคคลผู้กัปปัฏฐะพึงทำประทักษิณพระเจดีย์ ท่านก็ไม่ควรยอมรับ
ว่า “บุคคลผู้กัปปัฏฐะไม่พึงได้จิตที่เป็นกุศล ฯลฯ”

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอุตตราปถกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๕๘-๖๕๙/๒๖๗)
๒ เพราะมีความเห็นว่า ผู้ทำลายสงฆ์ให้แตกกันนอกจากจะไม่มีโอกาสบรรลุฌาน มรรคและผลแล้ว แม้แต่
กุศลขั้นหยาบ เช่น ทาน ศีล ก็ทำไม่ขึ้น ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า ผู้ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน
ไม่สามารถบรรลุฌาน มรรคและผลในชาตินี้เท่านั้น แต่สามารถสร้างกุศลอย่างอื่น เช่น ให้ทาน รักษาศีลได้
(อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๕๘-๖๕๙/๒๖๗)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๑๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๓. อนันตราปยุตตกถา (๑๒๘)
[๖๕๙] ปร. บุคคลผู้กัปปัฏฐะพึงได้จิตที่เป็นกุศลใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. บุคคลผู้กัปปัฏฐะพึงได้จิตที่เป็นกุศลเป็นเหตุออกจากจิตที่เป็นอกุศลนั้น
ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. พึงได้จิตที่เป็นกุศลที่เป็นรูปาวจร ฯลฯ อรูปารจร ฯลฯ โลกุตตระใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
กุสลปฏิลาภกถา จบ

๓. อนันตราปยุตตกถา (๑๒๘)
ว่าด้วยบุคคลผู้ใช้ให้ทำอนันตริยกรรม
[๖๖๐] ปร.๑ บุคคลผู้ใช้ให้ทำอนันตริยกรรมพึงก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม๒ ได้ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. พึงก้าวลงสู่มิจฉัตตนิยาม๓ และสัมมัตตนิยามทั้ง ๒ ใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. บุคคลผู้ใช้ให้ทำอนันตริยกรรมพึงก้าวลงสู่สัมมัตตนิยามได้ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. กรรมที่ใช้ให้ทำนั้นก่อความรำคาญใจให้ ให้เกิดความเดือดร้อนใจมิใช่หรือ
สก. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอุตตราปถกะ ซึ่งมีความเห็นว่า ผู้ที่ใช้ให้คนอื่นทำอนันตริยกรรม เช่น ฆ่า
มารดา ฆ่าบิดา เป็นต้น ถึงจะไม่ใช่ผู้ทำอนันตริยกรรมโดยตรง แต่ก็ต้องถือว่ารับผลของอนันตริยกรรม
แน่นอน ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า ถ้าผู้ถูกใช้ให้ทำ ไม่ทำตรงตามที่สั่งให้ทำ ผู้สั่งไม่ต้อง
รับโทษของอนันตริยกรรม (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๖๐-๖๖๒/๒๖๗-๒๖๘)
๒ สัมมัตตนิยาม ในที่นี้หมายถึงอริยมรรค (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๖๓-๖๖๔/๒๖๙)
๓ มิจฉัตตนิยาม ในที่นี้หมายถึงอนันตริยกรรม (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๖๓-๖๖๔/๒๖๙)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๑๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๓. อนันตราปยุตตกถา (๑๒๘)
ปร. หากกรรมที่ใช้ให้ทำนั้นก่อความรำคาญใจให้ ให้เกิดความเดือดร้อนใจได้
ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “บุคคลผู้ใช้ให้ทำอนันตริยกรรมพึงก้าวลงสู่สัมมัตตนิยามได้”
[๖๖๑] สก. บุคคลผู้ใช้ให้ทำอนันตริยกรรม เป็นผู้ไม่ควรก้าวลงสู่สัมมัตต-
นิยามใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เขาได้ปลงชีวิตมารดา ปลงชีวิตบิดา ปลงชีวิตพระอรหันต์ มีจิตคิด
ประทุษร้ายทำร้ายพระตถาคตจนพระโลหิตห้อ ทำลายสงฆ์ให้แตกกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้ใช้ให้ทำอนันตริยกรรม ล้มเลิกกรรมนั้นแล้ว บรรเทาความ
รำคาญใจ กำจัดความเดือดร้อนใจได้แล้ว เป็นผู้ไม่ควรก้าวลงสู่สัมมัตตนิยามใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เขาปลงชีวิตมารดา ปลงชีวิตบิดา ฯลฯ ทำลายสงฆ์ให้แตกกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้ใช้ให้ทำอนันตริยกรรมล้มเลิกกรรมนั้นแล้ว บรรเทาความรำคาญใจ
กำจัดความเดือดร้อนใจได้แล้ว เป็นผู้ไม่ควรก้าวลงสู่สัมมัตตนิยามใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เขาล้มเลิกกรรมนั้น บรรเทาความรำคาญใจ กำจัดความเดือดร้อนใจ
แล้วมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากเขาล้มเลิมกรรมนั้นแล้ว บรรเทาความรำคาญใจ กำจัดความ
เดือดร้อนใจได้แล้ว ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “บุคคลผู้ใช้ให้ทำอนันตริยกรรมล้ม
เลิกกรรมนั้นแล้ว บรรเทาความรำคาญใจ กำจัดความเดือดร้อนใจได้แล้ว เป็นผู้
ไม่ควรก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม”

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๑๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๔. นิยตัสสนิยามกถา (๑๒๙)
[๖๖๒] ปร. บุคคลผู้ใช้ให้ทำอนันตริยกรรมพึงก้าวลงสู่สัมมัตตนิยามได้ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. เขาเป็นผู้ใช้ให้ทำกรรมนั้นมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. หากเขาเป็นผู้ใช้ให้ทำกรรมนั้น ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “บุคคลผู้ใช้ให้
ทำอนันตริยกรรมพึงก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม”
อนันตราปยุตตกถา จบ

๔. นิยตัสสนิยามกถา (๑๒๙)
ว่าด้วยนิยามของบุคคลผู้แน่นอน
[๖๖๓] สก. บุคคลผู้แน่นอน๑ก้าวลงสู่นิยาม๒ ได้ใช่ไหม
ปร.๓ ใช่๔
สก. บุคคลผู้แน่นอนในมิจฉัตตะก้าวลงสู่สัมมัตตนิยามได้ บุคคลผู้แน่นอน
ในสัมมัตตะก็ก้าวลงสู่มิจฉัตตนิยามได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ บุคคลผู้แน่นอน ในที่นี้หมายถึงผู้เป็นพระโพธิสัตว์ที่ได้รับเอกังสพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าว่า จักบรรลุ
โพธิญาณ (ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้) ในอนาคตอย่างแน่นอน (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๖๓-๖๖๔/๒๖๙)
๒ นิยาม ในที่นี้หมายถึงนิยาม ๒ อย่าง คือ (๑) มิจฉัตตนิยามหรือเรียกว่าอนันตริยกรรม (๒) สัมมัตต-
นิยามหรือเรียกว่าอริยมรรค (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๖๓-๖๖๔/๒๖๙)
๓ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายปุพพเสลิยะและนิกายปรเสลิยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๖๓/๒๖๙)
๔ เพราะมีความเห็นว่า พระโพธิสัตว์ผู้ได้รับเอกังสพยากรณ์ชื่อว่าเข้าถึงนิยามแล้ว โดยเชื่อว่าการได้รับ
พยากรณ์เช่นนั้นเป็นการก้าวลงสู่นิยามประเภทหนึ่ง ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า การได้รับ
เอกังสพยากรณ์ไม่ชื่อว่าเป็นการเข้าถึงนิยาม (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๖๓/๒๖๙)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๑๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๔. นิยตัสสนิยามกถา (๑๒๙)
สก. บุคคลผู้แน่นอนก้าวลงสู่นิยามได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลผู้แน่นอนเจริญมรรคมาก่อนแล้วจึงก้าวลงสู่นิยามในภายหลังใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้แน่นอนเจริญโสดาปัตติมรรคมาก่อนแล้วจึงก้าวลงสู่โสดาปัตติ-
นิยามในภายหลังใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้แน่นอนเจริญสกทาคามิมรรค ฯลฯ อนาคามิมรรค ฯลฯ
อรหัตตมรรคมาก่อนแล้วจึงก้าวลงสู่อรหัตตนิยามในภายหลังใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลผู้แน่นอนเจริญสติปัฏฐาน ฯลฯ สัมมัปปธาน ฯลฯ อิทธิบาท
ฯลฯ อินทรีย์ ฯลฯ พละ ฯลฯ โพชฌงค์มาก่อนแล้วจึงก้าวลงสู่นิยามใน
ภายหลังใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๖๔] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “บุคคลผู้แน่นอนก้าวลงสู่นิยามได้” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. พระโพธิสัตว์เป็นผู้ไม่ควรจะบรรลุธรรมในชาตินั้นใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น บุคคลผู้แน่นอนจึงก้าวลงสู่นิยามได้

นิยตัสสนิยามกถา จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๑๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๕. นิวุตกถา (๑๓๐)
๕. นิวุตกถา (๑๓๐)
ว่าด้วยผู้มีจิตถูกนิวรณ์ครอบงำ
[๖๖๕] สก. บุคคลผู้ถูกนิวรณ์ครอบงำละนิวรณ์ได้ใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. บุคคลผู้กำหนัดแล้วละราคะ ผู้ขัดเคืองแล้วละโทสะ ผู้หลงแล้วละโมหะ
ผู้เศร้าหมองแล้วละกิเลสได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลละราคะด้วยราคะ ละโทสะด้วยโทสะ ละโมหะด้วยโมหะ ละกิเลส
ด้วยกิเลสใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ราคะสัมปยุตด้วยจิต มรรคก็สัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มีการประชุมแห่งผัสสะ ๒ อย่าง ฯลฯ จิต ๒ ดวงใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ราคะเป็นอกุศล แต่มรรคเป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ที่มีโทษและไม่มีโทษ ที่เลวและประณีต
ที่เป็นฝ่ายดำ เป็นฝ่ายขาวและเป็นฝ่ายมีส่วนเปรียบ๓ มาประชุมกันได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอุตตราปถกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๖๕-๖๖๗/๒๗๐)
๒ เพราะมีความเห็นว่า การละนิวรณ์นั้นจะต้องละในช่วงที่ถูกนิวรณ์ครอบงำเท่านั้น ซึ่งต่างกับความเห็นของ
สกวาทีที่เห็นว่า การละนิวรณ์นั้นจะต้องละก่อนที่จะถูกนิวรณ์ครอบงำ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๖๕-๖๖๗/๒๗๐)
๓ ดูเชิงอรรถที่ ๓ ข้อ ๕๙๙ หน้า ๖๕๓ ในเล่มนี้

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๑๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๕. นิวุตกถา (๑๓๐)
[๖๖๖] สก. สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ที่มีโทษและไม่มีโทษ ที่เลว
และประณีต ที่เป็นฝ่ายดำ เป็นฝ่ายขาวและเป็นฝ่ายมีส่วนเปรียบ มาประชุมกันได้
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย สิ่งที่อยู่ห่างไกล
กันเหลือเกิน ๔ อย่างนี้
สิ่งที่อยู่ห่างไกลกันเหลือเกิน ๔ อย่าง อะไรบ้าง คือ
๑. ท้องฟ้ากับแผ่นดิน นี้เป็นสิ่งที่อยู่ห่างไกลกันเหลือเกินอย่างที่ ๑
ฯลฯ
เพราะฉะนั้น ธรรมของสัตบุรุษจึงห่างไกลกันกับธรรมของอสัตบุรุษ”๑
มีอยู่จริงมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. ดังนั้น ท่านจึงไม่ควรยอมรับว่า “สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ฯลฯ
มาประชุมกันได้”
สก. บุคคลผู้ถูกนิวรณ์ครอบงำละนิวรณ์ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “บุคคลนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์
ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากความเศร้าหมอง อ่อน ควรแก่การใช้งาน
ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมน้อมจิตไปเพื่อญาณเป็นเครื่องสิ้นอาสวะ”๒] มีอยู่
จริงมิใช่หรือ
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ องฺ.จตุกฺก. (แปล) ๒๑/๔๗/๗๗
๒ ดูเทียบ ม.อุ. (แปล) ๑๔/๑๙/๒๖

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๑๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๖. สัมมุขีภูตกถา (๑๓๑)
สก. ดังนั้น ท่านจึงไม่ควรยอมรับว่า “บุคคลผู้ถูกนิวรณ์ครอบงำละนิวรณ์ได้” ฯลฯ
[๖๖๗] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “บุคคลผู้ถูกนิวรณ์ครอบงำละนิวรณ์ได้” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุนั้นเมื่อรู้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิต
ย่อมหลุดพ้นจากกามาสวะบ้าง ฯลฯ จากอวิชชาสวะบ้าง”๑ มีอยู่จริงมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น บุคคลผู้ถูกนิวรณ์ครอบงำจึงละนิวรณ์ได้
นิวุตกถา จบ

๖. สัมมุขีภูตกถา (๑๓๑)
ว่าด้วยผู้พรั่งพร้อมด้วยสังโยชน์
[๖๖๘] สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยสังโยชน์ละสังโยชน์ได้ใช่ไหม
ปร.๒ ใช่๓
สก. บุคคลผู้กำหนัดแล้วละราคะ ผู้ขัดเคืองแล้วละโทสะ ผู้หลงแล้วละโมหะ
ผู้เศร้าหมองแล้วละกิเลสได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. บุคคลละราคะด้วยราคะ ละโทสะด้วยโทสะ ละโมหะด้วยโมหะ ละกิเสส
ด้วยกิเลสใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ ม.อุ. (แปล) ๑๔/๑๙/๒๖
๒ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอุตตราปถกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๖๘-๖๗๐/๒๗๐)
๓ เพราะมีความเห็นว่า การละสังโยชน์นั้นจะต้องละในช่วงที่ถูกสังโยชน์ครอบงำเท่านั้น ซึ่งต่างกับความเห็น
ของสกวาทีที่เห็นว่า การละสังโยชน์จะต้องละก่อนที่จะถูกสังโยชน์ครอบงำ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๖๘-๖๗๐/๒๗๐)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๑๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๖. สัมมุขีภูตกถา (๑๓๑)
สก. ราคะสัมปยุตด้วยจิต มรรคก็สัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มีการประชุมแห่งผัสสะ ๒ อย่าง ฯลฯ จิต ๒ ดวงใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ราคะเป็นอกุศล แต่มรรคเป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ที่มีโทษและไม่มีโทษ ที่เลวและประณีต
ที่เป็นฝ่ายดำ เป็นฝ่ายขาวและเป็นฝ่ายมีส่วนเปรียบ มาประชุมกันได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๖๙] สก. สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ที่มีโทษและไม่มีโทษ ที่เลวและ
ประณีต ที่เป็นฝ่ายดำ เป็นฝ่ายขาว และเป็นฝ่ายมีส่วนเปรียบ มาประชุมกันได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย สิ่งที่อยู่ห่างไกล
กันเหลือเกิน ๔ อย่างนี้
สิ่งที่อยู่ห่างไกลกันเหลือเกิน ๔ อย่าง อะไรบ้าง คือ
๑. ท้องฟ้ากับแผ่นดิน นี้เป็นสิ่งที่อยู่ห่างไกลกันเหลือเกินอย่างที่ ๑
ฯลฯ
เพราะฉะนั้น ธรรมของสัตบุรุษจึงห่างไกลกันกับธรรมของอสัตบุรุษ”๑
มีอยู่จริงมิใช่หรือ
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ องฺ.จตุกฺก. (แปล) ๒๑/๔๗/๗๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๒๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๖. สัมมุขีภูตกถา (๑๓๑)
สก. ดังนั้น ท่านจึงไม่ควรยอมรับว่า “สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ฯลฯ
มาประชุมกันได้”
สก. บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยสังโยชน์ละสังโยชน์ได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “บุคคลนั้น เมื่อจิตตั้งมั่นอย่างนี้
ฯลฯ ย่อมน้อมจิตไปเพื่อญาณเป็นเครื่องสิ้นอาสวะ”๑ มีอยู่จริงมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. ดังนั้น ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยสังโยชน์ละ
สังโยชน์ได้”
[๖๗๐] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยสังโยชน์ละสังโยชน์ได้”
ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุนั้นเมื่อรู้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิต
ย่อมหลุดพ้นจากกามาสวะบ้าง ฯลฯ จากอวิชชาสวะบ้าง”๒ มีอยู่จริงมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยสังโยชน์จึงละสังโยชน์ได้

สัมมุขีภูตกถา จบ

เชิงอรรถ :
๑-๒ ดูเทียบ ม.อุ. (แปล) ๑๔/๑๙/๒๖

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๒๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๗. สมาปันโนอัสสาเทติกถา (๑๓๒)
๗. สมาปันโนอัสสาเทติกถา (๑๓๒)
ว่าด้วยผู้เข้าสมาบัติย่อมยินดี
[๖๗๑] สก. บุคคลผู้เข้าสมาบัติย่อมยินดี ความยินดีในฌานมีฌานเป็น
อารมณ์ใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. ฌานนั้นเป็นอารมณ์ของฌานนั้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ฌานนั้นเป็นอารมณ์ของฌานนั้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. บุคคลถูกต้องผัสสะนั้นด้วยผัสสะนั้น เสวยเวทนานั้นด้วยเวทนานั้น
จำสัญญานั้นด้วยสัญญานั้น จงใจเจตนานั้นด้วยเจตนานั้น คิดจิตนั้นด้วยจิตนั้น
ตรึกวิตกนั้นด้วยวิตกนั้น ตรองวิจารนั้นด้วยวิจารนั้น เอิบอิ่มปีตินั้นด้วยปีตินั้น
ระลึกสตินั้นด้วยสตินั้น รู้ชัดปัญญานั้นด้วยปัญญานั้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความยินดีในฌานสัมปยุตด้วยจิต ฌานก็สัมปยุตด้วยจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มีการประชุมแห่งผัสสะ ๒ อย่าง ฯลฯ จิต ๒ ดวงใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ความยินดีในฌานเป็นอกุศล แต่ฌานเป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอันธกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๗๑-๖๗๓/๒๗๐)
๒ เพราะมีความเห็นว่า ในขณะที่เข้าฌานสมาบัติ ตัณหาก็สามารถเกิดได้ ซึ่งต่างกับความเห็นของ
สกวาทีที่เห็นว่า ในขณะเข้าฌานสมาบัติกิเลสตัณหาไม่สามารถเกิดได้ ส่วนความยินดีในขณะเข้าฌาน-
สมาบัติ หมายเอาความยินดีที่เกิดขึ้นหลังจากที่เข้าฌานสมาบัติแล้ว (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๗๑-๖๗๓/๒๗๐)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๒๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๗. สมาปันโนอัสสาเทติกถา (๑๓๒)
สก. สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ที่มีโทษและไม่มีโทษ ที่เลวและประณีต
ที่เป็นฝ่ายดำ เป็นฝ่ายขาว และเป็นฝ่ายมีส่วนเปรียบ มาประชุมกันได้ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๗๒] สก. สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ที่มีโทษและไม่มีโทษ ที่เลวและ
ประณีต ที่เป็นฝ่ายดำ เป็นฝ่ายขาว และเป็นฝ่ายมีส่วนเปรียบ มาประชุมกันได้
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย สิ่งที่อยู่ห่างไกล
กันเหลือเกิน ๔ อย่างนี้
สิ่งที่อยู่ห่างไกลกันเหลือเกิน ๔ อย่าง อะไรบ้าง คือ
๑. ท้องฟ้ากับแผ่นดิน นี้เป็นสิ่งที่อยู่ห่างไกลกันเหลือเกินอย่างที่ ๑
ฯลฯ
เพราะฉะนั้น ธรรมของสัตบุรุษจึงห่างไกลกันกับธรรมของอสัตบุรุษ”๑
มีอยู่จริงมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. ดังนั้น ท่านจึงไม่ควรยอมรับว่า “สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศล ที่
มีโทษและไม่มีโทษ ที่เลวและประณีต ที่เป็นฝ่ายดำ เป็นฝ่ายขาว และเป็นฝ่ายมี
ส่วนเปรียบ มาประชุมกันได้”
[๖๗๓] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “ผู้เข้าสมาบัติย่อมยินดี ความยินดีในฌานมี
ฌานเป็นอารมณ์” ใช่ไหม่
สก. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ องฺ.จตุกฺก. (แปล) ๒๑/๔๗/๗๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๒๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๘. อสาตราคกถา (๑๓๓)
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้
สงัดจากกามทั้งหลาย ฯลฯ บรรลุปฐมฌานอยู่ เธอยินดีในปฐมฌานนั้น ติดใจ
ปฐมฌานนั้นและถึงความปลื้มใจด้วยฌานนั้น เพราะวิตกและวิจารสงบระงับไป
บรรลุทุติยฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌานอยู่ เธอยินดีใน
จตุตถฌานนั้น ติดใจจตุตถฌานนั้น และถึงความปลื้มใจด้วยจตุตถฌานนั้น”๑
มีอยู่จริงมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น ผู้เข้าสมาบัติย่อมยินดี ความยินดีในฌานจึงมีฌานเป็นอารมณ์
สมาปันโนอัสสาเทติกถา จบ

๘. อสาตราคกถา (๑๓๓)
ว่าด้วยความยินดีในสิ่งที่ไม่ชอบใจ
[๖๗๔] สก. ความยินดีในสิ่งที่ไม่ชอบใจมีอยู่ใช่ไหม
ปร.๒ใช่๓
สก. สัตว์ทั้งหลายเป็นผู้ยินดีอย่างยิ่งในทุกข์ บางพวกปรารถนา กระหยิ่ม
แสวงหา ค้นหา เสาะหาทุกข์ ยึดทุกข์ ดำรงอยู่ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัตว์ทั้งหลายเป็นผู้ยินดีอย่างยิ่งในสุข บางพวกปรารถนา กระหยิ่ม แสวงหา
ค้นหา เสาะหาสุข ยึดสุข ดำรงอยู่ใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ องฺ.จตุกฺก. (แปล) ๒๑/๑๒๓/๑๘๗-๑๘๙
๒ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอุตตราปถกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๗๔/๒๗๑)
๓ เพราะมีความเห็นว่า ความยินดีแม้ในทุกขเวทนาก็มีได้ โดยอ้างพระสูตรที่ว่า ‘โส เอวํ อนุโรธวิโรธํ สมาปนฺนํ’
ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า ความยินดีที่เกิดจากทุกขเวทนาโดยตรงไม่มี แต่ที่อาศัยทุกขเวทนา
เกิดมีอยู่ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๗๔/๒๗๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๒๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๘. อสาตราคกถา (๑๓๓)
สก. หากสัตว์ทั้งหลายเป็นผู้ยินดีอย่างยิ่งในสุข บางพวกปรารถนา กระหยิ่ม
แสวงหา ค้นหา เสาะหาสุข ยึดสุข ดำรงอยู่ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “ความ
ยินดีในสิ่งที่ไม่ชอบใจมีอยู่”
สก. ความยินดีในสิ่งที่ไม่ชอบใจมีอยู่ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ราคานุสัยนอนเนื่องอยู่ในทุกขเวทนา ปฏิฆานุสัยนอนเนื่องอยู่ในสุขเวทนา
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ราคานุสัยนอนเนื่องอยู่ในสุขเวทนา ปฏิฆานุสัยนอนเนื่องอยู่ในทุกขเวทนา
มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากราคานุสัยนอนเนื่องอยู่ในสุขเวทนา ปฏิฆานุสัยนอนเนื่องอยู่ใน
ทุกขเวทนา ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “ความยินดีในสิ่งที่ไม่ชอบใจมีอยู่”
[๖๗๕] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “ความยินดีในสิ่งที่ไม่ชอบใจมีอยู่” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “บุคคลนั้นสมบูรณ์ด้วยความยินดี
หรือความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาอย่างใดอย่างหนึ่งจะเป็นสุขเวทนา ทุกข-
เวทนาหรืออทุกขมสุขเวทนาก็ตาม เขาย่อมเพลิดเพลิน บ่นถึง ติดใจเวทนานั้น”๑
มีอยู่จริงมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น ความยินดีในสิ่งที่ไม่ชอบใจจึงมีอยู่

อสาตราคกถา จบ

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ ม.มู. (แปล) ๑๒/๔๐๙/๔๔๔-๔๔๕

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๒๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๙. ธัมมตัณหาอัพยากตาติกถา (๑๓๔)
๙. ธัมมตัณหาอัพยากตาติกถา (๑๓๔)
ว่าด้วยธัมมตัณหาเป็นอัพยากฤต
[๖๗๖] สก. ธัมมตัณหาเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. ธัมมตัณหาเป็นอัพยากฤตฝ่ายวิบาก เป็นอัพยากฤตฝ่ายกิริยา เป็นรูป
เป็นนิพพาน เป็นจักขายตนะ ฯลฯ เป็นโผฏฐัพพายตนะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ธัมมตัณหาเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปตัณหาเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ธัมมตัณหาเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัททตัณหา ฯลฯ คันธตัณหา ฯลฯ รสตัณหา ฯลฯ โผฏฐัพพตัณหา
เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปตัณหาเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายปุพพเสลิยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๗๖/๒๗๒)
๒ เพราะมีความเห็นว่า ตัณหาที่มีความยินดีในกุศลธรรมและในโลกุตตรธรรม เรียกว่าธัมมตัณหา
ธัมมตัณหานี้จัดเป็นอัพยากฤต ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า ความยินดีในกุศลธรรมและ
ในโลกุตตรธรรมไม่จัดเป็นตัณหา แต่จัดเป็นฉันทะ ดังนั้น จึงนับเข้าในกุศลเท่านั้น (อภิ.ปญฺจ.อ.
๖๗๖-๖๘๐/๒๗๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๒๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๙. ธัมมตัณหาอัพยากตาติกถา (๑๓๔)
สก. ธัมมตัณหาเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัททตัณหา ฯลฯ โผฏฐัพพตัณหา เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ธัมมตัณหาเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๗๗] สก. ธัมมตัณหาเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ตัณหาพระผู้มีพระภาคตรัสว่าเป็นอกุศลมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากตัณหา พระผู้มีพระภาคตรัสว่าเป็นอกุศล ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า
“ธัมมตัณหาเป็นอัพยากฤต”
สก. ธัมมตัณหาเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โลภะพระผู้มีพระภาคตรัสว่าเป็นอกุศล ธัมมตัณหาเป็นโลภะมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากโลภะ พระผู้มีพระภาคตรัสว่าเป็นอกุศล ธัมมตัณหาเป็นโลภะ
ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “ธัมมตัณหาเป็นอัพยากฤต”
[๖๗๘] สก. โลภะคือธัมมตัณหาเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โลภะคือรูปตัณหาเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๒๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๙. ธัมมตัณหาอัพยากตาติกถา (๑๓๔)
สก. โลภะคือธัมมตัณหาเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โลภะคือสัททตัณหา ฯลฯ โลภะคือโผฏฐัพพตัณหา เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. โลภะคือรูปตัณหาเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โลภะคือธัมมตัณหาเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. โลภะคือสัททตัณหา ฯลฯ โลภะคือโผฏฐัพพตัณหา เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โลภะคือธัมมตัณหาเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๗๙] สก. ธัมมตัณหาเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ตัณหาอันทำให้เกิดอีก ประกอบ
ด้วยความเพลิดเพลินและความกำหนัด มีปกติให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้น ๆ คือ
กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา”๑ มีอยู่จริงมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. ดังนั้น ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “ธัมมตัณหาเป็นอัพยากฤต”
[๖๘๐] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “ธัมมตัณหาเป็นอัพยากฤต” ใช่ไหม
สก. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ วิ.ม. (แปล) ๔/๑๔/๒๑, ที.ม. (แปล) ๑๐/๔๐๐/๓๒๙-๓๓๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๒๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๑๐. ธัมมตัณหานทุกขสมุทโยติกถา (๑๓๕)
ปร. ตัณหานั้นเป็นธัมมตัณหามิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. หากตัณหานั้นเป็นธัมมตัณหา ดังนั้น ท่านจึงควรยอมรับว่า “ธัมม-
ตัณหาเป็นอัพยากฤต”
ธัมมตัณหาอัพยากตาติกถา จบ

๑๐. ธัมมตัณหานทุกขสมุทโยติกถา (๑๓๕)
ว่าด้วยธัมมตัณหาไม่เป็นทุกขสมุทัย
[๖๘๑] สก. ธัมมตัณหาไม่เป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. รูปตัณหาไม่เป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ธัมมตัณหาไม่เป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัททตัณหา ฯลฯ คันธตัณหา ฯลฯ รสตัณหา ฯลฯ โผฏฐัพพตัณหา
ไม่เป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปตัณหาเป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ธัมมตัณหาเป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายปุพพเสลิยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๘๑-๖๘๕/๒๗๒)
๒ เพราะมีความเห็นว่า ธัมมตัณหาไม่ใช่เหตุแห่งทุกขสัจ ดังนั้นจึงไม่นับเข้าในสมุทัย ซึ่งต่างกับความ
เห็นของสกวาทีที่เห็นว่า ขึ้นชื่อว่าตัณหาแล้วจัดเป็นทุกขสมุทัย(เหตุให้เกิดทุกข์)ทั้งนั้น (อภิ.ปญฺจ.อ.
๖๘๑-๖๘๕/๒๗๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๒๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๑๐. ธัมมตัณหานทุกขสมุทโยติกถา (๑๓๕)
สก. สัททตัณหา ฯลฯ คันธตัณหา ฯลฯ รสตัณหา ฯลฯ โผฏฐัพพตัณหา
เป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ธัมมตัณหาเป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๘๒] สก. ธัมมตัณหาไม่เป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ตัณหาพระผู้มีพระภาคตรัสว่าเป็นทุกขสมุทัยมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากตัณหา พระผู้มีพระภาคตรัสว่าเป็นทุกขสมุทัย ท่านก็ไม่ควรยอม
รับว่า “ธัมมตัณหาไม่เป็นทุกขสมุทัย”
สก. ธัมมตัณหาไม่เป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โลภะพระผู้มีพระภาคตรัสว่าเป็นทุกขสมุทัย ธัมมตัณหาเป็นโลภะมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากโลภะ พระผู้มีพระภาคตรัสว่าเป็นทุกขสมุทัย และธัมมตัณหาเป็น
โลภะ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “ธัมมตัณหาไม่เป็นทุกขสมุทัย”
[๖๘๓] สก. โลภะคือธัมมตัณหาไม่เป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โลภะคือรูปตัณหาไม่เป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๓๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] ๑๐. ธัมมตัณหานทุกขสมุทโยติกถา (๑๓๕)
สก. โลภะคือธัมมตัณหาไม่เป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โลภะคือสัททตัณหา ฯลฯ โลภะคือคันธตัณหา ฯลฯ โลภะคือรสตัณหา
ฯลฯ โลภะคือโผฏฐัพพตัณหา ไม่เป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. โลภะคือรูปตัณหาเป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โลภะคือธัมมตัณหาเป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. โลภะคือสัททตัณหา ฯลฯ โลภะคือโผฏฐัพพตัณหา เป็นทุกขสมุทัย
ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โลภะคือธัมมตัณหาเป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๘๔] สก. ธัมมตัณหาไม่เป็นทุกขสมุทัยใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ตัณหาอันทำให้เกิดอีก ประกอบ
ด้วยความเพลิดเพลินและความกำหนัด มีปกติให้เพลินเพลินในอารมณ์นั้น ๆ คือ
กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา” ๑ มีอยู่จริงมิใช่หรือ
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ วิ.ม. (แปล) ๔/๑๔/๒๑, ที.ม. (แปล) ๑๐/๔๐๐/๓๒๙-๓๓๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๓๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๓. เตรสมวรรค] รวมกถาที่มีในวรรค
สก. ดังนั้น ท่านจึงไม่ควรยอมรับว่า “ธัมมตัณหาไม่เป็นทุกขสมุทัย”
[๖๘๕] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “ธัมมตัณหาไม่เป็นทุกขสมุทัย” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. ตัณหานั้นเป็นธัมมตัณหามิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. หากตัณหานั้นเป็นธัมมตัณหา ท่านก็ควรยอมรับว่า “ธัมมตัณหา
ไม่เป็นทุกขสมุทัย”
ธัมมตัณหานทุกขสมุทโยติกถา จบ
เตรสมวรรค จบ

รวมกถาที่มีในวรรคนี้ คือ

๑. กัปปัฏฐกถา ๒. กุสลปฏิลาภกถา
๓. อนันตราปยุตตกถา ๔. นิยตัสสนิยามกถา
๕. นิวุตกถา ๖. สัมมุขีภูตกถา
๗. สมาปันโนอัสสาเทติกถา ๘. อสาตราคกถา
๙. ธัมมตัณหาอัพยากตาติกถา ๑๐. ธัมมตัณหานทุกขสมุทโยติกถา


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๓๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๑. กุสลากุสลปฏิสันทหนกถา (๑๓๖)
๑๔. จุททสมวรรค
๑. กุสลากุสลปฏิสันทหนกถา (๑๓๖)
ว่าด้วยความสืบต่อแห่งกุศลและอกุศล
[๖๘๖] สก. กุศลมูลสืบต่ออกุศลมูลได้ใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. ความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ เพื่อความเกิดขึ้นแห่งอกุศลนั้นก็เพื่อ
ความเกิดขึ้นแห่งกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กุศลมูลสืบต่ออกุศลมูลได้ แต่ท่านไม่ยอมรับว่า “ความนึกถึง ฯลฯ
ความตั้งใจ เพื่อความเกิดขึ้นแห่งอกุศลนั้นก็เพื่อความเกิดขึ้นแห่งกุศล” ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กุศลเกิดขึ้นแก่ผู้ไม่นึกถึงอยู่ ฯลฯ ไม่ตั้งใจอยู่ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กุศลเกิดขึ้นแก่ผู้นึกถึงอยู่ ฯลฯ ตั้งใจอยู่มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากกุศลเกิดขึ้นแก่ผู้นึกถึงอยู่ ฯลฯ ตั้งใจอยู่ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า
“กุศลมูลสืบต่ออกุศลมูลได้”

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๘๖-๖๙๐/๒๗๓)
๒ เพราะมีความเห็นว่า กุศลและอกุศลสามารถเกิดขึ้นต่อเนื่องกันได้ ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า
กุศลและอกุศลไม่สามารถเกิดขึ้นต่อเนื่องกันได้ จะต้องมีสภาวธรรมอื่นหรือกาลเวลามาคั่น จึงจะเกิดขึ้นได้
(อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๘๖-๖๙๐/๒๗๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๓๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๑. กุสลากุสลปฏิสันทหนกถา (๑๓๖)
[๖๘๗] สก. กุศลมูลสืบต่ออกุศลมูลได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อกุศลเกิดขึ้นแก่ผู้มนสิการอยู่โดยไม่แยบคายใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กุศลเกิดขึ้นแก่ผู้มนสิการอยู่โดยไม่แยบคายใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กุศลเกิดขึ้นแก่ผู้มนสิการอยู่โดยแยบคายมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากกุศลเกิดขึ้นแก่ผู้มนสิการอยู่โดยแยบคาย ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า
“กุศลมูลสืบต่ออกุศลมูลได้”
สก. กุศลมูลสืบต่ออกุศลมูลได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เนกขัมมสัญญาเกิดขึ้นในลำดับแห่งกามสัญญา อัพยาปาทสัญญาเกิด
ขึ้นในลำดับแห่งพยาปาทสัญญา อวิหิงสาสัญญาเกิดขึ้นในลำดับแห่งวิหิงสาสัญญา
เมตตาเกิดขึ้นในลำดับแห่งพยาบาท กรุณาเกิดขึ้นในลำดับแห่งวิหิงสา มุทิตาเกิดขึ้น
ในลำดับแห่งอรติ อุเบกขาเกิดขึ้นในลำดับแห่งปฏิฆะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๘๘] สก. อกุศลมูลสืบต่อกุศลมูลได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ เพื่อความเกิดขึ้นแห่งกุศลนั้นก็เพื่อ
ความเกิดขึ้นแห่งอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๓๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๑. กุสลากุสลปฏิสันทหนกถา (๑๓๖)
สก. อกุศลมูลสืบต่อกุศลมูลได้ แต่ท่านไม่ยอมรับว่า “ความนึกถึง ฯลฯ
ความตั้งใจ เพื่อความเกิดขึ้นแห่งกุศลนั้นก็เพื่อความเกิดขึ้นแห่งอกุศล” ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อกุศลเกิดขึ้นแก่ผู้ไม่นึกถึงอยู่ ฯลฯ ไม่ตั้งใจอยู่ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อกุศลเกิดขึ้นแก่ผู้นึกถึงอยู่ ฯลฯ ตั้งใจอยู่มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากอกุศลเกิดขึ้นแก่ผู้นึกถึงอยู่ ฯลฯ ตั้งใจอยู่ ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า
“อกุศลมูลสืบต่อกุศลมูลได้”
[๖๘๙] สก. อกุศลมูลสืบต่อกุศลมูลได้ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กุศลเกิดขึ้นแก่ผู้มนสิการอยู่โดยแยบคายใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อกุศลเกิดขึ้นแก่ผู้มนสิการอยู่โดยแยบคายใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อกุศลเกิดขึ้นแก่ผู้มนสิการอยู่โดยไม่แยบคายมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากอกุศลเกิดขึ้นแก่ผู้มนสิการโดยไม่แยบคาย ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า
“อกุศลมูลสืบต่อกุศลมูลได้”
สก. อกุศลมูลสืบต่อกุศลมูลได้ใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๓๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๑. กุสลากุสลปฏิสันทหนกถา (๑๓๖)
สก. กามสัญญาเกิดขึ้นในลำดับแห่งเนกขัมมสัญญา พยาปาทสัญญาเกิดขึ้น
ในลำดับแห่งอัพยาปาทสัญญา วิหิงสาสัญญาเกิดขึ้นในลำดับแห่งอวิหิงสาสัญญา
พยาบาทเกิดขึ้นในลำดับแห่งเมตตา วิหิงสาเกิดขึ้นในลำดับแห่งกรุณา อรติเกิดขึ้น
ในลำดับแห่งมุทิตา ปฏิฆะเกิดขึ้นในลำดับแห่งอุเบกขาใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๙๐] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “กุศลมูลสืบต่ออกุศลมูลได้ อกุศลมูลสืบต่อ
กุศลมูลได้” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. จิตคลายกำหนัดในวัตถุที่ตนกำหนัด กำหนัดในวัตถุที่ตนคลายกำหนัด
เท่านั้นมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. หากจิตคลายกำหนัดในวัตถุที่ตนกำหนัด กำหนัดในวัตถุที่ตนคลายกำหนัด
ดังนั้น ท่านจึงควรยอมรับว่า “กุศลมูลสืบต่ออกุศลมูลได้ อกุศลมูลก็สืบต่อกุศล
มูลได้”

กุสลากุสลปฏิสันทหนกถา จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๓๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๒. สฬายตนุปปัตติกถา (๑๓๗)
๒. สฬายตนุปปัตติกถา (๑๓๗)
ว่าด้วยความเกิดขึ้นแห่งอายตนะ ๖
[๖๙๑] สก. อายตนะ ๖ เกิดในครรภ์มารดา ไม่ก่อน ไม่หลังกันใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. บุคคลมีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง หยั่งลงใน
ครรภ์มารดาใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. จักขายตนะเกิดพร้อมกับปฏิสนธิจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มือ เท้า ศีรษะ หู จมูก ปาก ฟัน เกิดพร้อมกับปฏิสนธิจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. โสตายตนะ ฯลฯ ฆานายตนะ ฯลฯ ชิวหายตนะ เกิดพร้อมกับ
ปฏิสนธิจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มือ เท้า ศีรษะ หู จมูก ปาก ฟัน เกิดพร้อมกับปฏิสนธิจิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๙๒] ปร. จักขายตนะเกิดขึ้นแก่สัตว์ผู้อยู่ในครรภ์มารดาในภายหลังใช่ไหม
สก. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายปุพพเสลิยะและนิกายปรเสลิยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๙๑/๒๗๓-๒๗๔)
๒ เพราะมีความเห็นว่า อายตนะภายใน ๖ มีตาเป็นต้นเกิดขึ้นพร้อมกันในขณะปฏิสนธิ ซึ่งต่างกับความ
เห็นของสกวาทีที่เห็นว่า อายตนะภายใน ๖ ของสัตว์ผู้เกิดในครรภ์ไม่ได้เกิดขึ้นพร้อมกันทีเดียว แต่จะ
เกิดขึ้นไปตามลำดับ คือมนายตนะกับกายายตนะ เกิดขึ้นในขณะปฏิสนธิ จักขายตนะ โสตายนะ
ฆนายตนะ และชิวหายตนะ เกิดขึ้นในเวลาต่อมา (สัปดาห์ที่ ๑๑) (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๙๑/๒๗๓-๒๗๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๓๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๒. สฬายตนุปปัตติกถา (๑๓๗)
ปร. สัตว์ผู้อยู่ในครรภ์มารดาทำกรรมเพื่อได้จักษุอยู่ในครรภ์มารดาใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. โสตายตนะ ฯลฯ ฆานายตนะ ฯลฯ ชิวหายตนะ เกิดขึ้นแก่สัตว์ผู้อยู่
ในครรภ์มารดาในภายหลังใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. สัตว์ผู้อยู่ในครรภ์มารดาทำกรรมเพื่อได้ชิวหาอยู่ในครรภ์มารดาใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ผม ขน เล็บ ฟัน กระดูก เกิดขึ้นแก่สัตว์ผู้อยู่ในครรภ์มารดาใน
ภายหลังใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัตว์ผู้อยู่ในครรภ์มารดาทำกรรมเพื่อได้อัฐิอยู่ในครรภ์มารดาใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ท่านไม่ยอมรับว่า “ผม ขน เล็บ ฟัน กระดูก เกิดขึ้นแก่สัตว์ผู้อยู่
ในครรภ์มารดาในภายหลัง” ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า
“รูปนี้เป็นกลละ๑ก่อน
จากกลละเกิดเป็นอัพพุทะ๒

เชิงอรรถ :
๑ กลละ หมายถึงรูปที่มีลักษณะใสขนาดเท่าหยดน้ำมันที่ติดอยู่บนขนแกะ ซึ่งเหลือจากการสบัด ๓ ครั้ง
(สํ.ส.อ. ๑/๒๓๕/๒๘๔, สํ.ส.ฏีกา ๑/๒๓๕/๓๒๖)
๒ อัพพุทะ หมายถึงรูปที่เกิดถัดจากกลละนั้นไป ๗ วัน มีสีเหมือนน้ำล้างเนื้อ มีลักษณะเหมือนสีดีบุกเหลว
(สํ.ส.อ. ๑/๒๓๕/๒๘๕, สํ.ส.ฏีกา ๑/๒๓๕/๓๒๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๓๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๒. สฬายตนุปปัตติกถา (๑๓๗)
จากอัพพุทะเกิดเป็นเปสิ
จากเปสิเกิดเป็นฆนะ
จากฆนะเกิดเป็นปุ่ม ๕ ปุ่ม๑
ต่อจากนั้น ผม ขน เล็บจึงเกิดขึ้น
มารดาของสัตว์ผู้อยู่ในครรภ์นั้น
บริโภคข้าว น้ำ โภชนาหารอย่างใด
สัตว์ผู้อยู่ในครรภ์มารดานั้น
ก็ยังอัตภาพให้เป็นไปในครรภ์
ด้วยข้าว น้ำ โภชนาหารอย่างนั้น”๒
มีอยู่จริงมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. ดังนั้น ผม ขน เล็บ ฟัน กระดูก จึงเกิดขึ้นแก่สัตว์ผู้อยู่ในครรภ์
มารดาในภายหลัง

สฬายตนุปปัตติกถา จบ

เชิงอรรถ :
๑ ปุ่ม ๕ ปุ่ม หมายถึงในสัปดาห์ที่ ๕ เกิดเป็นปุ่ม ๕ ปุ่ม คือ แขน ๒ เท้า ๒ ศีรษะ ๑ (สํ.ส.อ.
๑/๒๓๕/๒๘๕)
๒ ดูเทียบ สํ.ส. (แปล) ๑๕/๒๓๕/๓๓๗-๓๓๘

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๓๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๓. อนันตรปัจจยกถา (๑๓๘)
๓. อนันตรปัจจยกถา (๑๓๘)
ว่าด้วยอนันตรปัจจัย
[๖๙๓] สก. โสตวิญญาณเกิดขึ้นในลำดับแห่งจักขุวิญญาณใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. ความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ เพื่อความเกิดขึ้นแห่งจักขุวิญญาณนั้น
ก็เพื่อความเกิดขึ้นแห่งโสตวิญญาณใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. โสตวิญญาณเกิดขึ้นในลำดับแห่งจักขุวิญญาณ แต่ท่านไม่ยอมรับว่า
“ความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ เพื่อความเกิดขึ้นแห่งจักขุวิญญาณนั้นก็เพื่อความ
เกิดขึ้นแห่งโสตวิญญาณ” ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โสตวิญญาณเกิดขึ้นแก่ผู้ไม่นึกถึงอยู่ ฯลฯ ไม่ตั้งใจอยู่ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. โสตวิญญาณเกิดขึ้นแก่ผู้นึกถึงอยู่ ฯลฯ ตั้งใจอยู่มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากโสตวิญญาณเกิดขึ้นแก่ผู้นึกถึงอยู่ ฯลฯ ตั้งใจอยู่ ท่านก็ไม่ควร
ยอมรับว่า “โสตวิญญาณเกิดขึ้นในลำดับแห่งจักขุวิญญาณ”

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอุตตราปถกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๙๓-๖๙๗/๒๗๔)
๒ เพราะมีความเห็นว่า วิญญาณ ๕ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยไม่มีจิตอื่นมาคั่นในระหว่าง ซึ่งต่างกับความ
เห็นของสกวาทีที่เห็นว่า วิญญาณ ๕ เกิดขึ้นไม่ต่อเนื่องกันโดยต้องมีอารมณ์มาคั่นในระหว่าง เช่น
เมื่อจักขุวิญญาณเกิดขึ้นจะต้องมีรูปารมณ์มาคั่น จึงจะเกิดโสตวิญญาณต่อไปได้ (อภิ.ปญฺจ.อ.
๖๙๓-๖๙๗/๒๗๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๔๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๓. อนันตรปัจจยกถา (๑๓๘)
[๖๙๔] สก. โสตวิญญาณเกิดขึ้นในลำดับแห่งจักขุวิญญาณใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขุวิญญาณเกิดขึ้นแก่ผู้มนสิการรูปนิมิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โสตวิญญาณเกิดขึ้นแก่ผู้มนสิการรูปนิมิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. จักขุวิญญาณมีรูปเป็นอารมณ์เท่านั้น ไม่มีอย่างอื่นเป็นอารมณ์ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. โสตวิญญาณมีรูปเป็นอารมณ์เท่านั้น ไม่มีอย่างอื่นเป็นอารมณ์ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เพราะอาศัยจักษุและรูป จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เพราะอาศัยจักษุและรูป โสตวิญญาณจึงเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เพราะอาศัยจักษุและรูป โสตวิญญาณจึงเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. พระสูตรที่ว่า “เพราะอาศัยจักษุและรูป โสตวิญญาณจึงเกิดขึ้น” ๑ มี
อยู่จริงใช่ไหม
ปร. ไม่มี
สก. พระสูตรที่ว่า “เพราะอาศัยจักษุและรูป จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้น” ๒ มีอยู่
จริงใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑-๒ ดูเทียบ สํ.สฬา. (แปล) ๑๘/๙๓/๙๔-๙๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๔๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๓. อนันตรปัจจยกถา (๑๓๘)
สก. หากพระสูตรที่ว่า “เพราะอาศัยจักษุกับรูป จักขุวิญญาณจึงเกิดขึ้น”๑
มีอยู่จริง ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “เพราะอาศัยจักษุและรูป โสตวิญญาณจึงเกิดขึ้น”
สก. โสตวิญญาณเกิดขึ้นในลำดับแห่งจักขุวิญญาณใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จักขุวิญญาณกับโสตวิญญาณเป็นอย่างเดียวกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๙๕] สก. ฆานวิญญาณเกิดขึ้นในลำดับแห่งโสตวิญญาณ ฯลฯ ชิวหา-
วิญญาณเกิดขึ้นในลำดับแห่งฆานวิญญาณ ฯลฯ กายวิญญาณเกิดขึ้นในลำดับแห่ง
ชิวหาวิญญาณใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ เพื่อความเกิดขึ้นแห่งชิวหาวิญญาณนั้น
ก็เพื่อความเกิดขึ้นแห่งกายวิญญาณใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กายวิญญาณเกิดขึ้นในลำดับแห่งชิวหาวิญญาณ แต่ท่านไม่ยอมรับว่า
“ความนึกถึง ฯลฯ ความตั้งใจ เพื่อความเกิดขึ้นแห่งชิวหาวิญญาณนั้นก็เพื่อ
ความเกิดขึ้นแห่งกายวิญญาณ” ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กายวิญญาณเกิดขึ้นแก่ผู้ไม่นึกถึงอยู่ ฯลฯ ไม่ตั้งใจอยู่ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ สํ.สฬา. (แปล) ๑๘/๙๓/๙๔-๙๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๔๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๓. อนันตรปัจจยกถา (๑๓๘)
สก. กายวิญญาณเกิดขึ้นแก่ผู้นึกถึงอยู่ ฯลฯ ตั้งใจอยู่มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากกายวิญญาณเกิดขึ้นแก่ผู้นึกถึงอยู่ ฯลฯ ผู้ตั้งใจอยู่ ท่านก็ไม่ควร
ยอมรับว่า “กายวิญญาณเกิดขึ้นในลำดับแห่งชิวหาวิญญาณ”
[๖๙๖] สก. กายวิญญาณเกิดขึ้นในลำดับแห่งชิวหาวิญญาณใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ชิวหาวิญญาณเกิดขึ้นแก่ผู้มนสิการรสนิมิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กายวิญญาณเกิดขึ้นแก่ผู้มนสิการรสนิมิตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ชิวหาวิญญาณมีรสเป็นอารมณ์เท่านั้น ไม่มีอย่างอื่นเป็นอารมณ์ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กายวิญญาณมีรสเป็นอารมณ์เท่านั้น ไม่มีอย่างอื่นเป็นอารมณ์ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เพราะอาศัยชิวหาและรส ชิวหาวิญญาณจึงเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เพราะอาศัยชิวหาและรส กายวิญญาณจึงเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เพราะอาศัยชิวหาและรส กายวิญญาณจึงเกิดขึ้นใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๔๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๓. อนันตรปัจจยกถา (๑๓๘)
สก. พระสูตรที่ว่า “เพราะอาศัยชิวหาและรส กายวิญญาณจึงเกิดขึ้น” ๑ มีอยู่
ใช่ไหม
ปร. ไม่มี
สก. พระสูตรที่ว่า “เพราะอาศัยชิวหาและรส ชิวหาวิญญาณจึงเกิดขึ้น”๒
มีอยู่ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. หากพระสูตรที่ว่า “เพราะอาศัยชิวหาและรส ชิวหาวิญญาณจึง
เกิดขึ้น”๓ มีอยู่จริง ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “เพราะอาศัยชิวหาและรส กาย-
วิญญาณจึงเกิดขึ้น”
สก. กายวิญญาณเกิดขึ้นในลำดับแห่งชิวหาวิญญาณใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ชิวหาวิญญาณกับกายวิญญาณเป็นอย่างเดียวกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๙๗] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “วิญญาณ ๕ เกิดขึ้นต่อเนื่องกันและกัน”
ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. บางคนที่ฟ้อนรำ ขับร้อง ประโคมดนตรี เห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิ่น
ลิ้มรสและถูกต้องโผฏฐัพพะมีอยู่มิใช่หรือ
สก. ใช่

เชิงอรรถ :
๑-๓ ดูเทียบ สํ.สฬา. (แปล) ๑๘/๙๓/๙๔-๙๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๔๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๔. อริยรูปกถา (๑๓๙)
ปร. หากบางคนที่ฟ้อนรำ ขับร้อง ประโคมดนตรี เห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิ่น
ลิ้มรสและถูกต้องโผฏฐัพพะได้มีอยู่ ดังนั้น ท่านจึงควรยอมรับว่า “วิญญาณ ๕
เกิดขึ้นต่อเนื่องกันและกัน”
อนันตรปัจจยกถา จบ

๔. อริยรูปกถา (๑๓๙)
ว่าด้วยอริยรูป
[๖๙๘] สก. อริยรูป๑อาศัยมหาภูตรูปใช่ไหม
ปร.๒ ใช่๓
สก. อริยรูปเป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มหาภูตรูปเป็นกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มหาภูตรูปเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อริยรูปเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อริยรูปอาศัยมหาภูตรูปใช่ไหม
ปร. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ อริยรูป แปลว่ารูปของพระอริยะหรือรูปที่เป็นอริยะ ในที่นี้หมายถึงสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ ที่นับ
เนื่องในอริยมรรค (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๙๘-๖๙๙/๒๗๕)
๒ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอุตตราปถกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๙๘-๖๙๙/๒๗๕)
๓ เพราะมีความเห็นว่า อริยรูปจัดเป็นอุปาทายรูป เพราะอาศัยมหาภูตรูป ๔ ซึ่งต่างกับความเห็นของ
สกวาทีที่เห็นว่า อริยรูป คือสัมมาวาจาและสัมมากัมมันตะไม่จัดเป็นรูป (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๙๘-๖๙๙/๒๗๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๔๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๔. อริยรูปกถา (๑๓๙)
สก. อริยรูปไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ ไม่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์ ไม่เป็น
อารมณ์ของคันถะ ไม่เป็นอารมณ์ของโอฆะ ไม่เป็นอารมณ์ของโยคะ ไม่เป็นอารมณ์
ของนิวรณ์ ไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ไม่เป็น
อารมณ์ของสังกิเลสใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มหาภูตรูปไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ ฯลฯ ไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส
ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มหาภูตรูปเป็นอารมณ์ของอาสวะ เป็นอารมณ์ของสังโยชน์ ฯลฯ
เป็นอารมณ์ของสังกิเลสใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อริยรูปเป็นอารมณ์ของอาสวะ เป็นอารมณ์ของสังโยชน์ เป็นอารมณ์ของ
สังกิเลสใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๖๙๙] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “อริยรูปอาศัยมหาภูตรูป” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย รูปอย่างใดอย่าง
หนึ่ง คือ มหาภูตรูป ๔ และรูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔”๑ มีอยู่จริงมิใช่หรือ
สก. ใช่
ปร. ดังนั้น อริยรูปจึงอาศัยมหาภูตรูป

อริยรูปกถา จบ

เชิงอรรถ :
๑ ดูเทียบ ม.มู. (แปล) ๑๒/๓๔๗/๓๗๗-๓๘๐

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๔๖ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๕. อัญโญอนุสโยติกถา (๑๔๐)
๕. อัญโญอนุสโยติกถา (๑๔๐)
ว่าด้วยอนุสัยเป็นคนละอย่างกัน(กับปริยุฏฐานกิเลส)
[๗๐๐] สก. กามราคานุสัยกับกามราคปริยุฏฐานเป็นคนละอย่างกันใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. กามราคะกับกามราคปริยุฏฐานเป็นคนละอย่างกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. กามราคะกับกามราคปริยุฏฐานเป็นอย่างเดียวกันใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. กามราคานุสัยกับกามราคปริยุฏฐานเป็นอย่างเดียวกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ปฏิฆานุสัยกับปฏิฆปริยุฏฐานเป็นคนละอย่างกันใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ปฏิฆะกับปฏิฆปริยุฏฐานเป็นคนละอย่างกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ปฏิฆะกับปฏิฆปริยุฏฐานเป็นอย่างเดียวกันใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ปฏิฆานุสัยกับปฏิฆปริยุฏฐานเป็นอย่างเดียวกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. มานานุสัยกับมานปริยุฏฐานเป็นคนละอย่างกันใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มานะกับมานปริยุฏฐานเป็นคนละอย่างกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอันธกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๗๐๐-๗๐๑/๒๗๕)
๒ เพราะมีความเห็นว่า เมื่อจิตที่เป็นอกุศลหรืออัพยากฤตกำลังเป็นไป ปุถุชนชื่อว่าเป็นผู้มีอนุสัย แต่ไม่มี
ปริยุฏฐานกิเลส ดังนั้น อนุสัยกับปริยุฏฐานกิเลสจึงเป็นคนละอย่างกัน (อภิ.ปญฺจ.อ. ๗๐๐-๗๐๑/๒๗๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๔๗ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๕. อัญโญอนุสโยติกถา (๑๔๐)
สก. มานะกับมานปริยุฏฐานเป็นอย่างเดียวกันใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. มานานุสัยกับมานปริยุฏฐานเป็นอย่างเดียวกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ทิฏฐานุสัยกับทิฏฐิปริยุฏฐานเป็นคนละอย่างกันใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ทิฏฐิกับทิฏฐิปริยุฏฐานเป็นคนละอย่างกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ทิฏฐิกับทิฏฐิปริยุฏฐานเป็นอย่างเดียวกันใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ทิฏฐานุสัยกับทิฏฐิปริยุฏฐานเป็นอย่างเดียวกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. วิจิกิจฉานุสัยกับวิจิกิจฉาปริยุฏฐานเป็นคนละอย่างกันใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. วิจิกิจฉากับวิจิกิจฉาปริยุฏฐานเป็นคนละอย่างกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. วิจิกิจฉากับวิจิกิจฉาปริยุฏฐานเป็นอย่างเดียวกันใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. วิจิกิจฉานุสัยกับวิจิกิจฉาปริยุฏฐานเป็นอย่างเดียวกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ภวราคานุสัยกับภวราคปริยุฏฐานเป็นคนละอย่างกันใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ภวราคะกับภวราคปริยุฏฐานเป็นคนละอย่างกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๔๘ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๕. อัญโญอนุสโยติกถา (๑๔๐)
สก. ภวราคะกับภวราคปริยุฏฐานเป็นอย่างเดียวกันใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ภวราคานุสัยกับภวราคปริยุฏฐานเป็นอย่างเดียวกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อวิชชานุสัยกับอวิชชาปริยุฏฐานเป็นคนละอย่างกันใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อวิชชากับอวิชชาปริยุฏฐานเป็นคนละอย่างกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อวิชชากับอวิชชาปริยุฏฐานเป็นอย่างเดียวกันใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อวิชชานุสัยกับอวิชชาปริยุฏฐานเป็นอย่างเดียวกันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๗๐๑] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “อนุสัยกับปริยุฏฐานกิเลสเป็นคนละอย่างกัน”
ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. ปุถุชน เมื่อจิตที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นไปอยู่ ท่านยอมรับว่า
“มีอนุสัย” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. ท่านยอมรับว่า “ถูกปริยุฏฐานกิเลสกลุ้มรุม” ใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น อนุสัยกับปริยุฏฐานกิเลสจึงเป็นคนละอย่างกัน
ปร. ปุถุชน เมื่อจิตที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นไปอยู่ ท่านยอมรับว่า
“มีราคะ” ใช่ไหม
สก. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๔๙ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๖. ปริยุฏฐานังจิตตวิปปยุตตันติกถา (๑๔๑)
ปร. ท่านยอมรับว่า “ถูกปริยุฏฐานกิเลสกลุ้มรุม” ใช่ไหม
สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ปร. ดังนั้น ราคะกับปริยุฏฐานกิเลสจึงเป็นคนละอย่างกัน
อัญโญอนุสโยติกถา จบ

๖. ปริยุฏฐานังจิตตวิปปยุตตันติกถา (๑๔๑)
ว่าด้วยปริยุฏฐานกิเลสวิปปยุตจากจิต
[๗๐๒] สก. ปริยุฏฐานกิเลสวิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. ปริยุฏฐานกิเลสเป็นรูป เป็นนิพพาน เป็นจักขายตนะ ฯลฯ เป็น
โผฏฐัพพายตนะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ปริยุฏฐานกิเลสวิปปยุตจากจิตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. จิตมีราคะ มีโทสะ มีโมหะ ฯลฯ จิตเป็นอกุศล จิตเศร้าหมองไม่มีใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. จิตมีราคะ มีโทสะ มีโมหะ ฯลฯ จิตเป็นอกุศล จิตเศร้าหมองมีอยู่
มิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากจิตมีราคะ มีโทสะ มีโมหะ ฯลฯ จิตเป็นอกุศล จิตเศร้าหมองมีอยู่
ท่านก็ไม่ควรยอมรับว่า “ปริยุฏฐานกิเลสวิปปยุตจากจิต”

ปริยุฏฐานังจิตตวิปปยุตตันติกถา จบ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอันธกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๗๐๒/๒๗๖)
๒ เพราะมีความเห็นว่า ปริยุฏฐานกิเลสวิปปยุตจากจิต ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า ปริยุฏฐาน-
กิเลสสัมปยุตด้วยจิต (อภิ.ปญฺจ.อ. ๗๐๒/๒๗๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๕๐ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๗. ปริยาปันนกถา (๑๔๒)
๗. ปริยาปันนกถา (๑๔๒)
ว่าด้วยธรรมที่นับเนื่อง(วัฏฏทุกข์)
[๗๐๓] สก. รูปราคะนอนเนื่องอยู่ในรูปธาตุ นับเนื่องในรูปธาตุใช่ไหม
ปร.๑ ใช่๒
สก. รูปราคะเป็นเครื่องแสวงหาสมาบัติ เป็นเครื่องแสวงหาอุบัติ เป็น
เครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน สหรคต เกิดร่วม ระคน สัมปยุต เกิดพร้อมกัน
ดับพร้อมกัน มีวัตถุอย่างเดียวกัน มีอารมณ์อย่างเดียวกันกับจิตดวงที่เป็นเครื่องแสวง
หาสมาบัติ ดวงที่เป็นเครื่องแสวงหาอุบัติ ดวงที่เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปราคะไม่เป็นเครื่องแสวงหาสมาบัติ ไม่เป็นเครื่องแสวงหาอุบัติ ไม่เป็น
เครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน สหรคต เกิดร่วม ระคน สัมปยุต เกิดพร้อมกัน
ดับพร้อมกัน มีวัตถุอย่างเดียวกัน มีอารมณ์อย่างเดียวกันกับจิตดวงที่ไม่เป็น
เครื่องแสวงหาสมาบัติ ดวงที่ไม่เป็นเครื่องแสวงหาอุบัติ ดวงที่ไม่เป็นเครื่องอยู่เป็น
สุขในปัจจุบันมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากรูปราคะไม่เป็นเครื่องแสวงหาสมาบัติ ไม่เป็นเครื่องแสวงหาอุบัติ
ไม่เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ฯลฯ มีอารมณ์อย่างเดียวกัน ฯลฯ ท่านก็ไม่
ควรยอมรับว่า “รูปราคะนอนเนื่องอยู่ในรูปธาตุ นับเนื่องในรูปธาตุ” ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอันธกะและนิกายสมิติยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๗๐๓/๒๗๖)
๒ เพราะมีความเห็นว่า เนื่องจากกามราคะนอนเนื่องในกามธาตุ จึงชื่อว่านับเนื่องในกามธาตุ ฉะนั้น รูปราคะ
และอรูปราคะ ซึ่งนอนเนื่องในรูปธาตุและอรูปธาตุตามลำดับ จึงชื่อว่านับเนื่องในรูปธาตุและอรูปธาตุด้วย
ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า ราคะทุกชนิดนับเนื่องในกามธาตุ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๗๐๓/๒๗๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๕๑ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๗. ปริยาปันนกถา (๑๔๒)
สก. รูปราคะนอนเนื่องอยู่ในรูปธาตุ นับเนื่องในรูปธาตุใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัททราคะนอนเนื่องอยู่ในสัททธาตุ นับเนื่องในสัททธาตุใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. รูปราคะนอนเนื่องอยู่ในรูปธาตุ นับเนื่องในรูปธาตุใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. คันธราคะ ฯลฯ รสราคะ ฯลฯ โผฏฐัพพราคะ นอนเนื่องอยู่ใน
โผฏฐัพพธาตุ นับเนื่องในโผฏฐัพพธาตุใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัททราคะนอนเนื่องอยู่ในสัททธาตุ แต่ท่านไม่ยอมรับว่า “นับเนื่องใน
สัททธาตุ” ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปราคะนอนเนื่องอยู่ในรูปธาตุ แต่ท่านไม่ยอมรับว่า “นับเนื่องใน
รูปธาตุ” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. คันธราคะ ฯลฯ รสราคะ ฯลฯ โผฏฐัพพราคะ นอนเนื่องอยู่ใน
โผฏฐัพพธาตุ แต่ท่านไม่ยอมรับว่า “นับเนื่องในโผฏฐัพพธาตุ” ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. รูปราคะนอนเนื่องอยู่ในรูปธาตุ แต่ท่านไม่ยอมรับว่า “นับเนื่องใน
รูปธาตุ” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๕๒ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๗. ปริยาปันนกถา (๑๔๒)
[๗๐๔] สก. อรูปราคะนอนเนื่องอยู่ในอรูปธาตุ นับเนื่องในอรูปธาตุใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อรูปราคะเป็นเครื่องแสวงหาสมาบัติ เป็นเครื่องแสวงหาอุบัติ เป็น
เครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน สหรคต เกิดร่วม ระคน สัมปยุต เกิดพร้อมกัน ดับ
พร้อมกัน มีวัตถุอย่างเดียวกัน มีอารมณ์อย่างเดียวกันกับจิตดวงที่เป็นเครื่องแสวง
หาสมาบัติ ดวงที่เป็นเครื่องแสวงหาอุบัติ ดวงที่เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบันใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อรูปราคะไม่เป็นเครื่องแสวงหาสมาบัติ ไม่เป็นเครื่องแสวงหาอุบัติ ไม่
เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ฯลฯ มีอารมณ์อย่างเดียวกันกับจิตดวงที่ไม่เป็น
เครื่องแสวงหาสมาบัติมิใช่หรือ
ปร. ใช่
สก. หากอรูปราคะไม่เป็นเครื่องแสวงหาสมาบัติ ไม่เป็นเครื่องแสวงหาอุบัติ
ฯลฯ มีอารมณ์อย่างเดียวกัน ท่านก็ไม่ยอมรับว่า “อรูปราคะนอนเนื่องอยู่ใน
อรูปธาตุ นับเนื่องในอรูปธาตุ”
สก. อรูปราคะนอนเนื่องอยู่ในอรูปธาตุ นับเนื่องในอรูปธาตุใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. สัททราคะนอนเนื่องอยู่ในสัททธาตุ นับเนื่องในสัททธาตุใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. อรูปราคะนอนเนื่องอยู่ในอรูปธาตุ นับเนื่องในอรูปธาตุใช่ไหม
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๕๓ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๗. ปริยาปันนกถา (๑๔๒)
สก. คันธราคะ ฯลฯ รสราคะ ฯลฯ โผฏฐัพพราคะ นอนเนื่องอยู่ใน
โผฏฐัพพธาตุ นับเนื่องในโผฏฐัพพธาตุใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. สัททราคะนอนเนื่องอยู่ในสัททธาตุ แต่ท่านไม่ยอมรับว่า “นับเนื่องใน
สัททธาตุ” ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อรูปราคะนอนเนื่องอยู่ในอรูปธาตุ แต่ท่านไม่ยอมรับว่า “นับเนื่องใน
อรูปธาตุ” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. คันธราคะ ฯลฯ รสราคะ ฯลฯ โผฏฐัพพราคะ นอนเนื่องอยู่ใน
โผฏฐัพพธาตุ แต่ท่านไม่ยอมรับว่า “นับเนื่องในโผฏฐัพพธาตุ” ใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. อรูปราคะนอนเนื่องอยู่ในอรูปธาตุ แต่ท่านไม่ยอมรับว่า “นับเนื่องใน
อรูปธาตุ” ใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๗๐๕] ปร. ท่านไม่ยอมรับว่า “รูปราคะนอนเนื่องอยู่ในรูปธาตุ นับเนื่องใน
รูปธาตุ อรูปราคะนอนเนื่องอยู่ในอรูปธาตุ นับเนื่องในอรูปธาตุ” ใช่ไหม
สก. ใช่
ปร. กามราคะนอนเนื่องอยู่ในกามธาตุ นับเนื่องในกามธาตุมิใช่หรือ
สก. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๕๔ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๘. อัพยากตกถา (๑๔๓)
ปร. หากกามราคะ นอนเนื่องอยู่ในกามธาตุ นับเนื่องในกามธาตุ ดังนั้น
ท่านจึงควรยอมรับว่า “รูปราคะนอนเนื่องอยู่ในรูปธาตุ นับเนื่องในรูปธาตุ อรูปราคะ
นอนเนื่องอยู่ในอรูปธาตุ นับเนื่องในอรูปธาตุ”
ปริยาปันนกถา จบ

๘. อัพยากตกถา (๑๔๓)
ว่าด้วยอัพยากฤต
[๗๐๖] สก. ทิฏฐิเป็นอัพยากฤต๑ใช่ไหม
ปร.๒ ใช่
สก. ทิฏฐิเป็นอัพยากฤตฝ่ายวิบาก เป็นอัพยากฤตฝ่ายกิริยา เป็นรูป เป็น
นิพพาน เป็นจักขายตนะ ฯลฯ เป็นโผฏฐัพพายตนะใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ทิฏฐิเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ผัสสะที่สัมปยุตด้วยทิฏฐิเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ

เชิงอรรถ :
๑ คำว่า อัพยากฤต มี ๒ ความหมาย คือ ๑. อัพยากฤตที่มีความหมายว่าไม่ให้ผล ได้แก่ อัพยากฤต ๔ อย่าง
คือ (๑) วิปากอัพยากฤต (๒) กิริยาอัพยากฤต (๓) รูปอัพยากฤต (๔) นิพพานอัพยากฤต (ตามแนวพระ
อภิธรรม) ๒. อัพยากฤตที่มีความหมายว่าไม่พยากรณ์ เช่น การไม่พยากรณ์ว่า โลกเที่ยง โลกไม่เที่ยง เป็นต้น
(ตามแนวพระสูตร) ในที่นี้ปรวาทีใช้คำว่าอัพยากฤต ในความหมายตามแนวพระสูตร ส่วนสกวาทีใช้
ความหมายตามแนวพระอภิธรรม (อภิ.ปญฺจ.อ. ๗๐๖/๒๗๗)
๒ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอันธกะและนิกายอุตตราปถกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๗๐๖/๒๗๗)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๕๕ }


พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑๔. จุททสมวรรค] ๘. อัพยากตกถา (๑๔๓)
สก. ทิฏฐิเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. เวทนาที่สัมปยุตด้วยทิฏฐิ ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ จิตที่
สัมปยุตด้วยทิฏฐิ เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ผัสสะที่สัมปยุตด้วยทิฏฐิเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ทิฏฐิเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. เวทนาที่สัมปยุตด้วยทิฏฐิ ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ จิตที่
สัมปยุตด้วยทิฏฐิ เป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ทิฏฐิเป็นอกุศลใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๗๐๗] สก. ทิฏฐิเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
ปร. ใช่
สก. ทิฏฐิไม่มีผลไม่มีวิบากใช่ไหม
ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สก. ทิฏฐิมีผลมีวิบากมิใช่หรือ
ปร. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า :๗๕๖ }


>>>>> หน้าต่อไป >>>>>





eXTReMe Tracker