ค้นว่าอยู่เล่มใด แล้วกด [ctrl]+f หรือใช้คำสั่งของเครื่องหาตำแหน่งในเล่มอีกทีนะครับ



จัดรูปหน้าใหม่
เพื่อความสะดวก และสวยงาม
(เฉพาะหน้าจอใหญ่ เช่น คอมพิวเตอร์)
กรุณาคลิก จัดรูปหน้าใหม่
เพื่อให้กรอบ
ค้นข้อความ ปรากฎที่ด้านซ้ายของหน้า

พระไตรปิฎกภาษาไทย
ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๔๕ เล่ม (ปกสีฟ้า)
ทั้งออนไลน์และออฟไลน์
ที่มาของข้อมูล : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับ มจร.
MCUTRAI Version 1.0

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๖-๑ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๓ ธาตุกถา ปุคคลบัญญัติ

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา อุทเทส ๑. นยมาติกา

พระอภิธรรมปิฎก
ธาตุกถา
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

อุทเทส๑
๑. นยมาติกา๒ (๑๔ นัย)


[๑] ๑. สงฺคโห อสงฺคโห สภาวธรรมที่สงเคราะห์๓เข้าได้ สภาวธรรมที่
สงเคราะห์เข้าไม่ได้ (๖-๑๗๐)
๒. สงฺคหิเตน อสงฺคหิตํ สภาวธรรมที่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับสภาวธรรมที่
สงเคราะห์เข้าได้ (๑๗๑-๑๗๘)
๓. อสงฺคหิเตน สงฺคหิตํ สภาวธรรมที่สงเคราะห์เข้าได้กับสภาวธรรมที่
สงเคราะห์เข้าไม่ได้ (๑๗๙-๑๙๐)
๔. สงฺคหิเตน สงฺคหิตํ สภาวธรรมที่สงเคราะห์เข้าได้กับสภาวธรรมที่
สงเคราะห์เข้าได้ (๑๙๑-๑๙๒)


เชิงอรรถ :
๑ อุทเทส คือ หัวข้อธรรมที่ท่านยกขึ้นไว้เป็นบทตั้ง (อภิ.ปญฺจ.อ. ๑/๑)
๒ นยมาติกา คือ หัวข้อธรรมที่กล่าวถึงการจำแนกขันธ์ ๕ เป็นต้น แบ่งออกเป็นนัยต่าง ๆ กัน มี ๑๔ นัย
เรียกมูลมาติกาก็ได้ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๑/๑)
๓ สงเคราะห์ หมายถึง การรวบรวม การประมวล มี ๔ อย่าง คือ (๑) ชาติสงเคราะห์ (การรวบรวมสิ่งที่
เสมอกันโดยชาติ) (๒) สัญชาติสงเคราะห์ (การรวบรวมสิ่งที่มีแหล่งเกิดจากที่เดียวกัน) (๓) กิริยาสงเคราะห์
(การรวบรวมสิ่งที่มีการกระทำร่วมกัน) (๔) คณนสงเคราะห์ (การรวบรวมสิ่งที่มีจำนวนเท่ากัน) แต่ในที่นี้
หมายเอาคณนสงเคราะห์ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕/๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา อุทเทส ๑. นยมาติกา

๕. อสงฺคหิเตน อสงฺคหิตํ สภาวธรรมที่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับสภาวธรรม
ที่สงเคราะห์เข้าไม่ได้ (๑๙๓-๒๒๗)
๖. สมฺปโยโค วิปฺปโยโค สภาวธรรมที่สัมปยุต(ประกอบเข้าได้) สภาวธรรม
ที่วิปปยุต(ประกอบเข้าไม่ได้) (๒๒๘-๓๐๕)
๗. สมฺปยุตฺเตน วิปฺปยุตฺตํ สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสภาวธรรมที่สัมปยุต
(๓๐๖-๓๑๖)
๘. วิปฺปยุตฺเตน สมฺปยุตฺตํ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่วิปปยุต
(๓๑๗-๓๑๘)
๙. สมฺปยุตฺเตน สมฺปยุตฺตํ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สัมปยุต
(๓๑๙-๓๕๒)
๑๐. วิปฺปยุตฺเตน วิปฺปยุตฺตํ สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสภาวธรรมที่วิปปยุต
(๓๕๓-๔๐๘)

๑๑. สงฺคหิเตน สมฺปยุตฺตํ วิปฺปยุตฺตํ สภาวธรรมที่สงเคราะห์เข้าได้สัมปยุต
และวิปปยุต(จากขันธ์ อายตนะ และธาตุ) (๔๐๙-
๔๑๖)
๑๒. สมฺปยุตฺเตน สงฺคหิตํ อสงฺคหิตํ สภาวธรรมที่สัมปยุตสงเคราะห์เข้าได้
และสงเคราะห์เข้าไม่ได้(กับขันธ์ อายตนะ และ
ธาตุ) (๔๑๗-๔๔๗)
๑๓. อสงฺคหิเตน สมฺปยุตฺตํ วิปฺปยุตฺตํ สภาวธรรมที่สงเคราะห์เข้าไม่ได้
สัมปยุตและวิปปยุต(จากขันธ์ อายตนะ และ
ธาตุ) (๔๔๘-๔๕๕)
๑๔. วิปฺปยุตฺเตน สงฺคหิตํ อสงฺคหิตํ สภาวธรรมที่วิปปยุตสงเคราะห์เข้า
ได้และสงเคราะห์เข้าไม่ได้(กับขันธ์ อายตนะ
และธาตุ) (๔๕๖-๕๑๘)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา อุทเทส ๒. อัพภันตรมาติกา
๒. อัพภันตรมาติกา๑ (๒๒ นัย)

[๒] ๑. ปญฺจกฺขนฺธา ขันธ์ ๕
๒. ทฺวาทสายตนานิ อายตนะ ๑๒
๓. อฏฺฐารส ธาตุโย ธาตุ ๑๘
๔. จตฺตาริ สจฺจานิ สัจจะ ๔
๕. พาวีสตินฺทฺริยานิ อินทรีย์ ๒๒
๖. ปฏิจฺจสมุปฺปาโท ปฏิจจสมุปบาท
๗. จตฺตาโร สติปฏฺฐานา สติปัฏฐาน ๔
๘. จตฺตาโร สมฺมปฺปธานา สัมมัปปธาน ๔
๙. จตฺตาโร อิทฺธิปาทา อิทธิบาท ๔
๑๐. จตฺตาริ ฌานานิ ฌาน ๔
๑๑. จตสฺโส อปฺปม�ฺ�าโย อัปปมัญญา ๔
๑๒. ปญฺจินฺทฺริยานิ อินทรีย์ ๕
๑๓. ปญฺจ พลานิ พละ ๕
๑๔. สตฺต โพชฺฌงฺคา โพชฌงค์ ๗
๑๕. อริโย อฏฺฐงฺคิโก มคฺโค อริยมรรคมีองค์ ๘
๑๖. ผสฺโส ผัสสะ
๑๗. เวทนา เวทนา
๑๘. ส�ฺ�า สัญญา
๑๙. เจตนา เจตนา
๒๐. จิตฺตํ จิต
๒๑. อธิโมกฺโข อธิโมกข์
๒๒. มนสิกาโร มนสิการ


เชิงอรรถ :
๑ อัพภันตรมาติกา คือ หัวข้อสภาวธรรม ๑๒๕ บทมีขันธ์ ๕ เป็นต้นของคัมภีร์ธาตุกถา แต่ที่พระผู้มี
พระภาคทรงยกขึ้นแสดงตามนัยทั้ง ๑๔ มีจำนวน ๑๐๕ บท เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปกิณณกมาติกาก็ได้
(อภิ.ปญฺจ.อ. ๒/๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา อุทเทส ๕. พาหิรมาติกา
๓. นยมุขมาติกา๑ (๔ นัย)

[๓] ๑. ตีหิ สงฺคโห สภาวธรรมที่สงเคราะห์เข้าได้โดยสภาวธรรม ๓ ประการ
๒. ตีหิ อสงฺคโห สภาวธรรมที่สงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยสภาวธรรม ๓ ประการ
๓. จตูหิ สมฺปโยโค สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนามขันธ์ ๔

๔. จตูหิ วิปฺปโยโค สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนามขันธ์ ๔

๔. ลักขณมาติกา๒ (๒ ลักษณะ)

[๔] ๑. สภาโค สภาวธรรมที่มีส่วนเสมอกัน
๒. วิสภาโค สภาวธรรมที่มีส่วนไม่เสมอกัน

๕. พาหิรมาติกา๓
[๕] ธัมมสังคณีแม้ทั้งหมดเป็นมาติกาแห่งธาตุกถา

เชิงอรรถ :
๑ นยมุขมาติกา คือหัวข้อธรรมที่ตั้งไว้เพื่อแสดงเป็นตัวอย่างได้ตามความเหมาะสมซึ่งมี ๑๔ นัย (อภิ.ปญฺจ.อ.
๓/๒)
๒ ลักขณมาติกา คือหัวข้อธรรมที่มีการสงเคราะห์เข้าได้กับธรรมเหล่าอื่นที่มีลักษณะเหมือนกัน แต่ไม่มี
การสงเคราะห์เข้ากับธรรมที่มีลักษณะแตกต่างจากตน (อภิ.ปญฺจ.อ. ๔/๒)
๓ พาหิรมาติกา คือหัวข้อธรรมที่นำมาจากคัมภีร์อื่น นั่นคือ ธัมมสังคณี ได้แก่ จากติกมาติกา ๖๖ บท
และทุกมาติกา ๒๐๐ บท (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕/๒-๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๑. ขันธ์
๑. ปฐมนัย
๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส
๑. ขันธ์
เอกมูลกนัย
[๖] รูปขันธ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
รูปขันธ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๗] เวทนาขันธ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
เวทนาขันธ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๘] สัญญาขันธ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สัญญาขันธ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๙] สังขารขันธ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สังขารขันธ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๑. ขันธ์
[๑๐] วิญญาณขันธ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิญญาณขันธ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑
เอกมูลกนัย จบ

ทุกมูลกนัย
[๑๑] รูปขันธ์และเวทนาขันธ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
รูปขันธ์และเวทนาขันธ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๑๒] รูปขันธ์และสัญญาขันธ์ ฯลฯ สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑
และธาตุ ๑๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๑๓] รูปขันธ์และสังขารขันธ์ ฯลฯ สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑
และธาตุ ๑๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๑๔] รูปขันธ์และวิญญาณขันธ์ ฯลฯ สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๒
และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ ไม่มีอายตนะและธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์
เข้าไม่ได้
ทุกมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๑. ขันธ์
ติกมูลกนัย
[๑๕] รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ และสัญญาขันธ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์
อายตนะ และธาตุเท่าไร
รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ และสัญญาขันธ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓
อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๑๖] รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ และสังขารขันธ์ ฯลฯ สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓
อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๑๗] รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ฯลฯ สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓
อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ ไม่มีอายตนะและธาตุเหล่าไหนที่จะ
สงเคราะห์เข้าไม่ได้
ติกมูลกนัย จบ

จตุกกนัย
[๑๘] รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ และสังขารขันธ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์
อายตนะ และธาตุเท่าไร
รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ และสังขารขันธ์สงเคราะห์เข้าได้กับ
ขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๒. อายตนะ
[๑๙] รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ฯลฯ สงเคราะห์
เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ ไม่มีอายตนะและธาตุเหล่าไหนที่จะ
สงเคราะห์เข้าไม่ได้
จตุกกมูลกนัย จบ

ปัญจกมูลกนัย
[๒๐] รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๒๑] ขันธ์ ๕ สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ขันธ์ ๕ สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
ปัญจกมูลกนัย จบ

๒. อายตนะ
เอกมูลกนัย
[๒๒] จักขายตนะสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
จักขายตนะสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๒. อายตนะ
[๒๓] โสตายตนะ ฆานายตนะ ชิวหายตนะ กายายตนะ รูปายตนะ สัททายตนะ
คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ สงเคราะห์เข้าได้กับ
ขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๒๔] มนายตนะสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑
[๒๕] ธัมมายตนะ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์
เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
เอกมูลกนัย จบ

ทุกมูลกนัย
[๒๖] จักขายตนะและโสตายตนะสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๒๗] จักขายตนะและฆานายตนะ จักขายตนะและชิวหายตนะ จักขายตนะ
และกายายตนะ จักขายตนะและรูปายตนะ จักขายตนะและสัททายตนะ
จักขายตนะและคันธายตนะ จักขายตนะและรสายตนะ จักขายตนะและ
โผฏฐัพพายตนะสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุ เท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา ๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๓. ธาตุ
[๒๘] จักขายตนะและมนายตนะสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐
[๒๙] จักขายตนะและธัมมายตนะ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์
แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
ทุกมูลกนัย จบ

ทวาทสกนัย
[๓๐] อายตนะ ๑๒ สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
อายตนะ ๑๒ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์
เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
ทวาทสกนัย จบ

๓. ธาตุ
เอกมูลกนัย
[๓๑] จักขุธาตุสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
จักขุธาตุสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา ๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๓. ธาตุ
[๓๒] โสตธาตุ ฆานธาตุ ชิวหาธาตุ กายธาตุ รูปธาตุ สัททธาตุ คันธธาตุ
รสธาตุ โผฏฐัพพธาตุ จักขุวิญญาณธาตุ โสตวิญญาณธาตุ ฆาน-
วิญญาณธาตุ ชิวหาวิญญาณธาตุ กายวิญญาณธาตุ มโนธาตุ
มโนวิญญาณธาตุสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๓๓] ธัมมธาตุ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์
เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
เอกมูลกนัย จบ

ทุกมูลกนัย
[๓๔] จักขุธาตุและโสตธาตุสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๓๕] จักขุธาตุและฆานธาตุ จักขุธาตุและชิวหาธาตุ จักขุธาตุและกายธาตุ
จักขุธาตุและรูปธาตุ จักขุธาตุและสัททธาตุ จักขุธาตุและคันธธาตุ
จักขุธาตุและรสธาตุ จักขุธาตุและโผฏฐัพพธาตุสงเคราะห์เข้าได้กับ
ขันธ์ ๑ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๓๖] จักขุธาตุและจักขุวิญญาณธาตุสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๒
และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๔. สัจจะ
[๓๗] จักขุธาตุและโสตวิญญาณธาตุ จักขุธาตุและฆานวิญญาณธาตุ จักขุธาตุ
และชิวหาวิญญาณธาตุ จักขุธาตุและกายวิญญาณธาตุ จักขุธาตุและ
มโนธาตุ จักขุธาตุและมโนวิญญาณธาตุสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒
อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๓๘] จักขุธาตุและธัมมธาตุ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
ทุกมูลกนัย จบ

อัฏฐารสกนัย
[๓๙] ธาตุ ๑๘ สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ธาตุ ๑๘ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์
เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
อัฏฐารสกนัย จบ

๔. สัจจะ
เอกมูลกนัย
[๔๐] ทุกขสัจสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ทุกขสัจสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๔. สัจจะ
[๔๑] สมุทยสัจและมัคคสัจสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๒] นิโรธสัจสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์เหล่าไหนเลย แต่สงเคราะห์เข้าได้กับ
อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
เอกมูลกนัย จบ

ทุกมูลกนัย
[๔๓] ทุกขสัจและสมุทยสัจสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และ
ธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๔๔] ทุกขสัจและมัคคสัจสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และ
ธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๔๕] ทุกขสัจและนิโรธสัจ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
ทุกมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๔. สัจจะ
ติกมูลกนัย
[๔๖] ทุกขสัจ สมุทยสัจ และมัคคสัจสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒
และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๔๗] ทุกขสัจ สมุทยสัจ และนิโรธสัจ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออก
จากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
ติกมูลกนัย จบ

จตุกกมูลกนัย
[๔๘] ทุกขสัจ สมุทยสัจ มัคคสัจ และนิโรธสัจ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง
ออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๔๙] สัจจะ ๔ สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สัจจะ ๔ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้า
ได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
จตุกกมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๕. อินทรีย์
๕. อินทรีย์
เอกมูลกนัย
[๕๐] จักขุนทรีย์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
จักขุนทรีย์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๕๑] โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๕๒] มนินทรีย์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑
[๕๓] ชีวิตินทรีย์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๕๔] สุขินทรีย์ ทุกขินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ โทมนัสสินทรีย์ อุเปกขินทรีย์
สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์
อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์ อัญญาตาวินทรีย์สงเคราะห์
เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
เอกมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๕. อินทรีย์
ทุกมูลกนัย
[๕๕] จักขุนทรีย์และโสตินทรีย์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๕๖] จักขุนทรีย์และฆานินทรีย์ จักขุนทรีย์และชิวหินทรีย์ จักขุนทรีย์และ
กายินทรีย์ จักขุนทรีย์และอิตถินทรีย์ จักขุนทรีย์และปุริสินทรีย์
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๕๗] จักขุนทรีย์และมนินทรีย์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐
[๕๘] จักขุนทรีย์และชีวิตินทรีย์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๕๙] จักขุนทรีย์และสุขินทรีย์ จักขุนทรีย์และทุกขินทรีย์ จักขุนทรีย์และ
โสมนัสสินทรีย์ จักขุนทรีย์และโทมนัสสินทรีย์ จักขุนทรีย์และ
อุเปกขินทรีย์ จักขุนทรีย์และสัทธินทรีย์ จักขุนทรีย์และวิริยินทรีย์
จักขุนทรีย์และสตินทรีย์ จักขุนทรีย์และสมาธินทรีย์ จักขุนทรีย์และ
ปัญญินทรีย์ จักขุนทรีย์และอนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ จักขุนทรีย์
และอัญญินทรีย์ จักขุนทรีย์และอัญญาตาวินทรีย์สงเคราะห์เข้าได้กับ
ขันธ์ ๒ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๖. ปฏิจจสมุปบาทเป็นต้น
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
ทุกมูลกนัย จบ

พาวีสติมูลกนัย
[๖๐] อินทรีย์ ๒๒ สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
อินทรีย์ ๒๒ สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๗ และธาตุ ๑๓
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๕ และธาตุ ๕
พาวีสติมูลกนัย จบ

๖. ปฏิจจสมุปบาทเป็นต้น
[๖๑] อวิชชาสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๖๒] สังขารที่เกิดเพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัยสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ
๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๖๓] วิญญาณที่เกิดเพราะมีสังขารเป็นปัจจัยสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ
๑ และธาตุ ๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๖. ปฏิจจสมุปบาทเป็นต้น
[๖๔] นามรูปที่เกิดเพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัยสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔
อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๖๕] สฬายตนะที่เกิดเพราะมีนามรูปเป็นปัจจัยสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒
อายตนะ ๖ และธาตุ ๑๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๖ และธาตุ ๖
[๖๖] ผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย เวทนาที่เกิดเพราะมีผัสสะ
เป็นปัจจัย ตัณหาที่เกิดเพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย อุปาทานที่เกิดเพราะ
มีตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพที่เกิดเพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัยสงเคราะห์
เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๖๗] อุปปัตติภพ กามภพ สัญญาภพ ปัญจโวการภพสงเคราะห์เข้าได้กับ
ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์เหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้ แต่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับ
อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๖๘] รูปภพสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๕ และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์เหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้ แต่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับ
อายตนะ ๗ และธาตุ ๑๐

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๖. ปฏิจจสมุปบาทเป็นต้น
[๖๙] อรูปภพ เนวสัญญานาสัญญาภพ จตุโวการภพสงเคราะห์เข้าได้กับ
ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๗๐] อสัญญาภพ เอกโวการภพสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๗๑] ชาติ ชรา มรณะสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๗๒] โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๗๓] อิทธิบาทสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๗๔] ฌานสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๗๕] อัปปมัญญา ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา อธิโมกข์ มนสิการสงเคราะห์เข้าได้กับ
ขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๗. ติกะ
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๗๖] จิตสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑

๗. ติกะ
[๗๗] สภาวธรรมที่เป็นกุศล สภาวธรรมที่เป็นอกุศลสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์
อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมที่เป็นกุศล สภาวธรรมที่เป็นอกุศลสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔
อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๗๘] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์
แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๗๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และธาตุ ๓
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๕
[๘๐] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓
อายตนะ ๒ และธาตุ ๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๒๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๗. ติกะ
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๑
[๘๑] สภาวธรรมที่เป็นวิบากสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐
[๘๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง
และเป็นอารมณ์ของกิเลสสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๘๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัย
ปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒
และธาตุ ๑๓
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้ แต่สงเคราะห์เข้า
ไม่ได้กับธาตุ ๕
[๘๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์
ของอุปาทานสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์เหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้ แต่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับ
อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๘๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและเป็นอารมณ์
ของอุปาทานสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๗ และธาตุ ๘

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๒๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๗. ติกะ
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์เหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้ แต่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับ
อายตนะ ๕ และธาตุ ๑๐
[๘๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น
อารมณ์ของอุปาทาน สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็น
อารมณ์ของกิเลส เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๘๗] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสสงเคราะห์
เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๘๘] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒
และธาตุ ๓
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๕
[๘๙] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๙๐] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออก
จากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้ แต่สงเคราะห์เข้า
ไม่ได้กับธาตุ ๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๒๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๗. ติกะ
[๙๑] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๓
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๕
[๙๒] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒
และธาตุ ๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๑
[๙๓] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
นิพพาน สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล สภาวธรรมที่เป็นของอเสข-
บุคคล สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒
และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๙๔] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง
ออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๒๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๗. ติกะ
[๙๕] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และ
ธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๙๖] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ สภาวธรรมชั้นประณีต เว้นธาตุที่ไม่ถูก
ปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒
และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๙๗] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒
และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐
[๙๘] สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็น
อารมณ์ สภาวธรรมชั้นต่ำ สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอน
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
อารมณ์ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๙๙] สภาวธรรมชั้นกลางสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และ
ธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๒๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๗. ติกะ
[๑๐๐] สภาวธรรมที่ให้ผลไม่แน่นอน เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์
แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๐๑] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และ
ธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๐๒] สภาวธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๗ และ
ธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์เหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้ แต่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับ
อายตนะ ๕ และธาตุ ๑๐
[๑๐๓] สภาวธรรมที่จักเกิดขึ้นแน่นอนสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๑
และธาตุ ๑๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์เหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้ แต่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับ
อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๐๔] สภาวธรรมที่เป็นอดีต สภาวธรรมที่เป็นอนาคต สภาวธรรมที่เป็น
ปัจจุบัน สภาวธรรมที่เป็นภายในตน สภาวธรรมที่เป็นภายในตนและ
ภายนอกตนสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๒๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๗. ติกะ
[๑๐๕] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตน เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจาก
ขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๐๖] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็น
อารมณ์สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๑๐๗] สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตน
เป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรม
ที่มีธรรมภายในตนและภายนอกตนเป็นอารมณ์สงเคราะห์เข้าได้กับ
ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐
[๑๐๘] สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑
และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๑๐๙] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๙
และธาตุ ๙
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๓ และธาตุ ๙

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๒๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๘. ทุกะ
[๑๑๐] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง
ออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์เหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้ แต่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับ
อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐

๘. ทุกะ
[๑๑๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและมีเหตุ สภาวธรรมที่
เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และ
ธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๑๑๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุ สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
เหตุ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุและไม่มีเหตุ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง
ออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๑๓] สภาวธรรมที่มีเหตุ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุ สภาวธรรมที่มีเหตุ
แต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่
ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๑๑๔] สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่ถูกปัจจัยปรุงแต่งสงเคราะห์เข้าได้กับ
ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๒๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๘. ทุกะ
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๑๕] สภาวธรรมที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งสงเคราะห์
เข้าไม่ได้กับขันธ์เหล่าไหนเลย แต่สงเคราะห์เข้าได้กับอายตนะ ๑ และ
ธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๑๑๖] สภาวธรรมที่เห็นได้สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๑๑๗] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์เหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้ แต่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับ
อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๑๘] สภาวธรรมที่กระทบได้สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๐
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
[๑๑๙] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์เหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้ แต่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับ
อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๒๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๘. ทุกะ
[๑๒๐] สภาวธรรมที่เป็นรูปสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๑๒๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐
[๑๒๒] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และ
ธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๒๓] สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์
แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๑๒๔] สภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ได้ สภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้ เว้นธาตุ
ที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕
อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๒๕] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของ
อาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะสงเคราะห์เข้าได้
กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๒๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๘. ทุกะ
[๑๒๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะ เว้นธาตุ
ที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕
อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๒๗] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของอาสวะ
แต่ไม่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะแต่เป็นอารมณ์ของ
อาสวะสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๒๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะ
และไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจาก
ขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๑๒๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่
เป็นอาสวะสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๑๓๐] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรมที่เป็นคันถะ สภาวธรรมที่เป็น
โอฆะ สภาวธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ สภาวธรรมที่เป็น
ปรามาส สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและเป็นอารมณ์ของปรามาส
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๓๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๘. ทุกะ
[๑๓๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาส สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส เว้น
ธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕
อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๓๒] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาส สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของ
ปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาส สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสแต่เป็น
อารมณ์ของปรามาสสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และ
ธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๓๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
ปรามาสและไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง
ออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๑๓๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒
และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๑๓๕] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๓๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๘. ทุกะ
[๑๓๖] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจาก
ขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๑๓๗] สภาวธรรมที่เป็นจิตสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑
[๑๓๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิต เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๑๓๙] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิก สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิต สภาวธรรมที่ระคน
กับจิตสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๑๔๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิก เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์
แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ แต่ไม่มีอายตนะและธาตุเหล่าไหนที่จะ
สงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๔๑] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิต สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิต เว้นธาตุที่
ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑
อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๓๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๘. ทุกะ
[๑๔๒] สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๖
และธาตุ ๖
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๖ และธาตุ ๑๒
[๑๔๓] สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่ไม่เกิดพร้อมกับจิต
สภาวธรรมที่ไม่เป็นไปตามจิต เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจาก
ขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ แต่ไม่มีอายตนะและธาตุเหล่าไหนที่จะ
สงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๔๔] สภาวธรรมที่เกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่เป็นไปตามจิตสงเคราะห์
เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๑๔๕] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่ระคนกับจิต
มีจิตเป็นสมุฏฐานและเกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิต
เป็นสมุฏฐานและเป็นไปตามจิตสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑
และธาตุ ๑ สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๑๔๖] สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่ไม่ระคน
กับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับ
จิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเป็นไปตามจิต เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง
ออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๓๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๘. ทุกะ
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ แต่ไม่มีอายตนะและธาตุเหล่าไหนที่จะ
สงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๔๗] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๖ และ
ธาตุ ๑๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๖ และธาตุ ๖
[๑๔๘] สภาวธรรมที่เป็นภายนอก เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์
แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๖ และธาตุ ๖
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๖ และธาตุ ๑๒
[๑๔๙] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐
และธาตุ ๑๐
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
[๑๕๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจาก
ขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๓ และธาตุ ๙
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์เหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้ แต่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับ
อายตนะ ๙ และธาตุ ๙
[๑๕๑] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือสงเคราะห์เข้า
ได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์เหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้ แต่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับ
อายตนะ ๑ และธาตุ ๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๓๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๘. ทุกะ
[๑๕๒] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ เว้นธาตุที่
ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕
อายตนะ ๗ และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์เหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้ แต่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับ
อายตนะ ๕ และธาตุ ๑๐
[๑๕๓] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน สภาวธรรมที่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่เป็น
กิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและกิเลสทำให้
เศร้าหมอง สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสสงเคราะห์เข้าได้
กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๑๕๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง สภาว-
ธรรมที่วิปปยุตจากกิเลส เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์
แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๕๕] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของกิเลส
แต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่วิปปยุตจากกิเลสแต่เป็นอารมณ์ของกิเลส
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๕๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่วิปปยุตจากกิเลส
และไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์
แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๓๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๘. ทุกะ
[๑๕๗] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลส
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๑๕๘] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๑๕๙] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับ
ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๖๐] สภาวธรรมที่มีวิตก สภาวธรรมที่มีวิจารสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔
อายตนะ ๒ และธาตุ ๓
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๕
[๑๖๑] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตก สภาวธรรมที่ไม่มีวิจาร เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุง
แต่งออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และ
ธาตุ ๑๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๓๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๘. ทุกะ
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้ แต่สงเคราะห์
เข้าไม่ได้กับธาตุ ๑
[๑๖๒] สภาวธรรมที่มีปีติ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติสงเคราะห์เข้าได้กับ
ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๑๖๓] สภาวธรรมที่ไม่มีปีติ สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยปีติ สภาวธรรมที่
ไม่สหรคตด้วยสุข เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๖๔] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๓
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๕
[๑๖๕] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒
และธาตุ ๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๑
[๑๖๖] สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขา เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออก
จากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๓
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้ แต่สงเคราะห์
เข้าไม่ได้กับธาตุ ๕

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๓๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑. ปฐมนัย] ๑. สังคหาสังคหปทนิทเทส ๘. ทุกะ
[๑๖๗] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจร สภาวธรรมที่นับเนื่องในวัฏฏทุกข์ สภาว-
ธรรมที่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และ
ธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
[๑๖๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจร สภาวธรรมที่ไม่นับเนื่องในวัฏฏทุกข์
สภาวธรรมที่ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจาก
ขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๑๖๙] สภาวธรรมที่เป็นรูปาวจร สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจร สภาวธรรมที่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้สัตว์ร้องไห้สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๑๗๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปาวจร สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจร สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ สภาวธรรมที่ให้ผลไม่แน่นอน สภาว-
ธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และ
ธาตุเท่าไร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง
ออกจากขันธ์แล้ว สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์ อายตนะ และธาตุเหล่าไหนที่จะสงเคราะห์เข้าไม่ได้
สังคหาสังคหปทนิทเทสที่ ๑ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๓๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๒. ทุตินัย] ๒. สังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส
๒. ทุติยนัย
๒. สังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส
[๑๗๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับจักขายตนะ
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ จักขุธาตุ ฯลฯ โผฏฐัพพธาตุ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๘
[๑๗๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับจักขุ-
วิญญาณธาตุ โสตวิญญาณธาตุ ฆานวิญญาณธาตุ ชิวหาวิญญาณธาตุ
กายวิญญาณธาตุ มโนธาตุ มโนวิญญาณธาตุ ฯลฯ๑
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๒
[๑๗๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับจักขุนทรีย์
โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์
ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
[๑๗๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับอสัญญาภพ
เอกโวการภพ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๓ และธาตุ ๙

เชิงอรรถ :
๑ ฯลฯ แทนคำถามตามบาลี

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๓๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๒. ทุตินัย] รวมบทธรรมในทุติยนัย ๔๒ บท
[๑๗๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับปริเทวะ
สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
[๑๗๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรม
ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๖
[๑๗๗] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรม
ที่เห็นได้ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
[๑๗๘] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรม
ที่กระทบได้
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗

รวมบทธรรมในทุติยนัย ๔๒ บท
อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๗ อินทรีย์ ๗ อสัญญาภพ ๑
เอกโวการภพ ๑ ปริเทวะ ๑ สนิทัสสนสัปปฏิฆะ ๑
อนิทัสสนสัปปฏิฆะ ๑ สนิทัสสนะ ๑ สัปปฏิฆะ ๑ อุปาทายรูป ๑
สังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทสที่ ๒ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๓. ตติยนัย] ๓. อสังคหิเตนสังคหิตปทนิทเทส
๓. ตติยนัย
๓. อสังคหิเตนสังคหิตปทนิทเทส
[๑๗๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ สมุทยสัจ มัคคสัจ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับนิโรธสัจ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับชีวิตินทรีย์ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับอิตถินทรีย์
ปุริสินทรีย์ สุขินทรีย์ ทุกขินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ โทมนัสสินทรีย์
อุเปกขินทรีย์ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์
อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์ อัญญาตาวินทรีย์ อวิชชา
สังขารที่เกิดเพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย ผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะ
เป็นปัจจัย เวทนาที่เกิดเพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย ตัณหาที่เกิดเพราะมี
เวทนาเป็นปัจจัย อุปาทานที่เกิดเพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพที่
เกิดเพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๓. ตติยนัย] ๓. อสังคหิเตนสังคหิตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับชาติ ชรา
มรณะ ฌาน ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับโสกะ ทุกข์
โทมนัส อุปายาส สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน อัปปมัญญา อินทรีย์ ๕
พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ ผัสสะ เวทนา สัญญา
เจตนา อธิโมกข์ มนสิการ สภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็น
เหตุและมีเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรม
ที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรม
ที่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของอาสวะ
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะ
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๓. ตติยนัย] ๓. อสังคหิเตนสังคหิตปทนิทเทส
[๑๘๗] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรม
ที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรมที่เป็นคันถะ สภาวธรรมที่เป็นโอฆะ สภาว-
ธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ สภาวธรรมที่เป็นปรามาส
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและเป็นอารมณ์ของปรามาส
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๘] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรม
ที่เป็นเจตสิก สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่ระคนกับ
จิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิต
เป็นสมุฏฐานและเป็นไปตามจิต ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรมที่
เกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่เป็นไปตามจิต ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์เหล่าไหนเลย แต่สงเคราะห์
เข้าได้กับอายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๙๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทาน สภาวธรรมที่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและเป็น
อารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและกิเลสทำให้เศร้าหมอง
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลส

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๓. ตติยนัย] รวมบทธรรมในตติยนัย ๙๐ บท
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑

รวมบทธรรมในตติยนัย ๙๐ บท
ขันธ์ ๓ สัจจะ ๓ อินทรีย์ ๑๖ ปัจจยาการ ๑๔ บท
ต่อจากปัจจยาการอีก ๑๔ บท
ในโคจฉกะ ๑๐ หมวด นับได้ ๓๐ บท
จากจูฬันตรทุกะ ๒ บท จากมหันตรทุกะ ๘ บท
อสังคหิเตนสังคหิตปทนิทเทสที่ ๓ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๔. จตุตถนัย] ๔. สังคหิเตนสังคหิตปทนิทเทส
๔. จตุตถนัย
๔. สังคหิเตนสังคหิตปทนิทเทส
[๑๙๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสมุทยสัจ มัคคสัจ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดย
การสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๙๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับอิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ สุขินทรีย์ ทุกขินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์
โทมนัสสินทรีย์ อุเปกขินทรีย์ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์
สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์
อัญญาตาวินทรีย์
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับอวิชชา สังขารที่เกิดเพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย ผัสสะที่เกิด
เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย ตัณหาที่เกิดเพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย
อุปาทานที่เกิดเพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพที่เกิดเพราะมีอุปาทาน
เป็นปัจจัย โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสติปัฏฐาน สัมมัปปธาน อัปปมัญญา อินทรีย์ ๕ พละ ๕
โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ ผัสสะ เจตนา อธิโมกข์ มนสิการ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและมีเหตุ สภาว-
ธรรมที่เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะ สภาว-
ธรรมที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรมที่เป็นคันถะ สภาวธรรมที่เป็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๔. จตุตถนัย] รวมบทธรรมในจตุตถนัย ๖๙ บท
โอฆะ สภาวธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ สภาวธรรมที่เป็น
ปรามาส สภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน สภาวธรรมที่เป็นกิเลส สภาวธรรม
ที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและกิเลส
ทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลส
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑

รวมบทธรรมในจตุตถนัย ๖๙ บท
สัจจะ ๒ อินทรีย์ ๑๕ ปฏิจจสมุปบาท ๑๑
ต่อจากปฏิจจสมุปบาทอีก ๑๑ บท ในโคจฉกะอีก ๓๐ บท
สังคหิเตนสังคหิตปทนิทเทสที่ ๔ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส
๕. ปัญจมนัย
๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส
[๑๙๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับรูปขันธ์
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๑๙๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๑๙๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับวิญญาณขันธ์ มนายตนะ จักขุวิญญาณธาตุ ฯลฯ มโนธาตุ
มโนวิญญาณธาตุ มนินทรีย์
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๑
[๑๙๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับจักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ จักขุธาตุ ฯลฯ
โผฏฐัพพธาตุ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
[๑๙๗] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับธัมมายตนะ ธัมมธาตุ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๑๙๘] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสมุทยสัจ มัคคสัจ นิโรธสัจ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๑๙๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับจักขุนทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
[๒๐๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสุขินทรีย์ ทุกขินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ โทมนัสสินทรีย์
อุเปกขินทรีย์ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์
อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์ อัญญาตาวินทรีย์ อวิชชา
สังขารที่เกิดเพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๐๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับวิญญาณที่เกิดเพราะมีสังขารเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๑
[๒๐๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับนามรูปที่เกิดเพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และ
ธาตุ ๗
[๒๐๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสฬายตนะที่เกิดเพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๒๐๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย เวทนาที่เกิดเพราะ
มีผัสสะเป็นปัจจัย ตัณหาที่เกิดเพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย อุปาทานที่
เกิดเพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพที่เกิดเพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๐๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับอรูปภพ เนวสัญญานาสัญญาภพ จตุโวการภพ อิทธิบาท
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๐
[๒๐๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับอสัญญาภพ เอกโวการภพ ชาติ ชรา มรณะ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๒๐๗] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับปริเทวะ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
[๒๐๘] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับโสกะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน
ฌาน อัปปมัญญา อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา อธิโมกข์ มนสิการ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๑. ติกะ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๐๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับจิต
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๑

๑. ติกะ
[๒๑๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นกุศล สภาวธรรมที่เป็นอกุศล สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา สภาวธรรมที่เป็นวิบาก สภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้เกิดวิบาก สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้า
หมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ สภาว-
ธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๑. ติกะ
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน สภาว-
ธรรมที่เป็นของเสขบุคคล สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล สภาวธรรม
ที่เป็นมหัคคตะ สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ สภาวธรรมที่มีปริตตะ
เป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มี
อัปปมาณะเป็นอารมณ์ สภาวธรรมชั้นต่ำ สภาวธรรมชั้นประณีต สภาว-
ธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้
ผลแน่นอน สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
เหตุ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่
มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนและภาย
นอกตนเป็นอารมณ์
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๐
[๒๑๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้ สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่
กระทบได้
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๘

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
๒. ทุกะ
[๒๑๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและมีเหตุ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๑๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่มีเหตุ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุ สภาวธรรม
ที่มีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๐
[๒๑๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่ไม่ถูกปัจจัย
ปรุงแต่ง
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๑๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เห็นได้ สภาวธรรมที่กระทบได้

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๘
[๒๑๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นรูป
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๒๑๗] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๐
[๒๑๘] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและเป็น
อารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๑๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอาสวะ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะ สภาว-
ธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะและไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๐
[๒๒๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรมที่เป็นคันถะ สภาว-
ธรรมที่เป็นโอฆะ สภาวธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์
สภาวธรรมที่เป็นปรามาส สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและเป็นอารมณ์
ของปรามาส
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๒๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยปรามาส สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสและไม่เป็นอารมณ์
ของปรามาส สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๐
[๒๒๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิต
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต สภาวธรรมที่มี
จิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่เกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่เป็นไป
ตามจิต สภาวธรรมที่เป็นภายนอก สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และ
ธาตุ ๗
[๒๒๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นจิต
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๑
[๒๒๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นเจตสิก สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิต
สภาวธรรมที่ระคนกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเกิดพร้อมกับจิต สภาว-
ธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเป็นไปตามจิต
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๒๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นภายในตน
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และ
ธาตุ ๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
[๒๒๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน สภาวธรรมที่เป็นกิเลส สภาว-
ธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและ
กิเลสทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลส
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๒๗] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมอง สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลส สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลส
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากกิเลสและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีวิตก
สภาวธรรมที่มีวิจาร สภาวธรรมที่มีปีติ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา สภาว-
ธรรมที่ไม่เป็นกามาวจร สภาวธรรมที่เป็นรูปาวจร สภาวธรรมที่เป็น
อรูปาวจร สภาวธรรมที่ไม่นับเนื่องในวัฏฏทุกข์ สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
นำออกจากวัฏฏทุกข์ สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่ไม่มี
ธรรมอื่นยิ่งกว่า สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๐

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] รวมบทธรรมในปัญจมนัย ๒๒ บท
รวมบทธรรมในปัญจมนัย ๒๒ บท๑
รูป ๑ ธัมมายตนะ ๑ ธัมมธาตุ ๑
อิตถินทรีย์ ๑ ปุริสินทรีย์ ๑ ชีวิตินทรีย์ ๑
นามรูป ๑ ภพ ๒ (อสัญญีภพและเอกโวการภพ)
ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑ บทที่เป็นรูป ๑ อนารัมมณบท ๑
โนจิตตบท ๑ จิตตวิปปยุตตบท ๑
จิตตวิสังสัฏฐบท ๑ จิตตสมุฏฐานบท ๑ จิตตสหภูบท ๑
จิตตานุปริวัตติบท ๑ พาหิรบท ๑ อุปาทาบท ๑
นัย ๒๒ บทนี้เป็นวิสัยแห่งปุจฉาและวิสัชนา
อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทสที่ ๕ จบ

เชิงอรรถ :
๑ ในอรรถกถาได้แสดงอุททานคาถาไว้โดยสมบูรณ์ดังนี้ :-
รวมบทธรรมในปัญจมนัย ๒๕๗ บท
ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ สัจจะ ๓
อินทรีย์ ๒๒ ปฏิจจสมุปบาท ๒๓
ต่อจากปฏิจจสมุปบาท ๑๖ ในติกะ ๔๓ บท
ในโคจฉกะ ๗๒ บท ในจูฬันตรทุกะ ๗
ในมหันตรทุกะ ๑๘ ปิฏฐิทุกะ ๑๘
พึงทราบว่าที่เหลือท่านไม่กล่าวไว้ ณ ที่นี้ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๑๙๓/๑๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๒. อายตนะ
๖. ฉัฏฐนัย
๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส
๑. ขันธ์
[๒๒๘] รูปขันธ์สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๒๙] เวทนาขันธ์ ฯลฯ สัญญาขันธ์ ฯลฯ สังขารขันธ์สัมปยุตด้วยขันธ์ ๓
อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๓๐] วิญญาณขันธ์สัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑
บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

๒. อายตนะ
[๒๓๑] จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และ
ธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๔. สภาวธรรมมีสัจจะเป็นต้น
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๓๒] มนายตนะสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑
บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

๓. ธาตุ
[๒๓๓] จักขุธาตุ ฯลฯ โผฏฐัพพธาตุสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๓๔] จักขุวิญญาณธาตุ ฯลฯ มโนธาตุ ฯลฯ มโนวิญญาณธาตุสัมปยุต
ด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

๔. สภาวธรรมมีสัจจะเป็นต้น
[๒๓๕] สมุทยสัจ ฯลฯ มัคคสัจสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑
และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๔. สภาวธรรมมีสัจจะเป็นต้น
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๓๖] นิโรธสัจ ฯลฯ จักขุนทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ฯลฯ
ปุริสินทรีย์สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๓๗] มนินทรีย์สัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๓๘] สุขินทรีย์ ฯลฯ ทุกขินทรีย์ ฯลฯ โสมนัสสินทรีย์ ฯลฯ โทมนัสสินทรีย์
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๓๙] อุเปกขินทรีย์สัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๖ และสัมปยุตด้วย
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๑ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๔. สภาวธรรมมีสัจจะเป็นต้น
[๒๔๐] สัทธินทรีย์ ฯลฯ วิริยินทรีย์ ฯลฯ สตินทรีย์ ฯลฯ สมาธินทรีย์ ฯลฯ
ปัญญินทรีย์ ฯลฯ อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ ฯลฯ อัญญินทรีย์
ฯลฯ อัญญาตาวินทรีย์ ฯลฯ อวิชชา ฯลฯ สังขารที่เกิดเพราะมี
อวิชชาเป็นปัจจัยสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และสัมปยุต
ด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๔๑] วิญญาณที่เกิดเพราะมีสังขารเป็นปัจจัยสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุต
ด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๔๒] ผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัยสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑
ธาตุ ๗ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๔๓] เวทนาที่เกิดเพราะมีผัสสะเป็นปัจจัยสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑
ธาตุ ๗ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๔. สภาวธรรมมีสัจจะเป็นต้น
[๒๔๔] ตัณหาที่เกิดเพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย อุปาทานที่เกิดเพราะมีตัณหาเป็น
ปัจจัย กัมมภพที่เกิดเพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัยสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๔๕] รูปภพสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๓
[๒๔๖] อรูปภพ ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญาภพ ฯลฯ จตุโวการภพสัมปยุต
ด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๔๗] อสัญญาภพ ฯลฯ เอกโวการภพ ฯลฯ ปริเทวะสัมปยุตด้วยขันธ์
อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๔๘] โสกะ ฯลฯ ทุกข์ ฯลฯ โทมนัสสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑
ธาตุ ๑ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๔. สภาวธรรมมีสัจจะเป็นต้น
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๔๙] อุปายาส ฯลฯ สติปัฏฐาน ฯลฯ สัมมัปปธานสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๕๐] อิทธิบาทสัมปยุตด้วยขันธ์ ๒ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๕๑] ฌานสัมปยุตด้วยขันธ์ ๒ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๕๒] อัปปมัญญา ฯลฯ อินทรีย์ ๕ ฯลฯ พละ ๕ ฯลฯ โพชฌงค์ ๗ ฯลฯ
อริยมรรคมีองค์ ๘ สัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๕. ติกะ
[๒๕๓] ผัสสะ ฯลฯ เจตนา ฯลฯ มนสิการสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑
ธาตุ ๗ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๕๔] เวทนา ฯลฯ สัญญาสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
สัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๕๕] จิตสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๕๖] อธิโมกข์สัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๒ และสัมปยุตด้วย
ขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

๕. ติกะ
[๒๕๗] สภาวธรรมที่เป็นกุศล สภาวธรรมที่เป็นอกุศลสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ
และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๕. ติกะ
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๕๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๕๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุต
ด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๑ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๖๐] สภาวธรรมที่เป็นวิบากสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๖๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง
และเป็นอารมณ์ของกิเลส สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๕. ติกะ
[๒๖๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก สภาวธรรมที่กรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน
สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๕
[๒๖๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น
อารมณ์ของอุปาทาน สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์
ของกิเลสสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๒๖๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และ
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และวิปปยุตจาก
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๖๕] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติสัมปยุต
ด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจาก
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๖๖] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุ
เท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๕. ติกะ
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๑
[๒๖๗] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุตด้วย
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๖๘] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุตด้วย
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๑ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๖๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
นิพพาน สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล สภาวธรรมที่เป็นของอเสข-
บุคคล สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๗๐] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ สภาวธรรมชั้นประณีตสัมปยุตด้วยขันธ์
อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๕. ติกะ
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๒๗๑] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๗๒] สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์
สภาวธรรมชั้นต่ำ สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอน สภาว-
ธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีสัมปยุต
ด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๗๓] สภาวธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๕
[๒๗๔] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็น
อารมณ์สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๖. ทุกะ
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๗๕] สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตน
เป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรม
ที่มีธรรมภายในตนและภายนอกตนเป็นอารมณ์สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ
และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๗๖] สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้ สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

๖. ทุกะ
[๒๗๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและมีเหตุ สภาวธรรมที่เป็น
เหตุและสัมปยุตด้วยเหตุสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๖. ทุกะ
[๒๗๘] สภาวธรรมที่มีเหตุ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ
และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๗๙] สภาวธรรมที่มีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และ
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๘๐] สภาวธรรมที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง
สภาวธรรมที่เห็นได้ สภาวธรรมที่กระทบได้ สภาวธรรมที่เป็นรูปสัมปยุต
ด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๘๑] สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๖

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๖. ทุกะ
[๒๘๒] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของ
อาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะสัมปยุตด้วย
ขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๘๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะ
และไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๒๘๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุ
เท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๘๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑
อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๖. ทุกะ
[๒๘๖] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรมที่เป็นคันถะ สภาวธรรมที่เป็น
โอฆะ สภาวธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ สภาวธรรมที่
เป็นปรามาส สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและเป็นอารมณ์ของปรามาส
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๘๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
ปรามาสและไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และ
ธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๒๘๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และ
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๘๙] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๖. ทุกะ
[๒๙๐] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิต สภาวธรรม
ที่ไม่ระคนกับจิต สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ
และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๙๑] สภาวธรรมที่เป็นจิตสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๙๒] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิก สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิต สภาวธรรมที่
ระคนกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรม
ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่ระคน
กับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเป็นไปตามจิตสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑
และธาตุ ๗
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๙๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือสัมปยุตด้วย
ขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๕

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๖. ทุกะ
[๒๙๔] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน สภาวธรรมที่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่เป็น
กิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและกิเลสทำให้
เศร้าหมอง สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสสัมปยุตด้วย
ขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๙๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่วิปปยุตจากกิเลส
และไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๒๙๖] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลส
สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๙๗] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๖. ทุกะ
[๒๙๘] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สัมปยุตด้วยขันธ์
อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๙๙] สภาวธรรมที่มีวิตก สภาวธรรมที่มีวิจารสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑
และธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๐๐] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตก สภาวธรรมที่ไม่มีวิจารสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ
และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๑
[๓๐๑] สภาวธรรมที่มีปีติ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑
อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๖. ทุกะ
[๓๐๒] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุตด้วย
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๐๓] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุตด้วย
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๑ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๐๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจร สภาวธรรมที่ไม่นับเนื่องในวัฏฏทุกข์
สภาวธรรมที่ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุ
เท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๓๐๕] สภาวธรรมที่เป็นรูปาวจร สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจร สภาวธรรมที่
เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] รวมบทธรรมที่ไม่ได้ในฉัฏฐนัย ๑๒๓ บท
รวมบทธรรมที่ไม่ได้ในฉัฏฐนัย ๑๒๓ บท
ธัมมายตนะ ๑ ธัมมธาตุ ๑ ทุกขสัจ ๑ ชีวิตินทรีย์ ๑
สฬายตนะ ๑ นามรูป ๑ ภพใหญ่ ๔ ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑
ในติกะ ๑๙ บท ในโคจฉกะ ๕๐ บท ในจูฬันตรทุกะ ๘ บท
ในมหันตรทุกะ ๑๕ บท ต่อจากนั้นอีก ๑๘ บท
บทธรรม ๑๒๓ บทนี้ไม่ได้ในฉัฏฐนัย
สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทสที่ ๖ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๗. สัตตมนัย] ๗. สัมปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส
๗. สัตตมนัย
๗. สัมปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส
[๓๐๖] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์
วิญญาณขันธ์ มนายตนะ
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุต
จากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๐๗] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยจักขุวิญญาณธาตุ ฯลฯ มโนธาตุ
มโนวิญญาณธาตุ
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๑
[๓๐๘] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยมนินทรีย์
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุต
จากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๐๙] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอุเปกขินทรีย์
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๕
[๓๑๐] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยวิญญาณที่เกิดเพราะมีสังขารเป็นปัจจัย
ผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย เวทนาที่เกิดเพราะมีผัสสะเป็น
ปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๗. สัตตมนัย] ๗. สัมปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต
มนสิการ
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุต
จากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๑๑] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอธิโมกข์
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้น ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๑
[๓๑๒] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข-
เวทนา สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๕
[๓๑๓] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๑
[๓๑๔] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นจิต สภาวธรรมที่เป็น
เจตสิก สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต สภาว-
ธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมี
จิตเป็นสมุฏฐานและเกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็น
สมุฏฐานและเป็นไปตามจิต
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๗. สัตตมนัย] รวมบทธรรมในสัตตมนัย ๓๗ บท
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุต
จากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๑๕] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่มีวิตก สภาวธรรมที่มีวิจาร
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๑
[๓๑๖] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๕

รวมบทธรรมในสัตตมนัย ๓๗ บท
ขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗
อินทรีย์ ๒ ปฏิจจสมุปบาท ๓
สภาวธรรมทั้งหลายที่มีผัสสะเป็นที่ ๕
อธิโมกข์ ๑ มนสิการ ๑
ในติกะ ๓ บท ในมหันตรทุกะ ๗ บท
๒ บทที่สัมปยุตกับจิต คือ สวิตักกสวิจาระ ๑
และที่สัมปยุตด้วยอุเบกขา ๑
สัมปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทสที่ ๗ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๘. อัฏฐมนัย] รวมบทธรรมที่ไม่ได้ในอัฏฐมนัย ๔๗ บท
๘. อัฏฐมนัย
๘. วิปปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทส
[๓๑๗] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากรูปขันธ์
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
[๓๑๘] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์
วิญญาณขันธ์ ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ สภาวธรรมที่
ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต

รวมบทธรรมที่ไม่ได้ในอัฏฐมนัย ๔๗ บท
ธัมมายตนะ ๑ ธัมมธาตุ ๑ ชีวิตินทรีย์ ๑
นามรูป ๑ สฬายตนะ ๑ ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑
ธรรม ๒ บทจากติกะ (อัชฌัตตพหิทธะและอนิทัสสนอัปปฏิฆะ)
ในอันตรทุกะแรก ๗ บท
ในโคจฉกะ ๑๐ บท ในมหันตรทุกะ
ถัดมา ๑๔ บท ในปีติทุกะสุดท้าย ๖ บท
สภาวธรรม ๔๗ บทเหล่านี้ย่อมไม่ได้
ทั้งในสมุจเฉทะและในโมฆปุจฉกะ
วิปปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทสที่ ๘ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๙. นวมนัย] ๙. สัมปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทส
๙. นวมนัย
๙. สัมปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทส
[๓๑๙] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และสัมปยุต
ด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๐] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยวิญญาณขันธ์ มนายตนะ จักขุวิญญาณ-
ธาตุ ฯลฯ มโนธาตุ มโนวิญญาณธาตุ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วย
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๑] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสมุทยสัจ มัคคสัจ สภาวธรรมเหล่าใด
สัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๒] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยมนินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุต
ด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๓] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสุขินทรีย์ ทุกขินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์
โทมนัสสินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๙. นวมนัย] ๙. สัมปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทส
[๓๒๔] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอุเปกขินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุต
ด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๖ และ
สัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๕] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์
สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์
อัญญาตาวินทรีย์ อวิชชา สังขารที่เกิดเพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๖] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยวิญญาณที่เกิดเพราะมีสังขารเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๗] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๘] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยเวทนาที่เกิดเพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และสัมปยุต
ด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๙] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยตัณหาที่เกิดเพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย
อุปาทานที่เกิดเพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพ สภาวธรรมเหล่าใด
สัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๙. นวมนัย] ๙. สัมปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๐] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยโสกะ ทุกข์ โทมนัส สภาวธรรมเหล่าใด
สัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๑] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอุปายาส สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๒] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอิทธิบาท สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุต
ด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๒ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ
๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๓] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยฌาน สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วย
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๒ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๔] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอัปปมัญญา อินทรีย์ ๕ พละ ๕
โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วย
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๙. นวมนัย] ๙. สัมปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทส
[๓๓๕] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยผัสสะ เจตนา มนสิการ สภาวธรรม
เหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๖] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยเวทนา สัญญา สภาวธรรมเหล่าใด
สัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
สัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๗] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยจิต สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วย
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๘] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอธิโมกข์ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุต
ด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๒ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๙] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขม-
สุขเวทนา สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๐] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร สภาว-
ธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ สภาวธรรม
เหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๙. นวมนัย] ๙. สัมปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทส
[๓๔๑] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาว-
ธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรม
เหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๒] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็น
เหตุและมีเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ สภาวธรรม
เหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๓] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่มีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาว-
ธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุ
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๔] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่
เป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและ
สัมปยุตด้วยอาสวะ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๕] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่
เป็นอาสวะ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๖] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรม
ที่เป็นคันถะ สภาวธรรมที่เป็นโอฆะ สภาวธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรม

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๙. นวมนัย] ๙. สัมปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทส
ที่เป็นนิวรณ์ สภาวธรรมที่เป็นปรามาส สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและ
เป็นอารมณ์ของปรามาส สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรม
เหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๗] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๘] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นจิต สภาวธรรมเหล่าใด
สัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๙] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิก สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต
และมีจิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและ
เกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเป็นไป
ตามจิต สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๓๕๐] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน สภาวธรรมที่
เป็นกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรม
ที่เป็นกิเลสและกิเลสทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุต
ด้วยกิเลส สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๙. นวมนัย] รวมบทธรรมในนวมนัย ๑๒๐ บท
[๓๕๑] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองแต่ไม่
เป็นกิเลส สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรม
ที่มีวิตก สภาวธรรมที่มีวิจาร สภาวธรรมที่มีปีติ สภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยปีติ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๕๒] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาว-
ธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรม
เหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

รวมบทธรรมในนวมนัย ๑๒๐ บท
อรูปขันธ์ ๔ มนายตนะ ๑ วิญญาณธาตุ ๗ สัจจะ ๒
อินทรีย์ ๑๔
ปัจจยาการ ๑๒ บทที่ต่อจากปัจจยาการนั้น ๑๖ บท
ในติกะ ๘ บท ในโคจฉกะ ๔๓ บท
ในมหันตรทุกะ ๗ บท ในปิฏฐิทุกะ ๖ บท
บทธรรมเหล่านี้สงเคราะห์เข้าในนวมนิทเทสดังนี้
สัมปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทสที่ ๙ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส
๑๐. ทสมนัย
๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส
[๓๕๓] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากรูปขันธ์ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจาก
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๕๔] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์
วิญญาณขันธ์ มนายตนะ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรม
เหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๕๕] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากจักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ จักขุ-
ธาตุ ฯลฯ โผฏฐัพพธาตุ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุต
จากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๕๖] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากจักขุวิญญาณธาตุ ฯลฯ มโนธาตุ มโน-
วิญญาณธาตุ สมุทยสัจ มัคคสัจ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจาก
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๕๗] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากนิโรธสัจ จักขุนทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์
อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุต
จากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส
[๓๕๘] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากมนินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจาก
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๕๙] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสุขินทรีย์ ทุกขินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์
โทมนัสสินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๖๐] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากอุเปกขินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุต
จากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๑ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๖๑] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์
สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์
อัญญาตาวินทรีย์ อวิชชา สังขารที่เกิดเพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย สภาว-
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๖๒] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากวิญญาณที่เกิดเพราะมีสังขารเป็นปัจจัย
ผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย เวทนาที่เกิดเพราะมีผัสสะเป็น
ปัจจัย สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๖๓] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากตัณหาที่เกิดเพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย
อุปาทานที่เกิดเพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพ สภาวธรรมเหล่าใด
วิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๖๔] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากรูปภพ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจาก
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๓
[๓๖๕] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากอสัญญาภพ เอกโวการภพ ปริเทวะ
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๖๖] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากอรูปภพ เนวสัญญานาสัญญาภพ จตุ-
โวการภพ โสกะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน
อิทธิบาท ฌาน อัปปมัญญา อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗
อริยมรรคมีองค์ ๘ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๖๗] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต
มนสิการ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๖๘] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากอธิโมกข์ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจาก
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส ๑. ติกะ
๑. ติกะ
[๓๖๙] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นกุศล สภาวธรรมที่เป็น
อกุศล สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๗๐] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจาก
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๗๑] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๑ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๗๒] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นวิบาก สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๗๓] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส ๑. ติกะ
[๓๗๔] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้
เกิดวิบาก สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรม
เหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๕
[๓๗๕] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน สภาวธรรมที่กิเลส
ไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมเหล่าใด
วิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๓๗๖] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร สภาว-
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๗๗] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๗๘] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส ๑. ติกะ
[๓๗๙] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๘๐] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา สภาว-
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๑ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๘๑] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรค สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะ สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๘๒] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ สภาวธรรม
ชั้นประณีต สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๓๘๓] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ สภาว-
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส ๑. ติกะ
[๓๘๔] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ สภาว-
ธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ สภาวธรรมชั้นต่ำ สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ผิดและให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอน
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุ สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอธิบดี สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๘๕] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้น สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๕
[๓๘๖] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจาก
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๘๗] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์
สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภาย
นอกตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนและภายนอกตน
เป็นอารมณ์ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๘๘] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้ สภาว-
ธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรม
เหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
๒. ทุกะ
[๓๘๙] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่มีเหตุ
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและมีเหตุ สภาว-
ธรรมที่มีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่
มีเหตุ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๙๐] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่
ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่เห็นได้ สภาวธรรมที่กระทบได้
สภาวธรรมที่เป็นรูป สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๙๑] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๓๙๒] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของอาสวะ
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะ สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรม
เหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
[๓๙๓] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะและไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๓๙๔] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรมที่
เป็นคันถะ สภาวธรรมที่เป็นโอฆะ สภาวธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรม
ที่เป็นนิวรณ์ สภาวธรรมที่เป็นปรามาส สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
ปรามาส สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและเป็นอารมณ์ของปรามาส สภาว-
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๙๕] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสและไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๓๙๖] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ สภาวธรรม
ที่เป็นจิต สภาวธรรมที่เป็นเจตสิก สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิต
สภาวธรรมที่ระคนกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็น
สมุฏฐาน สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเกิดพร้อม
กับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเป็นไปตามจิต
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
[๓๙๗] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ สภาว-
ธรรมที่วิปปยุตจากจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต สภาวธรรมที่เป็น
อุปาทายรูป สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๙๘] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรม
เหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๕
[๓๙๙] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน สภาวธรรมที่
เป็นกิเลส สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรม
ที่เป็นกิเลสและกิเลสทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลส
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรมเหล่าใด
วิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๐๐] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากกิเลสและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๖

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
[๔๐๑] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรค สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๐๒] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่มีวิตก สภาวธรรมที่มีวิจาร
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๐๓] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่มีวิตก สภาวธรรมที่ไม่มี
วิจาร สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๑
[๔๐๔] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่มีปีติ สภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยปีติ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๐๕] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๐๖] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา สภาว-
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] รวมทบธรรมที่ไม่ได้ในทสมนัย ๑๒๓ บท
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๑ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๐๗] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจร สภาวธรรม
ที่ไม่นับเนื่องในวัฏฏทุกข์ สภาวธรรมที่ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๔๐๘] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นรูปาวจร สภาวธรรมที่
เป็นอรูปาวจร สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ สภาวธรรม
ที่ให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ สภาวธรรมเหล่าใด
วิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

รวมบทธรรมที่ไม่ได้ในทสมนัย ๑๒๓ บท
ธัมมายตนะ ๑ ธัมมธาตุ ๑ ทุกขสัจ ๑
ชีวิตินทรีย์ ๑ สฬายตนะ ๑ นามรูป ๑
ภพใหญ่ ๔
ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑
ในติกะ ๑๙ บท ในโคจฉกะ ๕๐ บท
ในจูฬันตรทุกะ ๘ บท
ในมหันตรทุกะ ๑๕ บท ต่อจากนั้นอีก ๑๘ บท (ในปิฏฐิทุกะ)
บทธรรม ๑๒๓ บทนี้ไม่ได้ในทสมนัย
วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทสที่ ๑๐ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๑. เอกาทสมนัย] ๑๑. สังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทส
๑๑. เอกาทสมนัย
๑๑. สังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทส
[๔๐๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสมุทยสัจ มัคคสัจ
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๑๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับอิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๑๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสุขินทรีย์ ทุกขินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ โทมนัสสินทรีย์ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๑๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับอุเปกขินทรีย์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๑. เอกาทสมนัย] ๑๑. สังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๒ และสัมปยุต
ด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และวิปปยุตจากอายตนะ
๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๑๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์
อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์ อัญญาตาวินทรีย์ อวิชชา
สังขารที่เกิดเพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย ผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะ
เป็นปัจจัย ตัณหาที่เกิดเพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย อุปาทานที่เกิดเพราะมี
ตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพ
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และสัมปยุต
ด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๑๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับปริเทวะ
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๑๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับโสกะ ทุกข์ โทมนัส
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
สัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๑. เอกาทสมนัย] รวมบทธรรมในเอกาทสมนัย ๖๙ บท
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๑๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับอุปายาส สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน อัปปมัญญา อินทรีย์ ๕
พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ ผัสสะ เจตนา อธิโมกข์
มนสิการ สภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและมีเหตุ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะ
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่เป็น
อาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรมที่
เป็นคันถะ สภาวธรรมที่เป็นโอฆะ สภาวธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรม
ที่เป็นนิวรณ์ สภาวธรรมที่เป็นปรามาส สภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน
สภาวธรรมที่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลส
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและกิเลสทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่เป็น
กิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลส
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

รวมบทธรรมในเอกาทสมนัย ๖๙ บท
สัจจะ ๒ อินทรีย์ ๑๕ ปฏิจจสมุปบาท ๑๑ บท
ต่อจากปฏิจจสมุปบาทอีก ๑๑ บท ในโคจฉกะ ๓๐ บท
สังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทสที่ ๑๑ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๒. ทวาทสมนัย] ๑๒. สัมปยุตเตนสังคหิตาสังคหิตปทนิทเทส
๑๒. ทวาทสมนัย
๑๒. สัมปยุตเตนสังคหิตาสังคหิตปทนิทเทส
[๔๑๗] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐
[๔๑๘] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยวิญญาณขันธ์ มนายตนะ จักขุวิญญาณ-
ธาตุ ฯลฯ มโนธาตุ มโนวิญญาณธาตุ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๑๙] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสมุทยสัจ มัคคสัจ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๒๐] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยมนินทรีย์
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๒๑] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสุขินทรีย์ ทุกขินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์
โทมนัสสินทรีย์
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๒. ทวาทสมนัย] ๑๒. สัมปยุตเตนสังคหิตาสังคหิตปทนิทเทส
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๒๒] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอุเปกขินทรีย์
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และธาตุ ๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๑
[๔๒๓] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์
สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์
อัญญาตาวินทรีย์ อวิชชา สังขารที่เกิดเพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๒๔] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยวิญญาณที่เกิดเพราะมีสังขารเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๒๕] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐
[๔๒๖] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยเวทนาที่เกิดเพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๒. ทวาทสมนัย] ๑๒. สัมปยุตเตนสังคหิตาสังคหิตปทนิทเทส
[๔๒๗] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยตัณหาที่เกิดเพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย
อุปาทานที่เกิดเพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๒๘] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยโสกะ ทุกข์ โทมนัส
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๒๙] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอุปายาส สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๓๐] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอิทธิบาท
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๓๑] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยฌาน
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๓๒] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอัปปมัญญา อินทรีย์ ๕ พละ ๕
โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๒. ทวาทสมนัย] ๑๒. สัมปยุตเตนสังคหิตาสังคหิตปทนิทเทส
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๓๓] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยผัสสะ เจตนา มนสิการ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐
[๔๓๔] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยเวทนา สัญญา
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐
[๔๓๕] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยจิต
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๓๖] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอธิโมกข์
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๓
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๕
[๔๓๗] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขม-
สุขเวทนา สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจาร สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๒. ทวาทสมนัย] ๑๒. สัมปยุตเตนสังคหิตาสังคหิตปทนิทเทส
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๓๘] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็น
เหตุและมีเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๓๙] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่มีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาว-
ธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๔๐] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่
เป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและ
สัมปยุตด้วยอาสวะ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๔๑] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่
เป็นอาสวะ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๒. ทวาทสมนัย] ๑๒. สัมปยุตเตนสังคหิตาสังคหิตปทนิทเทส
[๔๔๒] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรมที่
เป็นคันถะ สภาวธรรมที่เป็นโอฆะ สภาวธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรม
ที่เป็นนิวรณ์ สภาวธรรมที่เป็นปรามาส สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและ
เป็นอารมณ์ของปรามาส
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๔๓] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๔๔] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นจิต
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๔๕] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิก สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต
และมีจิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน
และเกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและ
เป็นไปตามจิต
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๑๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๒. ทวาทสมนัย] รวมบทธรรมในทวาทสมนัย ๑๒๐ บท
[๔๔๖] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน สภาวธรรมที่
เป็นกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรม
ที่เป็นกิเลสและกิเลสทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุต
ด้วยกิเลส
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๔๗] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองแต่ไม่
เป็นกิเลส สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรม
ที่มีวิตก สภาวธรรมที่มีวิจาร สภาวธรรมที่มีปีติ สภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยปีติ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗

รวมบทธรรมในทวาทสมนัย ๑๒๐ บท
อรูปขันธ์ ๔ มนายตนะ ๑ วิญญาณธาตุ ๗
สัจจะ ๒ อินทรีย์ ๑๔
ปัจจยาการ ๑๒ บท ต่อจากปัจจยาการนั้น ๑๖ บท
ในติกะ ๘ บท ในโคจฉกะ ๔๓ บท
ในมหันตรทุกะ ๗ บท ในปิฏฐิทุกะ ๖ บท
บทธรรมเหล่านี้สงเคราะห์เข้าในนิเทศแห่งบทที่ ๙
สัมปยุตเตนสังคหิตาสังคหิตปทนิทเทสที่ ๑๒ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๑๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๓. เตรสมนัย] ๑๓. อสังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทส
๑๓. เตรสมนัย
๑๓. อสังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทส
[๔๔๘] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับรูปขันธ์
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๔๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับธัมมายตนะ ธัมมธาตุ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์
นามรูปที่เกิดเพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย อสัญญาภพ เอกโวการภพ
ชาติ ชรา มรณะ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๕๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับอรูปภพ เนวสัญญานาสัญญาภพ จตุโวการภพ อิทธิบาท
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๑๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๓. เตรสมนัย] ๑๓. อสังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทส
[๔๕๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นกุศล สภาวธรรมที่เป็นอกุศล สภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สภาว-
ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา สภาวธรรมที่เป็นวิบาก สภาว-
ธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน สภาวธรรมที่กิเลส
ทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ สภาว-
ธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะ สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ สภาวธรรมที่
มีปริตตะเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ สภาวธรรม
ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ สภาวธรรมชั้นต่ำ สภาวธรรมชั้นประณีต
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบ
และให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มี
มรรคเป็นเหตุ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี สภาวธรรมที่มีอดีต-
ธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรม
ที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายในตนและภายนอกตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีเหตุ สภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยเหตุ สภาวธรรมที่มีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๑๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๓. เตรสมนัย] ๑๓. อสังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๕๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นรูป
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๕๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ สภาว-
ธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะ
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่วิปปยุต
จากอาสวะและไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์
ของสังโยชน์ สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของคันถะ สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อารมณ์ของโอฆะ สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของโยคะ สภาวธรรมที่
ไม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์ สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
และไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๑๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๓. เตรสมนัย] ๑๓. อสังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทส
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๕๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิต
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิต สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิต สภาวธรรม
ที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่เกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่เป็นไป
ตามจิต สภาวธรรมที่เป็นภายนอก สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๕๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยอุปาทาน สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็น
อุปาทาน สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทาน สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่กิเลสไม่
ทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลส สภาวธรรมที่กิเลส
ทำให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลสแต่ไม่
เป็นกิเลส สภาวธรรมที่วิปปยุตจากกิเลสและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
สภาวธรรมที่มีวิตก สภาวธรรมที่มีวิจาร สภาวธรรมที่มีปีติ สภาวธรรม

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๑๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๓. เตรสมนัย] รวมบทธรรมในเตรสมนัย ๒๒ บท
ที่สหรคตด้วยปีติ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยอุเบกขา สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจร สภาวธรรมที่เป็นรูปาวจร
สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจร สภาวธรรมที่ไม่นับเนื่องในวัฏฏทุกข์
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน
สภาวธรรมที่ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

รวมบทธรรมในเตรสมนัย ๒๒ บท
รูป ๑ ธัมมายตนะ ๑ ธัมมธาตุ ๑
อิตถินทรีย์ ๑ ปุริสินทรีย์ ๑ ชีวิตินทรีย์ ๑
นามรูป ๑ ภพ ๒ (อสัญญีภพและเอกโวการภพ)
ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑ บทที่เป็นรูป ๑ อนารัมมณบท ๑
โนจิตตบท ๑ จิตตวิปปยุตตบท ๑
จิตตวิสังสัฏฐบท ๑ จิตตสมุฏฐานบท ๑ จิตตสหภูบท ๑
จิตตานุปริวัตติบท ๑ พาหิรบท ๑ อุปาทาบท ๑
นัย ๒๒ บทนี้เป็นวิสัยแห่งปุจฉาและวิสัชนา
อสังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทสที่ ๑๓ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๑๖ }


>>>>> หน้าต่อไป >>>>>





eXTReMe Tracker