| ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง | ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ม.4 |ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ม.5 |ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ม.6 | สาระการเรียนรู้พื้นฐาน | สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม | คำอธิบายรายวิชา ม. 4 | หน่วยการเรียนรู้ ม. 4 | คำอธิบายรายวิชา ม. 5 | หน่วยการเรียนรู้ ม. 5 | คำอธิบายรายวิชา ม. 6 | หน่วยการเรียนรู้ ม. 6 |

 

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

Top

 

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ชั้น ม. 4

Top

สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.1 : เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐานการเรียนรู้ชั้น ม. 4

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายภาค

ภาคเรียนที่ 1

ภาคเรียนที่ 2

1. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายโครงสร้างอะตอม ชนิดและจำนวนอนุภาคมูลฐานของอะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ วิเคราะห์และเปรียบเทียบการจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่าง ๆ ในอะตอมอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัติของธาตุและการเกิดปฏิกิริยา

2. สำรวจตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติ สารประกอบ และเลขอะตอมของธาตุ อธิบายการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ และทำนายแนวโน้มของสมบัติของธาตุใน
ตารางธาตุ

 

 

 

 

 

1. สืบค้นข้อมูล ภิปราย และอธิบายโครงสร้างอะตอม ชนิดและจำนวนอนุภาคมูลฐานของอะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ

2. วิเคราะห์ และเปรียบเทียบการจัดอิเล็ก-ตรอนในระดับพลังงานต่าง ๆ ในอะตอม

3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัติของธาตุและการเกิดปฏิกิริยา

1. สำรวจตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติของธาตุในตารางธาตุ

2. อธิบายการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ และทำนายแนวโน้มของสมบัติของธาตุในตารางธาตุ

 

มาตรฐานการเรียนรู้ชั้น ม. 4

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายภาค

ภาคเรียนที่ 1

ภาคเรียนที่ 2

3. สำรวจตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูล อภิปราย และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโมเลกุล หรือในโครงผลึกของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารในเรื่องจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะ กับบแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารนั้น

1. สำรวจตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูล อภิปราย และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโมเลกุล หรือในโครงผลึกของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารในเรื่องจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะ กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารนั้น

2. สำรวจตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูล อภิปราย และอธิบายการความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารในเรื่องจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะ กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารนั้น

1. สืบค้นข้อมูล และอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติของสารที่มีความสัมพันธ์กับแรงที่กระทำระหว่างอนุภาคของสารนั้น ซึ่งพิจารณาได้จากโครงสร้างโมเลกุล (ได้แก่ ชนิดของอะตอมของธาตุ ชนิดและความยาวพันธะ มุมระหว่างพันธะ)

2. สืบค้นข้อมูล อภิปรายเกี่ยวกับระยะห่างระหว่างอนุภาคของสาร มุมระหว่างโมเลกุลหรืออะตอม และพลังงานที่ยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคไว้ด้วยกัน ซึ่งมีผลทำให้สมบัติของสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊สแตกต่างกัน

3. อภิปรายสมบัติของก๊าซที่แตกต่างจากสารในสถานะอื่น ๆ สมบัติของก๊าซที่อธิบายได้ด้วยทฤษฎีจลน์ของก๊าซ กฎของก๊าซ

 

สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.2 : เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมี มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐานการเรียนรู้ชั้น ม. 4

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายภาค

ภาคเรียนที่ 1

ภาคเรียนที่ 2

1. สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และเขียนสมการของปฏิกิริยาเคมีทั่วไปที่พบในชีวิตประจำวัน รวมทั้งสารที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่จะมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

 

2. สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การนำความรู้เกี่ยวกับการควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

3. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับกระบวนการและผลิตภัณฑ์จากการแยกก๊าซธรรมชาติ การกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบประโยชน์ ของผลิตภัณฑ์
ต่าง ๆ ที่ได้จากการกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบ รวมถึงอันตรายหรือมลภาวะที่อาจเกิดขึ้นจากสารในผลิตภัณฑ์ทั้งก่อนหรือหลังการนำไปใช้ประโยชน์

 

1. สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และเขียนสมการของปฏิกิริยาเคมีทั่วไปที่พบในชีวิตประจำวัน

2. สำรวจตรวจสอบ และอภิปรายเกี่ยวกับสารที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่จะมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

 

 

 

 

1. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับกระบวนการและผลิตภัณฑ์จากการแยกก๊าซธรรมชาติ การกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบ

2. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับประโยชน์ ของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ได้จากการ
กลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบ รวมถึงอันตรายหรือมลภาวะที่อาจเกิดขึ้นจากสารในผลิตภัณฑ์ทั้งก่อนหรือหลังการนำไปใช้ประโยชน์

 

 

มาตรฐานการเรียนรู้ชั้น ม. 4

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายภาค

ภาคเรียนที่ 1

ภาคเรียนที่ 2

 

 

 

 

 

4. สังเกต สำรวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล อภิปราย อธิบายการเกิดและสมบัติของพอลิเมอร์ การนำพอลิเมอร์ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม

 

 

5. สืบค้นข้อมูล สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และอธิบายองค์ประกอบ สมบัติ ประโยชน์ และปฏิกิริยาของคาร์โบไฮเดรต ไขมันและกรดไขมัน โปรตีนและกรด
อะมิโน

3. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับอันตรายหรือมลภาวะที่อาจเกิดขึ้นจากสารในผลิตภัณฑ์ทั้งก่อนหรือหลังการนำไปใช้ประโยชน์

1. สังเกต สำรวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายการเกิดและสมบัติของพอลิเมอร์

2. สังเกต สำรวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายการนำพอลิเมอร์ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม

1. สืบค้นข้อมูล สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และอธิบายองค์ประ-กอบ สมบัติ ประโยชน์ และปฏิกิริยาของคาร์โบไฮเดรต ไขมันและกรดไขมัน โปรตีน และกรดอะมิโน

 

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ชั้น ม. 5

Top

สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.1 : เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐานการเรียนรู้ชั้น ม. 5

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายภาค

ภาคเรียนที่ 1

ภาคเรียนที่ 2

1. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายโครงสร้างอะตอม ชนิดและจำนวนอนุภาคมูลฐานของอะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ วิเคราะห์และเปรียบเทียบการจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่าง ๆ ในอะตอมอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัติของธาตุและการเกิดปฏิกิริยา

2. สำรวจตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติ สารประกอบ และเลขอะตอมของธาตุ อธิบายการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ และทำนายแนวโน้มของสมบัติของธาตุใน
ตารางธาตุ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1. ทดลอง สืบค้นข้อมูล อภิปรายเกี่ยวกับสมบัติของธาตุและการนำไปใช้ประโยชน์

2. ทดลอง สืบค้นข้อมูล อภิปรายเกี่ยวการจัดธาตุในตารางธาตุอาศัยสมบัติบางประการของธาตุที่คล้ายกันและเกณฑ์อื่น ๆ

3. ทดลอง สืบค้นข้อมูล อภิปรายเกี่ยวกับอธิบายแนวโน้มของสมบัติของธาตุในตารางธาตุและสารประกอบของธาตุตามหมู่และตามคาบ

 

 

 

 

มาตรฐานการเรียนรู้ชั้น ม. 5

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายภาค

ภาคเรียนที่ 1

ภาคเรียนที่ 2

3. สำรวจตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูล อภิปราย และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโมเลกุล หรือในโครงผลึกของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารในเรื่องจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะ กับบแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารนั้น

1. ทดลอง สืบค้นข้อมูล อภิปรายการเกิดปฏิกิริยาเคมีซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงพลังงานเนื่องจากมีการสลายพันธะเดิมและสร้างพันธะใหม่

2. ทดลอง สืบค้นข้อมูล อภิปรายเกี่ยวกับการเขียนสมการแสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมี

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.2 : เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมี มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐานการเรียนรู้ชั้น ม. 5

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายภาค

ภาคเรียนที่ 1

ภาคเรียนที่ 2

1. สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และเขียนสมการของปฏิกิริยาเคมีทั่วไปที่พบในชีวิตประจำวัน รวมทั้งสารที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่จะมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1. สืบค้นข้อมูล อภิปรายเกี่ยวกับธาตุกัมมันตรังสีซึ่งสามารถแผ่รังสีได้ และเกิดจากปฏิกิริยาแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น ๆ

2. สืบค้นข้อมูล อภิปรายเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาของธาตุกัมมันตรังสีซึ่งแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น ๆ

3. สืบค้นข้อมูล อภิปรายเกี่ยวกับการนำไอโซโทปกัมมันตรังสีไปใช้ประโยชน์ทางด้านการแพทย์ การเกษตรและอุตสาหกรรม

4. สืบค้นข้อมูล อภิปรายเกี่ยวกับการใช้ธาตุกัมมันตรังสีอย่างถูกต้องปลอดภัยและไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

5. อภิปรายเกี่ยวกับปริมาณสัมพันธ์ของสารทุกสารที่ปรากฏในสมการเคมีที่ดุลแล้ว

6. อภิปรายเกี่ยวกับปริมาณสัมพันธ์ของสารในการคำนวณหาจำนวนอนุภาค โมล มวล หรือปริมาตร

7. อภิปรายเกี่ยวกับปริมาณสัมพันธ์ของสารในการคำนวณหาสูตรอย่างง่าย และสูตรโมเลกุล

 

 

 

มาตรฐานการเรียนรู้ชั้น ม. 5

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายภาค

ภาคเรียนที่ 1

ภาคเรียนที่ 2

2. สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การนำความรู้เกี่ยวกับการควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

 

 

 

 

 

 

 

 

3. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับกระบวนการและผลิตภัณฑ์จากการแยกก๊าซธรรมชาติ การกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบประโยชน์ ของผลิตภัณฑ์
ต่าง ๆ ที่ได้จากการกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบ รวมถึงอันตรายหรือมลภาวะที่อาจเกิดขึ้นจากสารในผลิตภัณฑ์ทั้งก่อนหรือหลังการนำไปใช้ประโยชน์

 

1. สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

2. สำรวจตรวจสอบ ทดลอง อภิปราย และอธิบายปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

3. สำรวจตรวจสอบ ทดลอง อภิปราย และอธิบายการนำความรู้เกี่ยวกับการควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

4. อภิปรายเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่กล่าวว่าปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้เมื่ออนุภาคของสารตั้งต้นมีการชนกันในทิศทางที่เหมาะสมและมีพลังงานสูงเพียงพอ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1. ทดลอง สำรวจตรวจสอบ และอภิปรายเกี่ยวกับประเภท โครงสร้าง สมบัติ การเกิดปฏิกิริยา และการนำไปใช้ประโยชน์ของสารประกอบคาร์บอน

2. ทดลอง สำรวจตรวจสอบ และอภิปรายเกี่ยวกับประเภทของสารประกอบคาร์บอน เช่น ไฮโดรคาร์บอน กรดอินทรีย์ แอลกอฮอล์ เอสเทอร์ โดยที่สารแต่ละประเภทจะมีโครงสร้าง สมบัติ การเกิดปฏิกิริยา และการนำไปใช้ประโยชน์แตกต่างกัน

 

 

 

 

มาตรฐานการเรียนรู้ชั้น ม. 5

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายภาค

ภาคเรียนที่ 1

ภาคเรียนที่ 2

4. สังเกต สำรวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล อภิปราย อธิบายการเกิดและสมบัติของพอลิเมอร์ การนำพอลิเมอร์ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม

 

 

 

 

 

 

 

5. สืบค้นข้อมูล สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และอธิบายองค์ประกอบ สมบัติ ประโยชน์ และปฏิกิริยาของคาร์โบไฮเดรต ไขมันและกรดไขมัน โปรตีนและกรดอะมิโน

 

 

1. สังเกต สำรวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายการเกิดและสมบัติของพอลิเมอร์

2. สังเกต สำรวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายการนำพอลิเมอร์ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม

3. สืบค้นข้อมูล และอภิปรายเกี่ยวกับพอลิเมอร์ ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์ และการนำไปใช้ประโยชน์

1. สืบค้นข้อมูล สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และอธิบายองค์ประ-กอบ สมบัติ ประโยชน์ และปฏิกิริยาของคาร์โบไฮเดรต ไขมันและกรดไขมัน โปรตีน และกรดอะมิโน

2. ทดลอง สืบค้นข้อมูล และอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติ โครงสร้าง และการเกิดปฏิกิริยาของคาร์โบไฮเดรต ไขมันและน้ำมัน โปรตีน กรดนิวคลีอิก เอนไซม์ และฮอร์โมน

3. ทดลอง สืบค้นข้อมูล และอภิปรายเกี่ยวกับความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของคาร์โบไฮเดรต ไขมันและน้ำมัน โปรตีน กรดนิวคลีอิก เอนไซม์ และฮอร์โมน

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ชั้น ม. 6

Top

สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.1 : เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐานการเรียนรู้ชั้น ม. 6

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายภาค

ภาคเรียนที่ 1

ภาคเรียนที่ 2

1. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายโครงสร้างอะตอม ชนิดและจำนวนอนุภาคมูลฐานของอะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ วิเคราะห์และเปรียบเทียบการจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่าง ๆ ในอะตอมอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัติของธาตุและการเกิดปฏิกิริยา

2. สำรวจตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติ สารประกอบ และเลขอะตอมของธาตุ อธิบายการจัดเรียงธาตุใน
ตารางธาตุ และทำนายแนวโน้มของสมบัติของธาตุใน
ตารางธาตุ

3. สำรวจตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูล อภิปราย และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโมเลกุล หรือในโครงผลึกของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารในเรื่องจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะ กับบแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารนั้น

   

สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.2 : เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมี มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐานการเรียนรู้ชั้น ม. 6

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายภาค

ภาคเรียนที่ 1

ภาคเรียนที่ 2

1. สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และเขียนสมการของปฏิกิริยาเคมีทั่วไปที่พบในชีวิตประจำวัน รวมทั้งสารที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่จะมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

 

 

 

2. สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การนำความรู้เกี่ยวกับการควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

 

 

 

1. ทดลอง อภิปรายปฏิกิริยาของสารบางชนิดที่เป็นปฏิกิริยาที่ผันกลับได้เมื่อการเปลี่ยนแปลงดำเนินถึงภาวะสมดุล

2. อภิปรายและคำนวณหาค่าคงที่สมดุล และความสัมพันธ์ของความเข้มข้นของสารต่าง ๆ ณ ภาวะสมดุลได้

3. ทดลอง อภิปรายการรบกวนสมดุลโดยการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ความเข้มข้น หรือความดันซึ่งมีผลทำให้ภาวะสมดุลเปลี่ยนแปลง

1. ทดลอง และอภิปรายการรบกวนภาวะสมดุลในปฏิกิริยาผันกลับได้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้

2. อภิปรายเกี่ยวกับความเป็นกรด-เบสของสารตามทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนียส เบรินสเตด–ลาวรี ลิวอิส ความแรงของกรด–เบส

3. การอภิปรายเกี่ยวกับกรดและเบสที่มีความแรงแตกต่างกันจะแตกตัวเป็นไอออนได้แตกต่างกัน จึงสามารถนำปริมาณไอออนมาคำนวณหาค่า pH ค่าคงที่สมดุลของกรดและเบสในสารละลายกรด–เบสได้

1. ทดลอง อภิปรายเกี่ยวกับปฏิกิริยารีดอกซ์ซึ่งเป็นปฏิกิริยาเคมีที่มีการที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างไอออน อะตอม หรือโมเลกุลที่มีความสามารถในการให้และรับอิเล็กตรอนแตกต่างกัน

2. การทดลอง การอภิปรายการเกิดปฏิกิริยารีดอกซ์ในเซลล์ไฟฟ้าเคมี ซึ่งมีทั้งชนิดที่ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า และชนิดที่ต้องผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในระบบ

1. ทดลอง สืบค้นข้อมูลการนำหลักการของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์ไฟฟ้าเคมีไปใช้ประโยชน์ เช่น ใช้เป็นแหล่งพลังงานไฟฟ้า ใช้แยกและทำโลหะให้บริสุทธิ์ ใช้ชุบโลหะ ป้องกันการผุกร่อนของโลหะ

 

มาตรฐานการเรียนรู้ชั้น ม. 6

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายภาค

ภาคเรียนที่ 1

ภาคเรียนที่ 2

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับกระบวนการและผลิตภัณฑ์จากการแยกก๊าซธรรมชาติ การกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบประโยชน์ ของผลิตภัณฑ์
ต่าง ๆ ที่ได้จากการกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบ รวมถึงอันตรายหรือมลภาวะที่อาจเกิดขึ้นจากสารในผลิตภัณฑ์ทั้งก่อนหรือหลังการนำไปใช้ประโยชน์

 

4. การอภิปรายปฏิกิริยาระหว่าง H3O+ จากกรด กับ OH– จากเบสได้น้ำเป็นผลิตภัณฑ์ ซึ่งเรียกว่าปฏิกิริยาสะเทิน และสามารถหาจุดยุติในปฏิกิริยาได้ด้วยวิธีการต่าง ๆ

5. การทดลอง การอภิปรายการเกิดเกลือจากปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสหรือสารอื่น เกลือที่เกิดขึ้นเมื่อละลายน้ำอาจมีสมบัติเป็นกรด เบส หรือกลางก็ได้

6. การทดลอง การอภิปรายเกี่ยวกับสารละลายบางชนิดที่มีสมบัติเป็นบัฟเฟอร์ ซึ่งเมื่อหยดสารละลายกรดหรือเบสปริมาณเพียงเล็กน้อยจะไม่ทำให้ค่า pH เปลี่ยนแปลง สารละลายบัฟเฟอร์พบทั้งในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ม.4 - ม.6

Top

 

1. การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย และการอธิบายโครงสร้างอะตอม ชนิดและจำนวนอนุภาคมูลฐานของอะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ

2. การวิเคราะห์ และการเปรียบเทียบการจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่าง ๆ ในอะตอม การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัติของธาตุและการเกิดปฏิกิริยา

3. การสำรวจตรวจสอบ และการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติ สารประกอบ และเลขอะตอมของธาตุ

4. การอธิบายการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ และทำนายแนวโน้มของสมบัติของธาตุในตารางธาตุ

5. การสำรวจตรวจสอบ การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปราย และการอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโมเลกุล หรือในโครงผลึกของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารในเรื่องจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะ กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารนั้น

6. การสำรวจตรวจสอบ การอภิปราย และการเขียนสมการของปฏิกิริยาเคมีทั่วไปที่พบในชีวิตประจำวัน รวมทั้งสารที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่จะมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

7. การสำรวจตรวจสอบ การอภิปราย และการอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การนำความรู้เกี่ยวกับการควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

8. การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย และการอธิบายเกี่ยวกับกระบวนการและผลิตภัณฑ์จากการแยกก๊าซธรรมชาติ การกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบประโยชน์ ของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ได้จากการกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบ รวมถึงอันตรายหรือมลภาวะที่อาจเกิดขึ้นจากสารในผลิตภัณฑ์ทั้งก่อนหรือหลังการนำไปใช้ประโยชน์

9. การสังเกต การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การอธิบายการเกิดและสมบัติของพอลิเมอร์ การนำพอลิเมอร์ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม

10. การสืบค้นข้อมูล การสำรวจตรวจสอบ การอภิปราย และการอธิบายองค์ประกอบ สมบัติ ประโยชน์ และปฏิกิริยาของคาร์โบไฮเดรต ไขมันและกรดไขมัน โปรตีน และกรดอะมิโน

 

สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  ช่วงชั้น ม.4 - ม.6

Top

 

1. การทดลอง การสืบค้นข้อมูล การอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติของธาตุและการนำไปใช้ประโยชน์ การจัดธาตุในตารางธาตุอาศัยสมบัติบางประการของธาตุที่คล้ายกันและเกณฑ์อื่น ๆ การอธิบายแนวโน้มของสมบัติของธาตุในตารางธาตุและสารประกอบของธาตุตามหมู่และตามคาบ

2. การสืบค้นข้อมูล การอภิปรายเกี่ยวกับธาตุกัมมันตรังสีซึ่งสามารถแผ่รังสีได้ และเกิดจากปฏิกิริยาแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น ๆ การนำไอโซโทปกัมมันตรังสีไปใช้ประโยชน์ทางด้านการแพทย์ การเกษตรและอุตสาหกรรม การใช้ธาตุกัมมันตรังสีอย่างถูกต้องปลอดภัยและไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

3. การสืบค้นข้อมูล การอภิปรายเกี่ยวกับการเกิดพันธะไอออนิกซึ่งทำให้เกิดเป็นสารประกอบไอออนิก การเกิดพันธะโคเวเลนต์ทำให้เกิดเป็นโมเลกุลโคเวเลนต์ โดยสารประกอบที่เกิดขึ้น อาจมีโครงสร้างของผลึกหรือโมเลกุลต่าง ๆ กัน มีสมบัติ การเขียนสูตรและมีชื่อเฉพาะ รวมทั้งการอภิปรายการเกิดพันธะโลหะ การอธิบายสมบัติบางประการของโลหะ

4. การสืบค้นข้อมูล การอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติของสารที่มีความสัมพันธ์กับแรงที่กระทำระหว่างอนุภาคของสารนั้น ซึ่งพิจารณาได้จากโครงสร้างโมเลกุล (ได้แก่ ชนิดของอะตอมของธาตุ ชนิดและความยาวพันธะ มุมระหว่างพันธะ)

5. การสืบค้นข้อมูล การอภิปรายเกี่ยวกับระยะห่างระหว่างอนุภาคของสาร มุมระหว่างโมเลกุลหรืออะตอม และพลังงานที่ยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคไว้ด้วยกัน ซึ่งมีผลทำให้สมบัติของสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊สแตกต่างกัน

6. การอภิปรายสมบัติของก๊าซที่แตกต่างจากสารในสถานะอื่น ๆ สมบัติของก๊าซที่อธิบายได้ด้วยทฤษฎีจลน์ของก๊าซ กฎของก๊าซ

7. การทดลอง การอภิปรายเกี่ยวกับการเตรียมสารละลาย สถานะของสารละลายที่พบได้ทั้งของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ และการบอกความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยต่าง ๆ เช่น โมลาริตี โมแลลิตี การทดลอง การสืบค้นข้อมูล การอภิปรายสมบัติบางประการของสารละลายที่แตกต่างจากสารบริสุทธิ์ ปริมาณและชนิดของตัวละลายจะมีความสัมพันธ์กับจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสารละลาย

8. การทดลอง การสืบค้นข้อมูล การอภิปรายการเกิดปฏิกิริยาเคมีซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงพลังงานเนื่องจากมีการสลายพันธะเดิมและสร้างพันธะใหม่ และการเขียนสมการแสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมี

9. การอภิปรายเกี่ยวกับปริมาณสัมพันธ์ของสารทุกสารที่ปรากฏในสมการเคมีที่ดุลแล้ว ปริมาณสัมพันธ์ของสารดังกล่าวกันสามารถใช้คำนวณหาจำนวนอนุภาค โมล มวล หรือปริมาตร สูตรอย่างง่าย และสูตรโมเลกุล

10. การอภิปรายเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่กล่าวว่าปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้เมื่ออนุภาคของสารตั้งต้นมีการชนกันในทิศทางที่เหมาะสมและมีพลังงานสูงเพียงพอ

11. การทดลอง การอภิปรายปฏิกิริยาเคมีที่มีอัตราเร็วแตกต่างกัน การทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีการเปลี่ยนปัจจัยต่าง ๆ

12. การทดลอง การอภิปรายเกี่ยวกับปฏิกิริยารีดอกซ์ซึ่งเป็นปฏิกิริยาเคมีที่มีการที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างไอออน อะตอม หรือโมเลกุลที่มีความสามารถในการให้และรับอิเล็กตรอนแตกต่างกัน

13. การทดลอง การอภิปรายการเกิดปฏิกิริยารีดอกซ์ในเซลล์ไฟฟ้าเคมี ซึ่งมีทั้งชนิดที่ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า และชนิดที่ต้องผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในระบบ

14. การทดลอง การสืบค้นข้อมูลการนำหลักการของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์ไฟฟ้าเคมีไปใช้ประโยชน์ เช่น ใช้เป็นแหล่งพลังงานไฟฟ้า ใช้แยกและทำโลหะให้บริสุทธิ์ ใช้ชุบโลหะ ป้องกันการผุกร่อนของโลหะ

15. การทดลอง การอภิปรายปฏิกิริยาของสารบางชนิดที่เป็นปฏิกิริยาที่ผันกลับได้เมื่อการเปลี่ยนแปลงดำเนินถึงภาวะสมดุล จะสามารถคำนวณหาค่าคงที่สมดุล และความสัมพันธ์ของความเข้มข้นของสารต่าง ๆ ณ ภาวะสมดุลได้

16. การทดลอง การอภิปรายการรบกวนสมดุลโดยการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ความเข้มข้น หรือความดันซึ่งมีผลทำให้ภาวะสมดุลเปลี่ยนแปลง การรบกวนภาวะสมดุลในปฏิกิริยาผันกลับได้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้

17. การทดลอง การอภิปรายเกี่ยวกับประเภทของสารประกอบคาร์บอน เช่น ไฮโดรคาร์บอน กรดอินทรีย์ แอลกอฮอล์ เอสเทอร์ โดยที่สารแต่ละประเภทจะมีโครงสร้าง สมบัติ การเกิดปฏิกิริยา และการนำไปใช้ประโยชน์แตกต่างกัน

18. การสืบค้นข้อมูล และการอภิปรายเกี่ยวกับพอลิเมอร์ ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์ และการนำไปใช้ประโยชน์

19. การทดลอง การสืบค้นข้อมูล การอภิปรายเกี่ยวกับคาร์โบไฮเดรต ไขมันและน้ำมัน โปรตีน กรดนิวคลีอิก เอนไซม์ และฮอร์โมน ซึ่งเป็นสารที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต สารแต่ละชนิดมีสมบัติ โครงสร้าง และการเกิดปฏิกิริยาแตกต่างกัน

20. การอภิปรายเกี่ยวกับความเป็นกรด-เบสของสารตามทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนียส เบรินสเตด–ลาวรี ลิวอิส ความแรงของกรด–เบส

21. การอภิปรายเกี่ยวกับกรดและเบสที่มีความแรงแตกต่างกันจะแตกตัวเป็นไอออนได้แตกต่างกัน จึงสามารถนำปริมาณไอออนมาคำนวณหาค่า pH ค่าคงที่สมดุลของกรดและเบสในสารละลายกรด–เบสได้

22. การอภิปรายปฏิกิริยาระหว่าง H3O+ จากกรด กับ OH– จากเบสได้น้ำเป็นผลิตภัณฑ์ ซึ่งเรียกว่าปฏิกิริยาสะเทิน และสามารถหาจุดยุติในปฏิกิริยาได้ด้วยวิธีการต่าง ๆ

23. การทดลอง การอภิปรายการเกิดเกลือจากปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสหรือสารอื่น เกลือที่เกิดขึ้นเมื่อละลายน้ำอาจมีสมบัติเป็นกรด เบส หรือกลางก็ได้

24. การทดลอง การอภิปรายเกี่ยวกับสารละลายบางชนิดที่มีสมบัติเป็นบัฟเฟอร์ ซึ่งเมื่อหยดสารละลายกรดหรือเบสปริมาณเพียงเล็กน้อยจะไม่ทำให้ค่า pH เปลี่ยนแปลง สารละลายบัฟเฟอร์พบทั้งในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นกับการจัดสาระการเรียนรู้รายภาค

Top

 

มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
ม. 4 – ม. 6

สาระการเรียนรู้รายภาคเรียนที่

ม. 4

ม. 5

ม. 6

1

2

1

2

1

2

ว 3.1

1. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายโครงสร้างอะตอม ชนิดและจำนวนอนุภาคมูลฐานของอะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ วิเคราะห์และเปรียบเทียบการจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่าง ๆ ในอะตอมอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัติของธาตุและการเกิดปฏิกิริยา

2. สำรวจตรวจสอบ และวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติ สารประกอบ และเลขอะตอมของธาตุ อธิบายการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ และทำนายแนวโน้มของสมบัติของธาตุในตารางธาตุ

3. สำรวจตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูล อภิปราย และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโมเลกุล หรือในโครงผลึกของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารในเรื่องจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะ กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารนั้น

ข้อ 1, 2

 

 

 

 

 

ข้อ 3, 4

 

 

ข้อ 5,

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อ พ3

พ4, พ5

พ6

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อ พ1

 

 

พ8

 

 

 

 

 

 

 

 

 

พ20

 

 

พ12

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
ม. 4 – ม. 6

สาระการเรียนรู้รายภาคเรียนที่

ม. 4

ม. 5

ม. 6

1

2

1

2

1

2

ว 3.2

1. สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และเขียนสมการของปฏิกิริยาเคมีทั่วไปที่พบในชีวิตประจำวัน รวมทั้งสารที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่จะมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

2. สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การนำความรู้เกี่ยวกับการควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

3. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับกระบวนการและผลิตภัณฑ์จากการแยกก๊าซธรรมชาติ การกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบประโยชน์ ของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ได้จากการกลั่นลำดับส่วน น้ำมันดิบ รวมถึงอันตรายหรือมลภาวะที่อาจเกิดขึ้นจากสารในผลิตภัณฑ์ทั้งก่อนหรือหลังการนำไปใช้ประโยชน์

4. สังเกต สำรวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล อภิปราย อธิบายการเกิดและสมบัติของพอลิเมอร์ การนำพอลิเมอร์ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม

5. สืบค้นข้อมูล สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และอธิบายองค์ประกอบ สมบัติ ประโยชน์ และปฏิกิริยาของคาร์โบไฮเดรต ไขมันและกรดไขมัน โปรตีนและกรด
อะมิโน

 

ข้อ 6

 

 

ข้อ 7

 

 

 

ข้อ 8

 

 

 

 

 

ข้อ 9

 

ข้อ 10

 

 

 

พ1

 

พ2

พ9

พ10

พ11

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

พ17

 

 

 

 

 

พ18

 

พ19

 

 

พ15

พ21

พ23

พ24

พ16

พ13

พ14

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คำอธิบายรายวิชา ชั้น ม. 4

Top

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา วิทยาศาสตร์ 1001                                     ภาคเรียนที่ 1                                                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

หน่วยการเรียนรู้  5  หน่วย                                 จำนวน 1.5 หน่วยกิต                                                     เวลา  60  ชั่วโมง

 

ศึกษาวิเคราะห์ โครงสร้างอะตอมของธาตุ แนวคิดในการพัฒนาแบบจำลองอะตอมของดอลตัน แบบจำลองอะตอมของทอมสัน แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด แบบจำลองอะตอมของโบร์ แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก อนุภาคมูลฐานสัญลักษณ์นิวเคลียร์ และการจัดอิเล็กตรอนในอะตอม ตารางธาตุ สัญลักษณ์ของธาตุ การเกิดสารประกอบคลอไรด์และออกไซด์ ประโยชน์และโทษของสารประกอบคลอไรด์และออกไซด์ต่อสิ่งมีชีวิตและสี่งแวดล้อม วิวัฒนาการของตารางธาตุ ตารางธาตุปัจจุบัน และแนวโน้มสมบัติตารางธาตุ การเกิดพันธะเคมีในโมเลกุลเป็นพันธะโคเวเลนต์และพันธะไอออนิก การเกิดผลึกและโครงสร้างของผลึก ผลึกที่พบในชีวิตประจำวัน แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารที่มีผลต่อความดันไอของสาร จุดหลอมเหลว จุดเดือด การเขียนและการดุลสมการเคมี ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวันผลของสารเคมีที่มีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเกี่ยวกับความเข้มข้น พื้นที่ผิว อุณหภูมิ ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี การใช้ประโยชน์จากการควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน การกลั่นน้ำมัน การแยกก๊าซธรรมชาติ ปิโตรเคมีภัณฑ์ พอลิเมอร์ ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ โครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ การใช้ประโยชน์จากพอลิเมอร์และผลกระทบที่เกิดกับสิ่งมัชัวิตและสิ่งแวดล้อม ศึกษาวิเคราะห์อาหารกับการดำรงชีวิต สมบัติและปฏิกิริยาของไขมันและน้ำมัน โปรตีน กรดอะมิโน และคาร์โบไฮเดรต โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การทดลอง การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

 

หน่วยการเรียนรู้  ชั้น ม.4

Top

รายวิชา วิทยาศาสตร์ 1001                                     ภาคเรียนที่ 1                                                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

หน่วยการเรียนรู้  5  หน่วย                                 จำนวน 1.5 หน่วยกิต                                                     เวลา  60  ชั่วโมง  

หน่วยการเรียนรู้ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

1

อะตอมและตารางธาตุ

      1.1 แนวคิดในการพัฒนาแบบจำลองอะตอม

      1.2 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน

      1.3 แบบจำลองอะตอมของทอมสัน

      1.4 แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

                                                        1.4.1 อนุภาคมูลฐานของอะตอม

                                                        1.4.2 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ

                                                        – เลขอะตอม เลขมวล ไอโซโทป

      1.5 แบบจำลองอะตอมของโบร์

                                                        1.5.1 คลื่นและสมบัติของคลื่น

                                                        1.5.2 สเปกตรัม

                                                        1.5.3 สเปกตรัมของธาตุและการแปลความหมาย

      1.6 แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

      1.7 พลังงานไอออไนเซชัน

                                                        1.7.1 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม

      1.8 ตารางธาตุ

                                                        1.8.1 สัญลักษณ์ของธาตุ

                                                        1.8.2 สารประกอบคลอไรด์และออกไซด์

                                                        – ประโยชน์และโทษของสารประกอบคลอไรด์และ

                                                           ออกไซด์ต่อสิ่งมีชีวิตและสี่งแวดล้อม

                                                        1.8.3 วิวัฒนาการของตารางธาตุ

                                                        1.8.4 ตารางธาตุปัจจุบัน

                                                        1.8.5 แนวโน้มสมบัติตารางธาตุ

21

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2

การเกิดพันธะเคมี

      2.1 การเกิดพันธะเคมีในโมเลกุล

                                                        2.1.1 พันธะโคเวเลนต์

                                                        2.2.2 พันธะไอออนิก

      2.2 โครงผลึกของสาร

                                                        2.2.1 การเกิดผลึกและโครงสร้างของผลึก

13

 

 

หน่วยการเรียนรู้ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

 

                                                        2.2.2 ผลึกที่พบในชีวิตประจำวัน

      2.3 แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร

                                                        2.3.1 แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล

                                                        2.3.2 ความดันไอของสาร จุดหลอมเหลว จุดเดือด

      2.4 สมการเคมี

                                                        2.4.1 การเขียนและการดุลสมการเคมี

                                                        2.4.2 ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน

                                                        2.4.3 ผลของสารเคมีที่มีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม

 

3

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

      3.1 ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

             3.2 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

                                                        3.2.1 ความเข้มข้นกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

                                                        3.2.2 พื้นที่ผิวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

                                                        3.2.1 อุณหภูมิกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

                                                        3.2.1 ตัวเร่งและตัวหน่วงกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

             3.3 การใช้ประโยชน์จากการควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน

6

4

ปิโตรเคมีภัณฑ์

      4.1 ปิโตรเลียม

                                                        4.1.1 การกลั่นน้ำมัน

                                                        4.1.2 การแยกก๊าซธรรมชาติ

                                                        4.1.3 ปิโตรเคมีภัณฑ์

      4.2 พอลิเมอร์

                                                        4.2.1 ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์

                                                        4.2.2 โครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์

             4.3 การใช้ประโยชน์จากพอลิเมอร์

10

5

สารอาหาร

      5.1 อาหารกับการดำรงชีวิต

      5.2 อาหารกับสารชีวโมเลกุล

                                                        5.2.1 ไขมันและกรดไขมัน

                                                        – สมบัติและปฏิกิริยาของไขมันและน้ำมัน

                                                        5.2.2 โปรตีนและกรดอะมิโน

                                                        – กรดอะมิโน

                                                        – พันธะเปปไตด์ในโปรตีน

                                                        5.2.3 คาร์โบไฮเดรต

10

   

 

 

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา วิทยาศาสตร์ 1002                                     ภาคเรียนที่ 2                                                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

หน่วยการเรียนรู้  5  หน่วย                                 จำนวน 1.5 หน่วยกิต                                                     เวลา  60  ชั่วโมง

 

ศึกษาวิเคราะห์ สมบัติของก๊าซในด้านปริมาตร การแพร่ของก๊าซ การใช้ทฤษฎีจลน์อธิบายสมบัติของก๊าซ สมบัติของของเหลวเกี่ยวกับการระเหย ความสัมพันธ์ระหว่างความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว สมบัติของของแข็ง การเปลี่ยนสถานะของของแข็ง และการจัดเรียงอนุภาคในของแข็ง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับก๊าซ ของเหลว และของแข็ง ผลึกเหลว พลาสมา การทำน้ำแข็งแห้ง และการทำไนโตรเจนเหลว แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารที่มีผลต่อการเกิดพันธะเคมีในโมเลกุล การเกิดพันธะไอออนิก การสลายพันธะไอออนิก การเขียนสูตร การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก โครงสร้างและสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก การเกิดพันธะ
โคเวเลนต์ ชนิดของพันธะ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ การเขียนสูตร การเรียกชื่อสารโคเวเลนต์ รูปร่างโมเลกุล สภาพขั้วของโมเลกุล แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล สารโครงผลึกร่างตาข่าย การเกิดพันธะโลหะ การคำนวณปริมาณสารสัมพันธ์ของสารเกี่ยวกับมวลอะตอม มวลโมเลกุล โมล ความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับจำนวนอนุภาค มวล และปริมาตร สูตรและสมการเคมี สูตรอย่างง่ายและสูตรโมเลกุล โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การทดลอง การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รายวิชา วิทยาศาสตร์ 1002                                     ภาคเรียนที่ 2                                                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

หน่วยการเรียนรู้  3  หน่วย                                 จำนวน 1.5 หน่วยกิต                                                     เวลา  60  ชั่วโมง

 

หน่วยการเรียนรู้ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

6

ก๊าซ ของเหลว ของแข็ง

      6.1 สถานะของสาร

      6.2 สมบัติของก๊าซ

             6.2.1 ปริมาตรของก๊าซ

             6.2.2 การแพร่ของก๊าซ

      6.3 ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ

      6.4 สมบัติของของเหลว

             6.4.1 การระเหย

             6.4.2 ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว

      6.5 สมบัติของของแข็ง

             6.5.1 การเปลี่ยนสถานะของของแข็ง

             6.5.2 การจัดเรียงอนุภาคในของแข็ง

      6.6 เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับก๊าซ ของเหลว และของแข็ง

             6.6.1 ผลึกเหลว

             6.6.2 พลาสมา

             6.6.3 การทำน้ำแข็งแห้ง

             6.6.4 การทำไนโตรเจนเหลว

20

7

พันธะเคมี

      7.1 แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร

      7.2 พันธะไอออนิก

                                                        7.2.1 การเกิดพันธะไอออนิกและการสลายพันธะไอออนิก

                                                        7.2.2 การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก

                                                        7.2.3 โครงสร้างสารประกอบไอออนิก

                                                        7.2.4 สมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก

      7.3 พันธะโคเวเลนต์

                                                        7.3.1 การเกิดพันธะโคเวเลนต์

                                                        7.3.2 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์

                                                        7.3.3 ความยาวพันธะและพลังงานพันธะ

                                                        7.3.4 การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารโคเวเลนต์

                                                        7.3.5 รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์

                                                        7.3.6 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์

15

 

 

หน่วยการเรียนรู้ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

 

                                                        7.3.7 แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์

                                                        7.3.8 สารโครงผลึกร่างตาข่าย

      7.4 พันธะโลหะ

 

 

8

ปริมาณสารสัมพันธ์ 1

      8.1 ระบบปิดและระบบเปิด

      8.2 อัตราส่วนโดยมวลของธาตุที่รวมกันเป็นสารประกอบ

             8.3 มวลอะตอม

             8.4 มวลโมเลกุล

             8.5 โมล

                                                        8.5.1 จำนวนอนุภาคต่อโมลของสาร

                                                        8.5.2 จำนวนโมลกับมวล

                                                        8.5.3 จำนวนโมลกับปริมาตร

                      8.5.4 ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนโมล อนุภาค มวล และ                     ปริมาตร

      8.6 สูตรและสมการเคมี

                                                        8.6.1 สูตรอย่างง่ายและสูตรโมเลกุล

25

 

 

คำอธิบายรายวิชา  ชั้น ม. 5

Top

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา วิทยาศาสตร์ 1003                                     ภาคเรียนที่ 1                                                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

หน่วยการเรียนรู้  3  หน่วย                                 จำนวน 1.5 หน่วยกิต                                                     เวลา  60  ชั่วโมง

 

ศึกษาวิเคราะห์ แนวโน้มของสมบัติของตารางธาตุเกี่ยวกับขนาดอะตอม พลังงานไอออไนเซชัน จุดหลอมเหลวและจุดเดือด อิเล็กโทรเนกาติวิตี เลขออกซิเดชัน สมบัติของสารประกอบตามคาบ ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบตามหมู่ ตำแหน่งของไฮโดรเจนในตารางธาตุ ธาตุ
แทรนซิชัน สมบัติของธาตุแทรนซิชัน สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน ธาตุกัมมันตรังสี การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี ครึ่งชีวิตของธาตุ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ประโยชน์และโทษของธาตุกัมมันตรังสี การทำนายตำแหน่งและสมบัติของธาตุในตารางธาตุ ปริมาณสัมพันธ์ของสารละลาย ความเข้มข้นของสารละลาย การเตรียมสารละลาย สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลาย ปริมาณสมพันธ์ของก๊าซ กฎของเกย์–ลูสแซก กฎของอาโวกาโดร การหาสูตรโมเลกุลของก๊าซจากปฏิกิริยาเคมี การหาเอมพิริคัลและสูตรโมเลกุล การคำนวณหามวลเป็นร้อยละจากสูตร ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสารในสมการเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเกี่ยวกับความเข้มข้น พื้นที่ผิว อุณหภูมิ ตัวเร่งและตัวหน่วง แนวคิดเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาเคมี การอธิบายผลของปัจจัยต่าง ๆ ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การทดลอง การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

 

 

 

 

หน่วยการเรียนรู้  ชั้น ม. 5

Top

 

รายวิชา วิทยาศาสตร์ 1003                                     ภาคเรียนที่ 1                                                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

หน่วยการเรียนรู้  3  หน่วย                                 จำนวน 1.5 หน่วยกิต                                                     เวลา  60  ชั่วโมง

หน่วยการเรียนรู้ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

9

สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ

      9.1 สมบัติของธาตุในตารางธาตุ

             9.1.1 ขนาดอะตอม

             9.1.2  พลังงานไอออไนเซชัน

             9.1.3 จุดหลอมเหลวและจุดเดือด

             9.1.4 อิเล็กโทนเนกาติวิตี

             9.1.5 เลขออกซิเดชัน

      9.2 สมบัติของสารประกอบตามคาบ

      9.3 ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบตามหมู่

      9.4 ตำแหน่งของไฮโดรเจนในตารางธาตุ

      9.5 ธาตุแทรนซิชัน

                                                        9.5.1 สมบัติของธาตุแทรนซิชัน

                                                        9.5.2 สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน

                                                        9.5.3 สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน

      9.6 ธาตุกัมมันตรังสี

                                                        9.6.1 การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี

                                                        9.6.2 ครึ่งชีวิตของธาตุ

                                                        9.6.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์

                                                        9.6.4 ประโยชน์และโทษของธาตุกัมมันตรังสี

      9.7 การทำนายตำแหน่งและสมบัติของธาตุในตารางธาตุ

 

15

10

ปริมาณสัมพันธ์ของสารละลายและก๊าซ

      10.1 สารละลาย

             10.1.1 สารบริสุทธิ์กับสารละลาย

             10.1.2 ความเข้มข้นของสารละลาย

             10.1.3 การเตรียมสารละลาย

             10.1.4 สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลาย

      10.2 ปริมาณสมพันธ์ของก๊าซ

                                                        10.2.1 กฎของเกย์–ลูสแซก

                                                        10.2.2 กฎของอาโวกาโดร

                                                        10.2.3 การหาสูตรโมเลกุลของก๊าซจากปฏิกิริยาเคมี

 

30

 

 

หน่วยการเรียนรู้ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

 

      10.3 ปริมาณสัมพันธ์ในสูตรและสมการเคมี

                                                        10.3.1 การหาเอมพิริคัลและสูตรโมเลกุล

                                                        10.3.2 การคำนวณหามวลเป็นร้อยละจากสูตร

                                                        10.3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสารในสมการเคมี

 

 

11

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

      11.1 ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

             11.2 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

                                                        11.2.1 ความเข้มข้นกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

                                                        11.2.2 พื้นที่ผิวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

                                                        11.2.1 อุณหภูมิกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

                                                        11.2.1 ตัวเร่งและตัวหน่วงกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

      11.3 แนวคิดเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

      11.4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาเคมี

      11.5 การอธิบายผลของปัจจัยต่าง ๆ ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

 

15

 

 

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา วิทยาศาสตร์ 1004                                     ภาคเรียนที่ 2                                                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

หน่วยการเรียนรู้  3  หน่วย                                 จำนวน 1.5 หน่วยกิต                                                     เวลา  60  ชั่วโมง

 

ศึกษาวิเคราะห์ สารประกอบของคาร์บอนเกี่ยวกับสมบัติ การเขียนสูตรโครงสร้าง การเกิดไอโซเมอร์ การจำแนกประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบโซ่เปิด แอลเคน แอลคีน แอลไคน์ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน สารประกอบของคาร์บอนที่มีหมู่อะตอมที่แสดงสมบัติเฉพาะ แอลกอฮอล์และอีเทอร์ กรดอินทรีย์ เอสเทอร์ แอลดีไฮด์และคีโตน เอมีนและเอไมด์ ความหมายของพอลิเมอร์ ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ โครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ และการใช้ประโยชน์จากพอลิเมอร์ที่เป็นพลาสติก เส้นใย และยาง ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์สังเคราะห์ ภาวะมลพิษที่เกิดจากการผลิตและการใช้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ทั้งมลพิษทางอากาศ มลพิษทางน้ำ และมลพิษทางดิน สมบัติและปฏิกิริยาของสารชีวโมเลกุล ไขมันและน้ำมัน กรดไขมัน โปรตีน กรดอะมิโน พันธะเปปไตด์ โปรตีนในสัตว์และพืช เอนไซม์ ฮอร์โมน คาร์โบไฮเดรต มอนอแซกคาร์ไรด์ ไดแซกคาร์ไรด์ และพอลิ
แซกคาร์ไรด์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การทดลอง การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

 

 

 

 

 

รายวิชา วิทยาศาสตร์ 1004                                     ภาคเรียนที่ 2                                                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

หน่วยการเรียนรู้  3  หน่วย                                 จำนวน 1.5 หน่วยกิต                                                     เวลา  60  ชั่วโมง

 

หน่วยการเรียนรู้ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

12

สารประกอบของคาร์บอน

      12.1 สารประกอบไฮโดรคาร์บอน

                                                        12.1.1 การเขียนสูตรโครงสร้างของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

                                                        12.1.2 การเกิดไอโซเมอร์ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

                                                        12.2.3 สมบัติของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

      12.2 ประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

                                                        12.2.1 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบโซ่เปิด

                                                         12.2.1.1 แอลเคน

                                                         12.2.1.2 แอลคีน

                                                         12.2.1.3 แอลไคน์

                                                        12.2.2 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง

                                                        12.2.3 อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน

      12.3 สารประกอบของคาร์บอนที่มีหมู่อะตอมที่แสดงสมบัติเฉพาะ

                                                        12.3.1 หมู่อะตอมที่แสดงสมบัติเฉพาะ

                                                        12.3.2 แอลกอฮอล์และอีเทอร์

                                                        12.3.3 กรดอินทรีย์

                                                        12.3.4 เอสเทอร์

                                                        12.3.5 แอลดีไฮด์และคีโตน

                                                        12.3.6 เอมีน

                                                        12.3.7 เอไมด์

20

13

พอลิเมอร์

      13.1 ความหมายของพอลิเมอร์

                                                        13.2.1 ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์

                                                        13.2.2 โครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์

             13.2 การใช้ประโยชน์จากพอลิเมอร์

                                                        13.2.1 พลาสติก

                                                        13.2.2 เส้นใย

                                                        13.2.3 ยาง

      13.3 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์สังเคราะห์

      13.4 ภาวะมลพิษที่เกิดจากการผลิตและการใช้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี

                                                        13.4.1 มลพิษทางอากาศ

                                                        13.4.2 มลพิษทางน้ำ

                                                        13.4.3 มลพิษทางดิน

20

 

 

หน่วยการเรียนรู้ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

14

สารชีวโมเลกุล

      14.1 ไขมันและน้ำมัน

                                                        14.1.1 กรดไขมัน

                                                        14.1.2 สมบัติและปฏิกิริยาบางประการของไขมันและน้ำมัน

      14.2 โปรตีน

                                                        14.2.1 กรดอะมิโน

                                                        14.2.2 พันธะเปปไตด์ในโปรตีน

                                                        14.2.3 โปรตีนในสัตว์และพืช

                                                        14.2.4 เอนไซม์

                                                        14.2.5 ฮอร์โมน

      14.4 คาร์โบไฮเดรต

                                                        14.4.1 มอนอแซกคาร์ไรด์

                                                        14.4.2 ไดแซกคาร์ไรด์

                                                        14.4.3 พอลิแซกคาร์ไรด์

 

20

 

 

คำอธิบายรายวิชา  ชั้น ม. 6

Top

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา วิทยาศาสตร์ 1006                                     ภาคเรียนที่ 1                                                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

หน่วยการเรียนรู้  3  หน่วย                                 จำนวน 1.5 หน่วยกิต                                                     เวลา  60  ชั่วโมง

 

ศึกษาวิเคราะห์ เกี่ยวกับสมดุลเคมี ปฏิกิริยาผันกลับได้ การเกิดภาวะสมดุล ความสัมพันธ์ของค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี การคำนวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล ผลของการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้น ความดัน และอุณหภูมิที่มีต่อภาวะสมดุล หลักของเลอชาเตอลิเอและการใช้หลักของเลอชาเตอลิเอในอุตสาหกรรม สารละลายอิเล็กโทรไลต์ สารละลายกรดและเบส ทฤษฎีกรด–เบส คู่กรด–เบส การแตกตัวของกรดและเบส การแตกตัวของน้ำบริสุทธิ์ การเปลี่ยนความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนและไฮดรอกไซด์ไอออน pH ของสารละลาย อินดิเคเตอร์สำหรับกรด–เบส สารละลายกรด–เบสในชีวิตประจำวันและในสิ่งมีชีวิต ปฏิกิริยาของกรด–เบส ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส การไทเทรตกรด–เบส อินดิเคเตอร์ สารละลายบัฟเฟอร์ และสารละลายบัฟเฟอร์ในธรรมชาติ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การทดลอง การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

 

 

 

 

หน่วยการเรียนรู้  ชั้น ม. 6

Top

รายวิชา วิทยาศาสตร์ 1005                                     ภาคเรียนที่ 1                                                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

หน่วยการเรียนรู้  3  หน่วย                                 จำนวน 1.5 หน่วยกิต                                                     เวลา  60  ชั่วโมง

 

หน่วยการเรียนรู้ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

15

สมดุลเคมี

      15.1 ปฏิกิริยาผันกลับได้

      15.2 ภาวะสมดุล

      15.3 ค่าคงที่สมดุล

                                                        15.3.1 ความสัมพันธ์ของค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี

                                                        15.3.2 การคำนวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล

      15.4 ผลของการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้น ความดัน และอุณหภูมิที่มี      ต่อภาวะสมดุล

                                                        15.4.1 ผลของการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นที่มีต่อภาวะสมดุล

                                                        15.4.2 ผลของการเปลี่ยนแปลงความดันที่มีต่อภาวะสมดุล

                                                        15.4.3 ผลของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่มีต่อภาวะสมดุล

      15.5 หลักของเลอชาเตอลิเอ

                                                        15.5.1 การใช้หลักของเลอชาเตอลิเอในอุตสาหกรรม

 

15

16

กรด–เบส

      16.1 สารละลายอิเล็กโทรไลต์

      16.2 สารละลายกรดและเบส

                                                        16.2.1 ไอออนในสารละลายกรด

                                                        16.2.2 ไอออนในสารละลายเบส

      16.3 ทฤษฎีกรด–เบส

      16.4 คู่กรด–เบส

      16.5 การแตกตัวของกรดและเบส

                                                        16.5.1 การแตกตัวของกรดแก่และเบสแก่

                                                        16.5.1 การแตกตัวของกรดอ่อน

                                                        16.5.1 การแตกตัวของเบสอ่อน

      16.6 การแตกตัวของน้ำบริสุทธิ์

      16.7 การเปลี่ยนความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนและไฮดรอก                 ไซด์ไอออน

      16.8 pH ของสารละลาย

      16.9 อินดิเคเตอร์สำหรับกรด–เบส

      16.10 สารละลายกรด–เบสในชีวิตประจำวันและในสิ่งมีชีวิต

 

25

 

 

หน่วยการเรียนรู้ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

17

กรด–เบส 2

      17.1 ปฏิกิริยาของกรด–เบส

                                                        17.1.1 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส

                                                        17.1.2 ปฏิกิริยาของกรดและเบสกับสารบางชนิด

                                                        17.1.3 ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส

      17.2 การไทเทรตกรด–เบส

                                                        17.2.1 อินดิเคเตอร์กับการไทเทรตกรด–เบส

                                                        17.2.2 การหาปริมาณของสารด้วยวิธีการไทเทรต

      17.3 สารละลายบัฟเฟอร์

                                                        17.3.1 สารละลายบัฟเฟอร์ในธรรมชาติ

 

20

 

 

 

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา วิทยาศาสตร์ 1006                                     ภาคเรียนที่ 2                                                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

หน่วยการเรียนรู้  3  หน่วย                                 จำนวน 1.5 หน่วยกิต                                                     เวลา  60  ชั่วโมง

 

ศึกษาวิเคราะห์ เกี่ยวกับปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี ปฏิกิริยาเคมีกับการถ่ายโอนอิเล็กตรอน ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายบางชนิด ปฏิกิริยารีดอกซ์ ประโยชน์ของปฏิกิริยารีดอกซ์ การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชันและโดยใช้ครึ่งปฏิกิริยา เซลล์ไฟฟ้าเคมี เซลล์กัลวานิก ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ แผนภาพของเซลล์ไฟฟ้า เซลล์อิเล็กโทรไลต์ ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมเคมีท้องถิ่น อุสาหกรรมน้ำมันพืช อุตสาหกรรมเหมืองแร่
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีภัณฑ์ อุตสาหกรรมเส้นใย อุตสาหกรรมการผลิตและการใช้ประโยชน์จากโซเดียมคลอไรด์ การผลิตโซเดียมคลอไรด์ การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์และก๊าซคลอรีน อุต
สากรรมการผลิตชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การทดลอง การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

 

 

 

รายวิชา วิทยาศาสตร์ 1006                                     ภาคเรียนที่ 2                                                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

หน่วยการเรียนรู้  3  หน่วย                                 จำนวน 1.5 หน่วยกิต                                                     เวลา  60  ชั่วโมง

 

หน่วยการเรียนรู้ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

18

ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี

      18.1 ปฏิกิริยาเคมีกับการถ่ายโอนอิเล็กตรอน

                                                        18.1.1 ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายบางชนิด

                                                        18.1.2 ปฏิกิริยารีดอกซ์

                                                        18.1.3 ประโยชน์ของปฏิกิริยารีดอกซ์

      18.2 การดุลสมการรีดอกซ์

                                                        18.2.1 การดุลสมการโดยใช้เลขออกซิเดชัน

                                                        18.2.2 การดุลสมการโดยใช้ครึ่งปฏิกิริยา

      18.3 เซลล์ไฟฟ้าเคมี

                                                        18.3.1 เซลล์กัลวานิก

                                                         18.3.1.1 ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์

                                                         18.3.1.2 ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์

                                                         18.3.1.3 แผนภาพของเซลล์ไฟฟ้า

                                                        18.3.2 เซลล์อิเล็กโทรไลต์

 

25

19

การใช้ประโยชน์จากปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี

      19.1 ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก

                                                        19.1.1 เซลล์ปฐมภูมิ

                                                        19.1.2 เซลล์ทุติยภูมิ

      19.2 ประโยชน์ของเซลล์อิเล็กโทรไลต์

                                                        19.2.1 การแยกสารละลายด้วยไฟฟ้า

                                                        19.2.2 การชุบโลหะ

                                                        19.2.3 การทำโลหะให้บริสุทธิ์

      19.3 การผุกร่อนของโลหะและการป้องกัน

                                                        19.3.1 วิธีอะโนไดซ์

                                                        19.3.2 การรมดำ

      19.4 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเซลล์ไฟฟ้าเคมี

                                                        19.4.1 การทำอิเล็กโทรไดอะลิซิสน้ำทะเล

                                                        19.4.2 เซลล์เชื้อเพลิง

20

20

ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมเคมีท้องถิ่น

      20.1 อุสาหกรรมน้ำมันพืช

      20.2 อุสาหกรรมเหมืองแร่

      20.3 อุสาหกรรมปิโตรเคมีภัณฑ์

15

 

หน่วยการเรียนรู้ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

เวลา (ชั่วโมง)

 

 

      20.4 อุตสาหกรรมเส้นใย

      20.5 อุตสาหกรรมการผลิตและการใช้ประโยชน์จากโซเดียมคลอไรด์

                                                        20.5.1 การผลิตโซเดียมคลอไรด์

                                                         20.5.1.1 การผลิตเกลือสมุทร

                                                         20.5.1.2 การผลิตเกลือกับการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม

                                                         20.5.1.1 การผลิตเกลือสมุทร

                                                        20.5.2 การผลิตโซเดียมโซเดียมไฮดรอกไซด์และก๊าซคลอรีน

      20.6 อุตสากรรมการผลิตชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

       

 
หมวดวิชาวิทยาศาสตร์  โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี  อำเภอเมือง  จังหวัดเพชรบุรี  76000
โทรศัพท์ 032-425070, 032-427032  ภายใน 132 โทรสาร 032-425809  e - mail : [email protected]
Hosted by www.Geocities.ws

1