ค้นว่าอยู่เล่มใด แล้วกด [ctrl]+f หรือใช้คำสั่งของเครื่องหาตำแหน่งในเล่มอีกทีนะครับ



จัดรูปหน้าใหม่
เพื่อความสะดวก และสวยงาม
(เฉพาะหน้าจอใหญ่ เช่น คอมพิวเตอร์)
กรุณาคลิก จัดรูปหน้าใหม่
เพื่อให้กรอบ
ค้นข้อความ ปรากฎที่ด้านซ้ายของหน้า

พระไตรปิฎกภาษาไทย
ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๔๕ เล่ม (ปกสีฟ้า)
ทั้งออนไลน์และออฟไลน์
ที่มาของข้อมูล : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับ มจร.
MCUTRAI Version 1.0

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๘ ปัฏฐาน ภาค ๒

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร

พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ติกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย

[๑] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ขันธ์ ๑
อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ วิตกอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
วิตกอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
และวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มี
ทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ วิตกและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ วิตกและกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกและวิจารเกิดขึ้น (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้ง
วิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และวิตกอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้ง
วิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๓ และวิตกอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ
วิตกอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๖)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจาร ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร
อาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ วิตก
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
วิตกและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ วิตกและ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิตกและ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๗)
[๒] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยวิตกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยวิตกเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ วิจารและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
วิจารเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิตกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ วิจารและกฏัตตารูป
อาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยวิตก
เกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยวิตกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและกฏัตตารูปอาศัยวิตก
เกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ วิจาร และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิจาร
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ วิจาร
และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิจาร
และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๕)
[๓] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มี
ทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยวิจารเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยวิจารเกิดขึ้น วิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูป
ที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ วิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
กฏัตตารูปอาศัยวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ วิตกอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารและวิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มี
ทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตก
วิจารและวิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๖)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจาร ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร
อาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิ-
ขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๗)
[๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้ง
วิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ วิตกอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตก
วิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้ง
วิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตก
วิจารและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตก
วิจารและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มี
ทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ
วิตกอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มี
ทั้งวิตกวิจารและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้ง
วิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๓ และวิตกอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และวิตกอาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๖)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจาร ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร
อาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และวิตกอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกอาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูป
อาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๗)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๕] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตก
และวิจารอาศัยวิตกและหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารและอาศัยวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิจาร
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยวิจาร
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยวิจารเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิตกและมหาภูตรูป
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยวิจาร
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยวิตกและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ วิจารอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยวิตกและหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยวิตกและ
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ และวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยวิจารเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ และวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๓ และวิจารอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจารอาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๕)
[๖] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้ง
วิตกวิจารและอาศัยวิตกเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิตกเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยวิตกเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิตกเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตก
วิจารและอาศัยวิตกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร
และอาศัยวิตกเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
วิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยวิตกเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ และวิตกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยวิตกเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ และวิตกเกิดขึ้น (๓)
[๗] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยวิตกและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ วิตกและหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐาน-
รูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยวิตกและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยวิตกและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
วิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยวิตกและหทัยวัตถุเกิดขึ้น
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ วิตกและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ วิตก
และหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยวิตกและมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๓)

อารัมมณปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ วิตกอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้ง
วิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และวิตกอาศัยขันธ์ ๑
ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๙] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยวิตกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ วิจารอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และวิจารอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจารอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔)
[๑๐] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น วิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยวิจารเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ วิตกอาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารและวิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตก
วิจารและวิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๕)
[๑๑] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่
มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้ง
วิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ วิตกอาศัยขันธ์ที่มี
ทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๓ และวิตกอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และวิตกอาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)
[๑๒] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่
มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยวิตกและหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และ
วิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
อาศัยวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ วิจารอาศัย
ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และวิจารอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจารอาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๑๓] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มี
ทั้งวิตกวิจารและอาศัยวิตกเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิตกเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยวิตกและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ วิตกและหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
(พึงจําแนกปัจจัย ๒๐ ที่เหลือเหมือนที่จําแนกปัจจัย ๒ ไว้ตามแนวทางการ
สาธยาย)

วิปปยุตตปัจจัย
[๑๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ วิตกอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ขันธ์อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
และวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิ-
ขณะ ฯลฯ (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้ง
วิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ วิตกและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น วิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
และวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และวิตกอาศัยขันธ์ ๑ ที่มี
ทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
และวิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๖)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัย
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ วิตก
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิตก
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์และวิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๗)
[๑๕] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์
๒ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยวิตกเกิดขึ้น ขันธ์
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ วิจารและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารเกิดขึ้น วิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิตกเกิดขึ้น จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยวิตกเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยวิตกเกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิตกเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ วิจารและจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิจาร
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์และวิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๕)
[๑๖] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิจารเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิจารเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยวิจารเกิดขึ้น
กฏัตตารูปอาศัยวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุอาศัยวิจารเกิดขึ้น
วิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น วิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย
หทัยวัตถุอาศัยวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป
๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยวิจารเกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารอาศัยวิจารเกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ขันธ์อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
วิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและ
วิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย กฏัตตารูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและกฏัตตารูปอาศัยวิจารเกิดขึ้น ขันธ์
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย กฏัตตารูปอาศัยวิจารเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิตกอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น วิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย กฏัตตารูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ขันธ์และ
วิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มี
ทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกวิจารและวิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ขันธ์และวิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย (๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร อาศัย
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิ-
ขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ขันธ์และวิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๗)
[๑๗] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มี
ทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ วิตกอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น วิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้ง
วิตกวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และ
หทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย กฏัตตารูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มี
ทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ วิตกอาศัยขันธ์ที่
มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น วิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย กฏัตตารูป
อาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และวิตก
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ
วิตกอาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และวิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย (๖)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัย
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๓ และวิตกอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และวิตกอาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกวิจารและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ขันธ์และวิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย กฏัตตารูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๗)
[๑๘] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัย
วิตกและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
อาศัยวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และอาศัยวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่
ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
อาศัยวิจารเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์และวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตต-

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิตกและ
มหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิตกเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยวิจารเกิดขึ้น
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์และวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น กฏัตตารูป
อาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยวิตกและ
มหาภูตรูปเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยวิตกเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิ-
ขณะ วิจารอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น วิจารอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยวิตกและหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยวิตกและ
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย กฏัตตารูป
อาศัยวิตกเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์และวิจารเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย กฏัตตารูปอาศัยขันธ์และวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย กฏัตตา-
รูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และวิจาร
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๑๙] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัย
วิตกเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยวิตก
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์และวิตกเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์และวิตกเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
วิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยวิตกเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์และวิตกเกิด
ขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย กฏัตตารูปอาศัยขันธ์และวิตกเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๓)
[๒๐] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยวิตกและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกวิจารอาศัยวิตกและมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์และวิตก
เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์และ
วิตกเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
วิจาร ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย
ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยวิตกและ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
หทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร
อาศัยวิตกและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์และวิตกเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๓)

อัตถิปัจจัย - อวิคตปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิด
ขึ้นเพราะอัตถิปัจจัย ฯลฯ เพราะนัตถิปัจ จัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย (ย่อ)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๒๒] เหตุปัจจัย มี ๓๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๒๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๓๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒๘ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๓๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อาเสวนปัยจัย มี ๑๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๓๗ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓๗ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร

ฌานปัจจัย มี ๓๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓๗ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๓๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๓๗ วาระ

ทุกนัย

อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓๗ วาระ (ย่อ)

(พึงนับเหมือนการนับในกุสลติกะ)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๒๓] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีทั้งวิตกและ
วิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ วิตกอาศัยขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีทั้งวิตกและ
วิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้ง
วิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ วิตกและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้ง
วิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และวิตกอาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นอเหตุกะซึ่งมีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกอาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๖)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัย
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ วิตกและ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๗)
[๒๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยวิตกที่เป็นอเหตุกะ
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยวิตกเกิดขึ้น
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยวิตกที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิตกที่เป็นอเหตุกะเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ กฏัตตารูปอาศัยวิตกเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยวิตกที่เป็นอเหตุกะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตก
วิจารและกฏัตตารูปอาศัยวิตกเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่มีทั้ง
วิตกและวิจารเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูป
ที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัย
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและ
วิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ วิตกอาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์
ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มี
ทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
วิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มี
ทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจาร ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร
อาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ใน
ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๗)
[๒๕] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มี
ทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ วิตก
อาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มี
ทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น
อเหตุกะซึ่งมีทั้งวิตกวิจารและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร
และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้ง
วิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่
เป็นอเหตุกะ วิตกอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูป
อาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อเหตุกะ ขันธ์ ๓ และวิตกอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกอาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๖)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัย
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ และวิตกอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและ
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกอาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๗)
[๒๖] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยวิตกและหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิตกที่เป็น
อเหตุกะและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ กฏัตตารูปอาศัย
วิตกและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ
ที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยวิตกและหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูป
อาศัยวิตกและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๒๗] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นอเหตุกะซึ่งมีทั้งวิตกวิจารและอาศัยวิตกเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
และวิตกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตก
วิจารและอาศัยวิตกเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิตกเกิดขึ้น โมหะ
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและอาศัยวิตกเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอเหตุกะ
ซึ่งมีทั้งวิตกวิจารและอาศัยวิตกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
วิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีทั้งวิตกวิจาร และอาศัยวิตกเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ และวิตกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่
เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๓)
[๒๘] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ
ที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยวิตกและหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ วิตกและหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีทั้งวิตกวิจารอาศัยวิตกและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
วิจาร ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยวิตก
และหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ วิตกและหทัยวัตถุเกิดขึ้น
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยวิตกและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)

นอารัมมณปัจจัย
[๒๙] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกและ
วิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น (๑))

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิตกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยวิตกเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัย
ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยวิจารเกิดขึ้น ทหัยวัตถุอาศัย
ขันธ์เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยวิจารเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็น
ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ...อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
[๓๐] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์
ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยวิจารเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิตกและมหาภูตรูป
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยวิจาร
ฯลฯ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกวิจารและอาศัยวิตกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยวิตกและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิ-
ขณะ ฯลฯ กฏัตตารูป (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอธิปติปัจจัย
[๓๑] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ฯลฯ มี ๗ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยขันธ์ที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยวิตกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิ-
ขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ วิจารและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบาก
ซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้นในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยวิตกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ วิจารและจิตตสมุฏฐาน-
รูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๕)
[๓๒] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัย
ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีทั้ง
วิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยหทัย
วัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยวิจารเกิดขึ้น
ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยวิจารที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
... อาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ... มี ๗ วาระ
[๓๓] ... อาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร ... มี ๗
วาระ (ย่อ)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น เพราะ
นอธิปติปัจจัย อธิบดีธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และอาศัยวิจารเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
อาศัยวิจาร ... (ย่อ)

นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๔] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย
เพราะนอุปนิสสยปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับนอารัมมณปัจจัย)

นปุเรชาตปัจจัย
[๓๕] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจาร ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยวิตก
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ วิจารอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยวิตกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร
และกฏัตตารูปอาศัยวิตกเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ และ
วิจารอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๕)
[๓๖] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัย
วิจารเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ (ย่อ) (๗)
... อาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร มี ๗ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓๗] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและอาศัยวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ (ย่อ) (๗)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ (ย่อ)
(ในนปุเรชาตมูลกนัย พึงเพิ่มรูปาวจรภูมิให้เหมือนกับอรูปาวจรภูมิล้วน ๆ)

นปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๓๘] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะนปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
... (ย่อ) (๕)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
... (ย่อ)
(ในนอาเสวนมูลกนัย เมื่อรวมสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเข้ากับวิบาก
พึงทําให้เหมือนกับนปุเรชาตปัจจัย
อนึ่ง เมื่อรวมสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเข้ากับสภาวธรรมที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารก็พึงแสดงวิบากไว้ด้วย)

นกัมมปัจจัย
[๓๙] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตก
และวิจารเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยวิตกเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็น
สมุฏฐาน ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยวิจารเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
อาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และอาศัยวิจารเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยขันธ์
ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยวิตกเกิดขึ้น (๑)

นวิปากปัจจัยเป็นต้น
[๔๐] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ฯลฯ เพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ ที่เป็นภายนอก ...
ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ เพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ...
ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
รูปชีวิตินทรีย์อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ... อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนสัมปยุตตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นวิปปยุตตปัจจัย
[๔๑] ... เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ วิตกอาศัยขันธ์ที่มีทั้งวิตกและ
วิจารเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้ง
วิตกและวิจารเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓
และวิตกอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกอาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๔๒] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัย
วิตกเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ วิจารอาศัยขันธ์ที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓
และวิจารอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ
วิจารอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มี
ทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตต-
พรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดขึ้น
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัย
วิจารเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และอาศัยวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ และวิจารเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและอาศัยวิตกเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
และวิตกเกิดขึ้น (๑)

โนนัตถิปัจจัยและโนวิคตปัจจัย
[๔๓] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารอาศัยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เกิดขึ้นเพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย (ย่อ)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๔] นเหตุปัจจัย มี ๓๓ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๓๗ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๒๓ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๓๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ (ย่อ)

(พึงนับเหมือนการนับปัจจนียะในกุสลติกะ)
ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ

(พึงนับเหมือนการนับจำนวนอนุโลมปัจจนียะในกุสลติกะ)

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๔๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑๔ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๓. ปัจจยวาร

สหชาตปัจจัย ” มี ๓๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒๒ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๓๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๖ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๕ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๓๓ วาระ ฯลฯ
ฌานปัจจัย ” มี ๓๓ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑๔ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓๓ วาระ (ย่อ)

(พึงนับเหมือนการนับจำนวนปัจจนียานุโลมในกุสลติกะ)
ปฏิจจวาร จบ
(พึงเพิ่มสหชาตวารให้เหมือนกับปฏิจจวาร)

๖. วิตักกติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม
เหตุปัจจัย
[๔๗] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารทำสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒... มี ๗ วาระ
... ทำสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... มี ๕ วาระ (ปัจจัยนี้เหมือน
กับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่
ไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
ทำวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น วิจารทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น วิตกทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและจิตต-
สมุฏฐานรูปทำวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น วิตก
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารทำภาว-
ธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและ
วิตกทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๗)
[๔๘] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารทำสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มี
ทั้งวิตกวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (ปฏิสนธิขณะที่มีในอุทาหรณ์แรก พึงเพิ่มเป็น ๗ วาระ)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มี
ทั้งวิตกวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารทำวิตกและหทัย-
วัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่
มีทั้งวิตกวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และทำวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและทำวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่
ไม่มีทั้งวิตกวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและทำวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำวิตกและมหาภูตรูป
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น วิจารทำขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (ในปฏิสนธิขณะ มีอาการ ๔ เหมือนกัน) (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๓. ปัจจยวาร
ทำวิตกและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำวิตกและมหาภูตรูป ให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและทำวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ขันธ์ ๓ และวิจารทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ฯลฯ (๕)
(ในฆฏนาทั้ง ๒ ฝ่ายที่เหลือพึงขยายปวัตติกาลและปฏิสนธิกาลให้พิสดาร)
เหตุปัจจัย จบ
(ผู้รู้เหตุปัจจัย พึงขยายปัจจยวารให้พิสดาร พึงนับเหมือนการนับปฏิจจวาร
อธิปติปัจจัย มี ๓๗ วาระ ปุเรชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย มี ๒๑ วาระ นี้
เป็นความต่างกันในปัจจยวารนี้)

๒. ปัจจยปัจจนียะ
[๔๙] ในปัจจนียะ นเหตุปัจจัย มี ๓๓ วาระ ในฐานทั้ง ๗ พึงยกโมหะ
ทั้ง ๗ ขึ้นแสดงไว้เฉพาะในบทที่เป็นมูล ในนอารัมมณปัจจัยพึงยกสภาวธรรมที่มี
จิตเป็นสมุฏฐานทั้ง ๗ ขึ้นแสดง

นอธิปติปัจจัย
[๕๐] ในนอธิปติปัจจัย พึงเพิ่มวาระที่มีสภาวธรรมซึ่งมีทั้งวิตกและวิจารเป็น
มูลไว้ ๗ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำขันธ์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๓. ปัจจยวาร
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่
มีวิตกมีเพียงวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
... ทำสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... (พึงเพิ่ม ๕ วาระเหมือนนัย
แห่งปฏิจจวาร)
[๕๑] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ อธิบดีธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารทำขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก
ซึ่งไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำวิจารที่เป็น
วิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อธิบดีธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ อธิบดีธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
อธิบดีธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารทำวิจารที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มี
ทั้งวิตกและวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและจิตต-

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๓. ปัจจยวาร
สมุฏฐานรูปทำวิจารที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น วิตกทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูป
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๖)
(ในฆฏนาแรก พึงเพิ่มให้ครบทั้ง ๗ วาระ)
[๕๒] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารทำวิตก
และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่
ไม่มีทั้งวิตกวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ อธิบดีธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำ
ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและทำวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น อธิบดีธรรมที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจาร ทำขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ...
ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและทำวิจาร ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำ
ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
(ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๕ วาระ พึงเพิ่มวิบากไว้ในที่มาแห่งสภาว-
ธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ในนัยที่มีนอธิปติปัจจัยเป็นมูล พึงเพิ่มเป็น ๓๗ วาระ)

นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๕๓] นอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัยและนอุปนิสสย-
ปัจจัย ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๗ วาระ มีเฉพาะรูปเท่านั้น นปุเรชาตปัจจัยมี ๓๗ วาระ
เหมือนกับปัจจนียะในปฏิจจวาร นปัจฉาชาตปัจจัยมี ๓๗ วาระ แม้นอาเสวนปัจจัย
ก็เหมือนกัน พึงเพิ่มวิบากไว้ในที่มาแห่งสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๓. ปัจจยวาร
นกัมมปัจจัย
[๕๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารทำสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารทำขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกและวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ เจตนาที่มีทั้งวิตกและ
วิจารทำวิตกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ เจตนาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ (พึงเพิ่มให้บริบูรณ์)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ฯลฯ เจตนาที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารทำวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๕๕] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารทำสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มี
ทั้งวิตกวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารทำขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกวิจาร และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มี
ทั้งวิตกวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารทำวิตกและหทัย-
วัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่
ไม่มีทั้งวิตกวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารทำขันธ์ที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและทำวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
ทำขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารทำสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารทำขันธ์ที่มีทั้งวิตก
วิจารและทำวิตกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารทำสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มี
ทั้งวิตกและวิจารทำขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารวิตกและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
(นวิปากปัจจัยพึงเพิ่มเป็น ๓๗ วาระ พึงขยายนอาหารปัจจัย นอินทรียปัจจัย
นฌานปัจจัย นมัคคปัจจัย นสัมปยุตตปัจจัย นวิปปยุตตปัจจัย โนนัตถิปัจจัย
และโนวิคตปัจจัยให้พิสดาร)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๖] นเหตุปัจจัย มี ๓๓ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๓๗ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๓๗ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๓. ปัจจยวาร

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๓๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๕๗] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๕๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑๔ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑๔ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๓๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒๒ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๓๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๔ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๓๓ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๓๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

อาหารปัจจัย ” มี ๓๓ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๓๓ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๓๓ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๕ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑๔ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓๓ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๓๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓๓ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาร จบ
(แม้นิสสยวาร ก็ไม่ต่างกัน)

๖. วิตักกติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม
เหตุปัจจัย
[๕๙] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
ฯลฯ วิตกเกิดระคนกับขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดระคนกับสภาวธรรมที่
มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ขันธ์ ๓ และวิตกเกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจาร
ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
[๖๐] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจาร ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
ฯลฯ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดระคนกับวิตก ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
ฯลฯ วิจารเกิดระคนกับขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ในปฏิสนธิขณะ วิจารเกิดระคน
กับขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเกิดระคนกับสภาว-
ธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ฯลฯ ขันธ์ ๓ และวิจารเกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจาร ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔)
[๖๑] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจาร ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดระคนกับวิจาร ในปฏิสนธิขณะ ...
เกิดระคนกับวิจาร ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร ฯลฯ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และเกิดระคนกับวิจาร ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่มี
ทั้งวิตกวิจารและเกิดระคนกับวิตก ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ และวิตก ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
(ผู้รู้เหตุปัจจัยพึงขยายทุกปัจจัยให้พิสดาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สุทธนัย

[๖๒] เหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๑ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๑ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๑ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑๑ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๑ วาระ

ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑๑ วาระ
อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ
(ผู้รู้พึงเพิ่มปัจจนียะไว้)

[๖๓] นเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๖ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
ทุกนัย

[๖๔] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ ฯลฯ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ (ย่อ)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๖๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๖ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

กัมมปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ
ฌานปัจจัย ” มี ๖ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๖ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๖ วาระ

(พึงขยายสัมปยุตตวารให้พิสดาร)

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๖] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยเหตุปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดย
เหตุปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่มีทั้งวิตก
และวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่
วิตกและจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เป็นปัจจัยแก่วิตกและกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และวิตกโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และวิตกโดยเหตุปัจจัย (๖)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ วิตก และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุ
ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ วิตก และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๗)
[๖๗] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารและจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัย
แก่วิจารและกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ วิจาร และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ วิจาร และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๖๘] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๖๙] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานที่มีทั้งวิตกและ
วิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้ว พิจารณาผล พระอริยะพิจารณากิเลสที่ละ
ได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่มีทั้งวิตก
และวิจาร โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
เพราะปรารภขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้น เพราะปรารภกุศลนั้น วิตกจึงเกิดขึ้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสม
ไว้ดีแล้ว ออกจากฌานที่มีทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้ว
พิจารณาผล เพราะปรารภฌานเป็นต้นนั้น วิตกจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณา
กิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้นเห็นแจ้งขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกและวิจารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น วิตกจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่มี
ทั้งวิตกและวิจาร วิตกจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่มีทั้ง
วิตกและวิจารด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่เจโต-
ปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ และอนาคตังสญาณโดย
อารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารจึงเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษา
อุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น เพราะปรารภกุศลนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก
จึงเกิดขึ้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานที่มีทั้งวิตกและวิจาร
ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผล เพราะปรารภกุศลนั้น ขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่
ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินขันธ์นั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่มี
ทั้งวิตกและวิจาร ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น (๔)
[๗๐] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลออกจากฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผล เพราะปรารภกุศลนั้น วิตกจึงเกิดขึ้น
เห็นแจ้งขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น วิตกจึงเกิดขึ้น
เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตก วิตกจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลออกจากฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ออก
จากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผล เพราะปรารภกุศลนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตก
และวิจารจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น
ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และวิตก ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณและอนาคตังสญาณ
โดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตก ขันธ์ที่ไม่มี
ทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจาร
และที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลออกจากฌานที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผล เพราะปรารภกุศลนั้น
ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
วิตกโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น
เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตก ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก
จึงเกิดขึ้น (๔)
[๗๑] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค ผลที่ไม่มีทั้งวิตก
วิจารและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอารัมมณปัจจัย
รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กาย-
วิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ และอนาคตังสญาณ
โดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร ขันธ์ที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากฌานที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ออก
จากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผล เพราะปรารภกุศลนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและ
วิจารจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
มรรค ผล ที่มีทั้งวิตกวิจาร และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นแจ้งจักษุ
โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็น
แจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ...
โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะ
เป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีทั้ง
วิตกวิจารและวิจาร ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากฌานที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผล เพราะปรารภฌานเป็นต้นนั้น วิตก
จึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค ผล ที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารและวิตก โดยอารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร และ
วิจารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น วิตกจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่
มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร วิตกจึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค
ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร โดยอารัมมณปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจาร
และที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากฌานที่ไม่
มีทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผล เพราะปรารภฌาน
เป็นต้นนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตกจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณานิพพาน
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและวิตก โวทานและวิตก มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก
ผลที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก อาวัชชนจิตและวิตกโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นแจ้ง

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
จักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตกจึงเกิดขึ้น
บุคคลเห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร
และวิจารโดยความเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึง
เกิดขึ้น (๕)
[๗๒] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารและวิจาร ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารและวิจาร วิตกจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และ
วิจารเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
และอนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และวิจาร ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภ
ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิจาร ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น (๔)
[๗๓] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่มีทั้งวิตก
วิจารและวิตก ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร
และวิตก วิตกจึงเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็น
ปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ และ
อนาคตังสญาณโดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก
ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภ
ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น (๔)

อธิปติปัจจัย
[๗๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานที่มีทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค
ออกจากผลแล้วพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่มี
ทั้งวิตกและวิจารให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินขันธ์
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำการพิจารณากุศลนั้นให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานที่มีทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ออกจากผลแล้วพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำการพิจารณา
ผลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่มี
ทั้งวิตกและวิจาร ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลิน
ขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดย
อธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอธิปติปัจจัยมีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีทั้งวิตก
และวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิบดีธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อธิปติปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิบดีธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติ-
ปัจจัย (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และ
สหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำการพิจารณากุศลนั้นให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น บุคคล
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานที่มี
ทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่าง

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
หนักแน่น เพราะทำการพิจารณาผลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และวิตกโดยอธิปติปัจจัย (๖)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจาร ที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
วิตก และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๗)
[๗๕] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลออกจากฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ออกจาก
มรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำการ
พิจารณาผลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลิน
ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความ
ยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลออกจากฌาน
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น เพราะทำการพิจารณาผลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่
มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลิน ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และวิตกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์และวิตก
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิบดีธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์วิจารและจิตตสมุฏฐานรูป
โดยอธิปติปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลออกจากฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้ว
พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำการพิจารณาผลนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดี
เพลิดเพลินขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะ
ทําความยินดีเพลิดเพลินขันธ์และวิตกนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น (๕)
[๗๖] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค ผลที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร
และวิจารโดยอธิปติปัจจัย
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัม-
ปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจาก
ฌานที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผลให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำการพิจารณาผลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผล ที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูป
... เสียง ...กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร
และวิจารให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้น
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออก
จากฌานที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผลให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำการพิจารณาผลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
วิตกจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพาน
เป็นปัจจัยแก่มรรค ผล ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยอธิปติปัจจัย บุคคล
ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ
ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอธิปติ-
ปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะออกจากฌานที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้ว
พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำการพิจารณาผลนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณา

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและวิตก
โวทานและวิตก มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก ผลที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดย
อธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะ
ทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น (๕)
[๗๗] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ
ได้แก่ เพราะทําขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอธิปติปัจจัยมีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
เพราะทําขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึง
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทําขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น (๓)
[๗๘] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ
ได้แก่ เพราะทําขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่
มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
เพราะทําขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึง
เกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทําขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น (๓)

อนันตรปัจจัย
[๗๙] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่
โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจาร มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัย
แก่ผลที่มีทั้งวิตกและวิจาร ผลที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่มีทั้งวิตกและ
วิจาร อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
วิตกซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่
อุปปัตติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ฯลฯ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตก ฯลฯ บริกรรมฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
เป็นปัจจัยแก่ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจาร โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร อนุโลมเป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิตกโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีทั้ง
วิตกวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่วิญญาณ ๕ โดย
อนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร
และวิจาร ฯลฯ บริกรรมทุติยฌานเป็นปัจจัยแก่วิจารในทุติยฌานโดยอนันตรปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
บริกรรมตติยฌาน ฯลฯ บริกรรมจตุตถฌาน ฯลฯ บริกรรมอากาสานัญจายตนะ
ฯลฯ บริกรรมวิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ บริกรรมอากิญจัญญายตนะ ฯลฯ
บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ บริกรรมทิพพจักขุ ฯลฯ บริกรรม
ทิพพโสตธาตุ ฯลฯ บริกรรมอิทธิวิธญาณ ฯลฯ บริกรรมเจโตปริยญาณ ฯลฯ
บริกรรมปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ บริกรรมยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ บริกรรม
อนาคตังสญาณ ฯลฯ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร โวทาน
เป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่ไม่
มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัย
แก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิจารโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีทั้งวิตก
และวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย
บริกรรมฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
วิจารโดยอนันตรปัจจัย โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร
โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผล-
สมาบัติที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ และวิตกโดยอนันตรปัจจัย
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและวิตก อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานและวิตก โคตรภู
เป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตก
วิจารและวิตก มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก
ผลที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก อนุโลมเป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย (๕)
[๘๐] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ วิตกที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่วิตกซึ่งเกิด

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัย
แก่ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ วิตกที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร
ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติ-
จิตที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัย
แก่อาวัชชนจิตโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่
มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่วิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตก
เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดย
อนันตรปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่ง
เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ และวิจารโดย
อนันตรปัจจัย มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และวิจาร ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
วิจารโดยอนันตรปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ วิตกที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ และวิตกโดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตและวิตกโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย (๕)
[๘๑] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ วิจารที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่วิจารซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย มรรคที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ผลที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น
ปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย เนวสัญญานาสัญญายตนะ
ของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดย
อนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต
ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารเป็น
ปัจจัยแก่อาวัชชนจิตโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารเป็นปัจจัย
แก่วุฏฐานะที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย เนวสัญญานาสัญญายตนะของ
ท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ วิจารที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารเป็น
ปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีทั้ง
วิตกวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยอนันตร-
ปัจจัย เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ วิจารที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ และวิจารโดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่ไม่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดย
อนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจาก
นิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร
เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่ไม่มี
ทั้งวิตกวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตและวิตกโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่
มีทั้งวิตกวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย
เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่มีทั้ง
วิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย (๕)
[๘๒] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ภวังค-
จิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตร-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิด
ก่อน ๆ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย
อนันตรปัจจัย ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิด
ก่อน ๆ และวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่ไม่มี

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตร-
ปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยอนันตรปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่ง
เกิดหลัง ๆ และวิจารโดยอนันตรปัจจัย มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็น
ปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย
ภวังคจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตและวิตกโดย
อนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีทั้งวิตก
วิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย (๕)
[๘๓] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารซึ่งเกิด
ก่อน ๆ และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตร-
ปัจจัย อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัยแก่โวทาน
โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจาร โวทานและวิตกเป็นปัจจัย
แก่มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจาร มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ผลที่มีทั้ง
วิตกและวิจาร ผลที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ผลที่มีทั้งวิตกและวิจาร
อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ
และวิตกเป็นปัจจัยแก่วิตกซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่มีทั้งวิตกวิจาร

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
และวิตกเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มี
ทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย
บริกรรมฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยอนันตรปัจจัย โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โวทานและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็น
ปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตและ
วิตกเป็นปัจจัยแก่วิญญาณ ๕ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็น
ปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย บริกรรมทุติยฌาน
และวิตกเป็นปัจจัยแก่วิจารในทุติยฌานโดยอนันตรปัจจัย บริกรรมตติยฌานและวิตก
ฯลฯ บริกรรมจตุตถฌานและวิตก ฯลฯ บริกรรมอากาสานัญจายตนะและวิตก
ฯลฯ บริกรรมวิญญาณัญจายตนะและวิตก ฯลฯ บริกรรมอากิญจัญญายตนะและ
วิตก ฯลฯ บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะและวิตก ฯลฯ บริกรรมทิพพจักขุ
และวิตก ฯลฯ บริกรรมทิพพโสตธาตุและวิตก ฯลฯ บริกรรมอิทธิวิธญาณและวิตก
ฯลฯ บริกรรมเจโตปริยญาณและวิตก ฯลฯ บริกรรมปุพเพนิวาสานุสสติญาณและ
วิตก ฯลฯ บริกรรมยถากัมมูปคญาณและวิตก ฯลฯ บริกรรมอนาคตังสญาณและ
วิตก ฯลฯ โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร โวทาน
และวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มี
ทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดย
อนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย บริกรรมฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกเป็น
ปัจจัยแก่ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย โคตรภูและวิตก

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
เป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย โวทานและ
วิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตก
วิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ และ วิตก
โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและวิตก อนุโลมและวิตกเป็น
ปัจจัยแก่โวทานและวิตก โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตก
โวทานและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย มรรค
ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ผลที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก ผลที่มีทั้งวิตก
วิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ผลที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย (๕)

สมนันตรปัจจัย
[๘๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยสมนันตรปัจจัย (อนันตรปัจจัยและสมนันตรปัจจัยเหมือนกัน)

สหชาตปัจจัย
[๘๕] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตก
และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยสหชาตปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
สหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ แก่กฏัตตารูป ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัย
แก่วิตกและจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิตกโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
และวิตกโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๖)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้ง
วิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ วิตกและจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ วิตกและจิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๗)
[๘๖] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ วิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารและจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย วิตกเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ วิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ วิจารและจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ วิจารและจิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๕)
[๘๗] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย วิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป
ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป ฯลฯ วิจารเป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูป ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ฯลฯ
วิจารเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิจาร ฯลฯ มหาภูตรูป ๑
เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ...
ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ... มหา-
ภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยสหชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยสหชาตปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๗๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย
สหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย
สหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย
สหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยสหชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารและจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและกฏัตตารูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยสหชาตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยสหชาตปัจจัย (๕)
[๘๘] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตก
วิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร
และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยสหชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและมหาภูตรูปเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร
และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยสหชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๗๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิตก ฯลฯ ขันธ์ ๒
และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิตกโดยสหชาตปัจจัย (๔)
[๘๙] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ วิตกและ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาต-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
วิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ วิตกและมหาภูตรูปเป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ วิตกและมหาภูตรูปเป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่วิจารโดยสหชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาต-
ปัจจัย ขันธ์ ๓ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย
ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ใน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๗๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
กฏัตตารูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิจารโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิจารโดยสหชาตปัจจัย (๔)
[๙๐] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร
และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตก
วิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๙๑] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารวิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย
ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตก
วิจาร วิตกและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร วิตกและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดย
สหชาตปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๗๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
อัญญมัญญปัจจัย
[๙๒] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
โดยอัญญมัญญปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดย
อัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัย
แก่หทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้ง
วิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกและหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิตกโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๒ และวิตกโดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๖)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๗๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ วิตกและหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย
ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ วิตกและหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย (๗)
[๙๓] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย
อัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ วิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดย
อัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารโดย
อัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจาร
และหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิตกเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ
โดยอัญญมัญญปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ วิตกเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๒ และวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ วิจารและหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ วิจารและหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย (๕)
[๙๔] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๗๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
แก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย
อัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
และหทัยวัตถุ โดยอัญญมัญญปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ฯลฯ วิจารเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัย
แก่วิจาร ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก
ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกและวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย
อัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตกโดย
อัญญมัญญปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ วิจาร
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดย
อัญญมัญญปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอัญญมัญญปัจจัย (๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๗๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๙๕] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้ง
วิตกวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัญญมัญญปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตก
วิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยอัญญมัญญปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้ง
วิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิตกโดยอัญญ-
มัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิตกโดย
อัญญมัญญปัจจัย (๓)
[๙๖] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ วิตก
และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจาร
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจาร วิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิจารและ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัญญมัญญปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๗๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิ-
ขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุ
โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ
โดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย (๔)
[๙๗] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและ
วิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุโดยอัญญ-
มัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุโดย
อัญญมัญญปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร วิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญ-
มัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย
อัญญมัญญปัจจัย (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๗๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
นิสสยปัจจัย
[๙๘] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ (ย่อ)
มี ๗ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยนิสสยปัจจัย (ย่อ) มี ๕ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย วิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป
โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ
ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยนิสสย-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย
นิสสยปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยนิสสยปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ วิจาร ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารและจิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและวิจารโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจาร ฯลฯ (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๗๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกวิจารและวิตกโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ ฯลฯ (๕)
[๙๙] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและหทัย-
วัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ (พึงแสดงทั้งปวัตติกาลและ
ปฏิสนธิกาล) (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและหทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่วิตก ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและมหาภูตรูป
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้ง
วิตกวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิตกโดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔)
[๑๐๐] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ วิตกและหทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๘๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ วิตกและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
วิจารโดยนิสสยปัจจัย (บทที่เป็นมูลซึ่งมีในปฏิสนธิกาล มี ๔ วาระ ย่อ) (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสย-
ปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
นิสสยปัจจัย ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และวิจาร ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิจารโดย
นิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔)
[๑๐๑] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร ฯลฯ มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจารโดยนิสสยปัจจัย (พึงขยายทั้ง ๒ วาระให้พิสดาร)

อุปนิสสยปัจจัย
[๑๐๒] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจารแล้วให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานที่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้
เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่มีทั้ง
วิตกและวิจาร ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ...

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๘๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ
ทําฌานที่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำมรรค ... ทำ
สมาบัติ ... ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ...
สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ...
ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ...
จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ...
ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจารแล้ว ทําฌานที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารให้เกิดขึ้น ทํามรรค ฯลฯ ทำสมาบัติ ... อาศัยศีลที่มีทั้ง
วิตกและวิจาร ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ทําฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารให้
เกิดขึ้น ทำมรรค ... ทำสมาบัติ ... ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ความ
ปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ...
ปัญญาและวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจารแล้ว ทําฌาน
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ ทำอภิญญา ฯลฯ ทำสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความปรารถนาแล้วทําฌานที่ไม่มี
ทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ ทำอภิญญา ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น
ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา และวิจาร ... สุขทางกาย
... ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๘๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความปรารถนา
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ...
ปัญญาและวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความปรารถนา
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความปรารถนาและวิตกโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๕)
[๑๐๓] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารแล้วทําฌาน
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ...วิตกแล้วทําฌานที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา และวิตกเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา และวิตก
โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๘๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารแล้วให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานที่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ
ทำมรรค ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจาร ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... วิตกแล้วให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถ ทําฌานที่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำ
มรรคให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา และวิตก เป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารแล้วทําฌาน
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ ทำอภิญญา ฯลฯ ทำสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ...
วิตกแล้วทําฌานที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ ทำอภิญญา ฯลฯ
ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ...
ปัญญา และวิตกเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ
... ปัญญา และวิจาร ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ
... ปัญญา และวิตกเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ...
จาคะ ... ปัญญา และวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจาร
และที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๘๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ...
จาคะ ... ปัญญา และวิตกเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความ
ปรารถนาและวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย (๕)
[๑๐๔] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารแล้วทําฌาน
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ... ทำอภิญญา ... ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น
อาศัยศีลที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ...วิจาร ... สุขทางกาย
... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะแล้วทําฌานที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ... ทำอภิญญา ... ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่ไม่มี
ทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... วิจาร ... สุขทางกาย
... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ...เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ .. ปัญญา ... วิจาร ... สุขทางกาย
และทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารแล้วให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานที่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ... ทำ
มรรค ... ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ...
สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... วิจาร ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ
... โภชนะ ... เสนาสนะแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานที่มีทั้งวิตก
และวิจารให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ... ทำมรรค ... ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ
ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่
มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๘๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารแล้วทําฌาน
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ... ทำมรรค ... ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น
อาศัยศีลที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ เสนาสนะแล้วทําฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ... ทำมรรค ... ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจาร ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ...
สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาและวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ เสนาสนะเป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา
และวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... ความปรารถนาและวิตกโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๕)
[๑๐๕] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูป-
นิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๘๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ...
จาคะ ... ปัญญาและวิจารเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความ
ปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ
... ปัญญาและวิจารเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ...
จาคะ ... ปัญญาและวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว
ธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ
... ปัญญาและวิจารเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ..
จาคะ ... ปัญญาและวิจาร ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ...
จาคะ ... ปัญญาและวิจารเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ...
สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาและวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๘๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ...
จาคะ ... ปัญญาและวิจารเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ...
สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ...
ความปรารถนา และวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย (๕)
[๑๐๖] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูป-
นิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ...
จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ...
ความปรารถนาและวิตกเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ...
ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... ความ
ปรารถนาและวิตกเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ...
จาคะ ... ปัญญา และวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ...
จาคะ ... ปัญญา ฯลฯ ความปรารถนาและวิตกเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจาร ฯลฯ ศีล... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาและวิจาร ... สุขทางกาย ...
ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๘๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ...
จาคะ .. ปัญญา ... ความปรารถนาและวิตกเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ .. ปัญญา และวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ .. จาคะ
... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความ
ปรารถนาและวิตกเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความปรารถนา
และวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย (๕)

ปุเรชาตปัจจัย
[๑๐๗] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร
และวิจารโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา ฯลฯ เห็นแจ้งโผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๘๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น
ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ และวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น วิตกจึง
เกิดขึ้น ฯลฯ เห็นแจ้งหทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินหทัยวัตถุนั้น วิตกจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
วิตกโดยปุเรชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยปุเรชาตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ
และวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็น
ทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น
ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย
... รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะ
เป็นต้นนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก
โดยปุเรชาตปัจจัย (๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๙๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๐๘] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดภายหลังเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดภายหลังและ
วิตกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดภายหลังและ
วิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่ง
เกิดภายหลังและวิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิด
ภายหลังและวิตกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

อาเสวนปัจจัย
[๑๐๙] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมเป็น
ปัจจัยแก่โคตรภู ... อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ... โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มี
ทั้งวิตกและวิจาร ... โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอาเสวน-
ปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๙๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
วิตกที่เกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย บริกรรมฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็น
ปัจจัยแก่ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรคที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ บริกรรมทุติยฌานเป็นปัจจัยแก่วิจารในทุติยฌานโดย
อาเสวนปัจจัย บริกรรมตติยฌานเป็นปัจจัยแก่ตติยฌาน ฯลฯ บริกรรมจตุตถฌาน
เป็นปัจจัยแก่จตุตถฌาน ฯลฯ บริกรรมอากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่อากาสา-
นัญจายตนะ ฯลฯ บริกรรมวิญญาณัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ
ฯลฯ บริกรรมอากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ บริกรรม
เนวสัญญานาสัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ บริกรรม
ทิพพจักขุเป็นปัจจัยแก่ทิพพจักขุ ฯลฯ บริกรรมทิพพโสตธาตุเป็นปัจจัยแก่ทิพพ-
โสตธาตุ ฯลฯ บริกรรมอิทธิวิธญาณ ฯลฯ บริกรรมเจโตปริยญาณ ฯลฯ บริกรรม
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ บริกรรมยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ บริกรรม
อนาคตังสญาณ ฯลฯ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร ฯลฯ
โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ บริกรรมฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารเป็นปัจจัยแก่ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย โคตรภู
เป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร ฯลฯ โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ และวิตกโดยอาเสวนปัจจัย
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและวิตก ... อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานและวิตก ...

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๙๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก ... โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคที่
มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอาเสวนปัจจัย (๕)
[๑๑๐] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ วิตกที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่วิตกซึ่งเกิดหลัง
ๆ โดยอาเสวนปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ วิตกที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร
ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
วิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ และวิจารโดย
อาเสวนปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ วิตกที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ และวิตกโดยอาเสวนปัจจัย (๕)
[๑๑๑] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ วิจารที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่วิจารซึ่ง
เกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ วิจารที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๙๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ วิจารที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ และวิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๓)
[๑๑๒] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ
โดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารที่เกิด
ก่อน ๆ และวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่ง
เกิดหลัง ๆ และวิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๓)
[๑๑๓] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารซึ่ง
เกิดก่อน ๆ และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อาเสวนปัจจัย อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ... อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัย
แก่โวทาน ... โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... โวทานและ
วิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิด
ก่อน ๆ และวิตกเป็นปัจจัยแก่วิตกซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย บริกรรมฌาน
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวน-
ปัจจัย โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... โวทานและ
วิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๙๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย บริกรรมทุติยฌานและวิตกเป็นปัจจัยแก่
วิจารในทุติยฌานโดยอาเสวนปัจจัย ฯลฯ บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะและ
วิตก ฯลฯ บริกรรมทิพพจักขุและวิตก ฯลฯ บริกรรมอนาคตังสญาณและวิตก
เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณโดยอาเสวนปัจจัย โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรค
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย โวทานและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่
ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ บริกรรมฌาน
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร
โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร โวทานและวิตก
เป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกวิจารซึ่งเกิดก่อน ๆ และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารซึ่งเกิดหลัง ๆ
และวิตกโดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและวิตก อนุโลม
และวิตกเป็นปัจจัยแก่โวทานและวิตก โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตก
วิจารและวิตก โวทานและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดย
อาเสวนปัจจัย (๕)

กัมมปัจจัย
[๑๑๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
กัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยกัมมปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๙๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
ซึ่งมีทั้งวิตกและวิจารโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยกัมมปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกที่เป็นวิบาก
โดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป
โดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
ซึ่งไม่มีทั้งวิตกวิจารและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
ซึ่งมีทั้งวิตกวิจารและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๙๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกและจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัย
แก่วิตกและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกที่เป็นวิบาก
และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
วิตกโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และวิตกโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
ซึ่งมีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยกัมมปัจจัย (๖)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์วิตก
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์วิตกและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
ซึ่งมีทั้งวิตกวิจาร วิตกและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๗)
[๑๑๕] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๙๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารและจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็น
ปัจจัยแก่วิจารที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารที่เป็น
วิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
วิจารและจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์วิจารและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร วิจารและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
ซึ่งไม่มีทั้งวิตกวิจารและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)

วิปากปัจจัย
[๑๑๖] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งมีทั้งวิตกและวิจารเป็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๙๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจาร
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยวิปากปัจจัย
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดย
วิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(ปัญหาวารทั้ง ๗ วาระที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นมูลบริบูรณ์แล้ว)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ โดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็น
วิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ฯลฯ
(พึงจัดปัญหาวารทั้ง ๕ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นมูลไว้และพึงกําหนดว่าเป็น
วิบาก)
[๑๑๗] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ วิจาร
ที่เป็นวิปากเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปากปัจจัย วิจารเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปาก-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ วิจารที่เป็นวิปากเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารที่เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารโดยวิปากปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ วิจารที่เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารที่
เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและกฏัตตารูปโดยวิปากปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๙๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๑๑๘] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่ง
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปากปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็น
วิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน-
รูปโดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปโดยวิปากปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งมีทั้งวิตกวิจาร
และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีทั้งวิตกวิจารและ
วิตกเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก
ซึ่งมีทั้งวิตกวิจาร และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๐๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
อาหารปัจจัย
[๑๑๙] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยอาหาร-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(ด้วยเหตุนี้พึงจําแนกปัญหาวารทั้ง ๗ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นมูล)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารและจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ วิจารและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหารเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้โดยอาหารปัจจัย

อินทรียปัจจัย
[๑๒๐] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์โดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๐๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยอินทรีย-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๗)
(ด้วยเหตุนี้พึงจําแนกปัญหาวารทั้ง ๗ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นมูล)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารและ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ วิจารและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จักขุนทรีย์เป็นปัจจัย
แก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย รูป-
ชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย (๑)

ฌานปัจจัย
[๑๒๑] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๗)
(ด้วยเหตุนี้พึงจําแนกปัญหาวารทั้ง ๗ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นมูล)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๐๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๕)
(ด้วยเหตุนี้พึงจําแนกปัญหาวารทั้ง ๗ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นมูล)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย วิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยฌาน-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยฌานปัจจัย วิจารเป็น
ปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยฌานปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยฌานปัจจัย ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย
ฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย
ฌานปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยฌานปัจจัย ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารและจิตตสมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและกฏัตตารูปโดยฌานปัจจัย (๓)
[๑๒๒] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
วิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่ไม่มี

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๐๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยฌาน-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ องค์ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยฌานปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่มีทั้งวิตก
วิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

มัคคปัจจัย
[๑๒๓] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัม-
ปยุตตขันธ์โดยมัคคปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(ด้วยเหตุนี้พึงจําแนกปัญหาวารทั้ง ๗ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นมูล)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัม-
ปยุตตขันธ์โดยมัคคปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(ด้วยเหตุนี้พึงจําแนกปัญหาวารทั้ง ๕ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นมูล)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยมัคคปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๐๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยมัคคปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยมัคคปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่มีทั้งวิตก
วิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยมัคคปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

สัมปยุตตปัจจัย
[๑๒๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย
สัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยสัมปยุตตปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิตกโดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
และวิตก ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๑๒๕] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๐๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดย
สัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ วิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารโดย
สัมปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๒ และวิจาร ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔)
[๑๒๖] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย
สัมปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจาร และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ
วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๐๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปปยุตตปัจจัย
[๑๒๗] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก
และวิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
วิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป
โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยวิปปยุตตปัจจัย วิตกเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
วิตกเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิตกเป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
[๑๒๘] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และ
ปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยวิปปยุตตปัจจัย วิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
วิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดย
วิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย วิจารเป็นปัจจัยแก่
หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๐๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย
ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารและวิตกโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตก
โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจาร และวิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และ
วิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๐๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตก
วิจารและวิตกโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๕)
[๑๒๙] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
วิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)

อัตถิปัจจัย
[๑๓๐] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
อัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๐๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยอัตถิปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดย
อัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยอัตถิปัจจัย (๓)
(ในนัยที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นมูล ปัญหาวารที่เหลือเหมือนกับสหชาตปัจจัย)
[๑๓๑] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ วิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารและจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย วิตกเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารและกฏัตตารูปโดย
อัตถิปัจจัย วิตกเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๓)
(ปัญหาวารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นมูล มี ๕ วาระ ที่เหลือเหมือนกับ
สหชาตปัจจัย)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๑๓๒] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ วิจาร
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์เป็น
ปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยอัตถิปัจจัย วิจาร
เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิจารโดยอัตถิปัจจัย
มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ มหาภูตรูปเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย ... ที่
เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ มหาภูตรูป
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กาย-
วิญญาณโดยอัตถิปัจจัย จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตก
วิจารและวิจารโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อนโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยอัตถิปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึง
เกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย
... รูป ... เสียง ... กลิ่น ...รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้ง
วิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น วิตกจึง
เกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง ...
กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น วิตกจึงเกิดขึ้น
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยอัตถิปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและกฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร
โดยอัตถิปัจจัย (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร
และวิตกโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา ยินดีเพลิดเพลินเพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตก
วิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ฯลฯ
หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึง
เกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอัตถิปัจจัย (๕)
[๑๓๓] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
อัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตกโดย
อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตก
โดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและมหาภูตรูป
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้ง
วิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และวิตกโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และ
วิตกโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔)
[๑๓๔] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ วิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดย
อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ วิตกและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิจาร
โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและมหาภูต-
รูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิตกและมหาภูตรูปเป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิจารโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร วิตกและกวฬิงการาหารเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร วิตกและรูปชีวิตินทรีย์เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจาร ฯลฯ
ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิจารโดย
อัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔)
[๑๓๕] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร
และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตกเป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร
และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๑๓๖] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตก
วิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
สหชาตะและปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร วิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร วิตกและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร วิตกและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร วิตกและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)

นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย และอวิคตปัจจัย
[๑๓๗] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย (นัตถิปัจจัยและวิคตปัจจัย เหมือน
กับอนันตรปัจจัย อวิคตปัจจัยเหมือนกับอัตถิปัจจัย)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๓๘] เหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๒๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๒๕ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๒๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตปัจจัย มี ๓๐ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒๘ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๓๐ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒๕ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๑ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๑ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๖ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๓๐ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๒๕ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๒๕ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๓๐ วาระ

(ฆฏนาก็เหมือนกับกุสลติกะ ผู้รู้พึงนับปัญหาวารอย่างนี้)
อนุโลม จบ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๓๙] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมม-
ปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมม-
ปัจจัย (๖)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัยและกัมมปัจจัย (๗)
[๑๔๐] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมม-
ปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๕)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๑๔๑] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
ปุเรชาตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
ปุเรชาตปัจจัย (๕)
[๑๔๒] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มี
ทั้งวิตกและวิจาร มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้ง
วิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๔)
[๑๔๓] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
และปุเรชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
ปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาต-
ปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
ปุเรชาตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๕)
[๑๔๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
ปัจฉาชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ (๒)
ปัจจนียุทธาร จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๔๕] นเหตุปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๒๙ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๙ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๒๙ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓๔ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๓๕ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอินทรียปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๗ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๒๗ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๒๗ วาระ

(ผู้รู้ เมื่อจะนับปัจจนียะ พึงนับบทเหล่านี้)
ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๔๖] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอาหารปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ

(การนับอนุโลมปัจจนียะ พึงนับโดยเหตุนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๔๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๒๓ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๓๐ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒๘ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๓๐ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปากปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๑๖ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๓๐ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓๐ วาระ

(พึงจําแนกปัจจนียานุโลมโดยเหตุนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
วิตักกติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัย
ขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้นเพราะเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยสุขอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยปีติเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่
สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๒] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ขันธ์ ๑
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วย
สุขเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข
อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๓] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้น
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติอาศัยขันธ์ ๑ ที่
สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วย
สุขเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ที่สหรคต
ด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข
เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วย
ปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๔] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย (ในปฏิสนธิขณะไม่มี) เพราะอนันตรปัจจัย
เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสย-
ปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย (ปุเรชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
ไม่มี) เพราะอาเสวนปัจจัย (ในอาเสวนปัจจัย วิบากไม่มี) เพราะกัมมปัจจัย
เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย ฯลฯ เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย
เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย
เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕] เหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑๐ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑๐ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๐ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อาหารปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๐ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๐ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ

ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑๐ วาระ
(การนับอนุโลม พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งสหรคตด้วย ปีติเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง
สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยปีติเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งสหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๗] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งสหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง
สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งสหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น (๓)
[๘] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง
สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
[๙] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติอาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นอเหตุกะซึ่งสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วย
สุขเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อเหตุกะซึ่งสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วย
ปีติและที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วย
สุขเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอธิปติปัจจัยและนอาเสวนปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย (นอธิปติปัจจัยบริบูรณ์แล้วในปฏิสนธิขณะ) เพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย (พึงกําหนดคําว่า ในอรูป และคําว่า ในปฏิสนธิขณะ ไว้ด้วย) เพราะ
นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย

นกัมมปัจจัย
[๑๑] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติ
เกิดขึ้น
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น
(ด้วยเหตุนี้พึงขยายวาระทั้ง ๑๐ ให้พิสดาร)

นวิปากปัจจัย
[๑๒] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น
เพราะนวิปากปัจจัย ฯลฯ (บริบูรณ์แล้ว ไม่มีปฏิสนธิ)

นฌานปัจจัยเป็นต้น
[๑๓] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
เพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขและที่สหรคตด้วย
กายวิญญาณเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
เกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ
เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
(เพราะนมัคคปัจจัยเหมือนกับนเหตุปัจจัย โมหะจึงไม่มีเพราะนวิปปยุตตปัจจัย
บริบูรณ์แล้ว จึงมีแต่อรูปปัญหาเท่านั้น)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๔] นเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ

(พึงทําปัจจนียะให้บริบูรณ์)
ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
ทุกนัย

[๑๕] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ

(พึงนับอนุโลมปัจจนียะโดยพิสดาร)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
ทุกนัย

[๑๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
] กัมมปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ

ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑๐ วาระ

มัคคปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ

ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑๐ วาระ
ปัจจนียานุโลม จบ ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร เหมือนกับ
ปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ซึ่งสหรคตด้วย
สุขโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๑๘] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
ฯลฯ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุข ฯลฯ (สภาวธรรมที่มีสุขเป็นมูลมี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วย
สุขโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปัจจัย
[๑๙] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ
แล้วพิจารณากุศลนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติ ออกจากฌานที่สหรคตด้วยปีติ ออก
จากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาฌานเป็นต้นนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติ พระ
อริยะมีจิตสหรคตด้วยปีติพิจารณากิเลสที่สหรคตด้วยปีติซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลส
ที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติเห็นแจ้งขันธ์ที่สหรคต
ด้วยปีติโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่สหรคตด้วยปีติจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิด
ขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ
แล้วพิจารณากุศลนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยสุข ออกจากฌานที่สหรคตด้วยปีติ ออก
จากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาฌานเป็นต้นนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยสุข พระ
อริยะมีจิตสหรคตด้วยสุขพิจารณากิเลสที่สหรคตด้วยปีติซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลส
ที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลมีจิตสหรคตด้วยสุขเห็นแจ้งขันธ์ที่สหรคต
ด้วยปีติโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่สหรคตด้วยสุขจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิด
ขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติ ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ
แล้วพิจารณากุศลนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา ออกจากฌานที่สหรคตด้วย
ปีติ ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาฌานเป็นต้นนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วย
อุเบกขา พระอริยะมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาพิจารณากิเลสที่สหรคตด้วยปีติซึ่งละได้
แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขา
เห็นแจ้งขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดี

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
เพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่สหรคตด้วยอุเบกขา
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของ
บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคต
ด้วยปีติ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาจึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข
ออกจากฌานที่สหรคตด้วยปีติ ออกจากมรรค ออกจากผลแล้ว พิจารณาฌาน
เป็นต้นนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข พระอริยะมีจิตสหรคตด้วย
ปีติและที่สหรคตด้วยสุขพิจารณากิเลสที่สหรคตด้วยปีติซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลส
ที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข
เห็นแจ้งขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดี
เพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติ
ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขจึงเกิดขึ้น (๔)
[๒๐] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภ
ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุข ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขจึงเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา ออกจากฌานที่
สหรคตด้วยอุเบกขา ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาฌานเป็นต้นนั้นด้วยจิต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
ที่สหรคตด้วยอุเบกขา พระอริยะมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาพิจารณากิเลสที่สหรคตด้วย
อุเบกขาซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลมีจิตสหรคต
ด้วยอุเบกขาเห็นแจ้งขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่
สหรคตด้วยอุเบกขาจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาด้วย เจโต-
ปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะโดยอารัมมณปัจจัย
ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอารัมมณปัจจัย
ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสา-
นุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย
เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขา ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข
ออกจากฌานที่สหรคตด้วยอุเบกขา ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาฌาน
เป็นต้นนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข พระอริยะมีจิตสหรคตด้วย
ปีติและที่สหรคตด้วยสุขพิจารณากิเลสที่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่งละได้แล้ว พิจารณา
กิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วย
สุขเห็นแจ้งขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วย
อุเบกขา ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขจึงเกิดขึ้น (๔)
[๒๑] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ แก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติและ
สหรคตด้วยสุขให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ บุคคลมีจิตสหรคตด้วย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
อุเบกขา เห็นแจ้งขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น
ราคะที่สหรคตด้วยอุเบกขาจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะ
จึงเกิดขึ้น รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และ
อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุข ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย (ย่อ) (๔)

อธิปติปัจจัย
[๒๒] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติ ให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สหรคต
ด้วยปีติ ออกจากฌานที่สหรคตด้วยปีติ ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณา
ฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติ บุคคลมีจิต
สหรคตด้วยปีติยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่สหรคต
ด้วยปีติจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติ-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติ ให้ทาน ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ที่สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติ
ให้ทาน ฯลฯ ด้วยจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา (ย่อ) (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติให้ทาน ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย (๔)
[๒๓] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยสุข ให้ทาน ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ที่สหรคตด้วยปีติโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ (ย่อ) (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย (๔)
[๒๔] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ (ย่อ) (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ (ย่อ) (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ (ย่อ) (๔)
[๒๕] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยปีติโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ
ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ (ย่อ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย (๔)

อนันตรปัจจัย
[๒๖] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยปีติซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัย
แก่โคตรภูโดยอนันตรปัจจัย (ด้วยเหตุนี้พึงแสดงว่าเป็นปัจจัยแก่บททั้งปวง) อนุโลม
เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค มรรค
เป็นปัจจัยแก่ผล ผลเป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สหรคตด้วย
ปีติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัย
แก่โคตรภูที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่
โวทานที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่ผล
สมาบัติที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่สหรคตด้วย
อุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตโดย
อนันตรปัจจัย มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากซึ่งสหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่มโน-
วิญญาณธาตุที่เป็นกิริยาโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
ภวังคจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย กุศลและอกุศลที่สหรคตด้วยปีติ
เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่สหรคตด้วยอุเบกขา กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ผลเป็น
ปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข
โดยอนันตรปัจจัย ฯลฯ อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สหรคต
ด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย (๔)
[๒๗] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่
โคตรภูที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย ฯลฯ อนุโลมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยปีติซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ฯลฯ อนุโลมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติที่สหรคตด้วยปีติโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่สหรคต
ด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตโดย
อนันตรปัจจัย กายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่มโนธาตุที่เป็นวิบากโดย
อนันตรปัจจัย มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากซึ่งสหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่มโน-
วิญญาณธาตุที่เป็นกิริยาโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่
ภวังคจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย กุศลและอกุศลที่สหรคตด้วยสุข
เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่สหรคตด้วยอุเบกขา กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะผลเป็น
ปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
ฯลฯ อนุโลมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย (๔)
[๒๘] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่งเกิดหลัง ๆ ฯลฯ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่
วิญญาณ ๔ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ
ที่สหรคตด้วยอุเบกขา เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่สหรคต
ด้วยปีติ ฯลฯ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ มโนธาตุที่เป็น
วิบากเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากซึ่งสหรคตด้วยปีติ ฯลฯ ภวังคจิตที่
สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ กุศลและอกุศล
ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่สหรคตด้วยปีติ กิริยาเป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจาก
นิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สหรคตด้วยปีติโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตร-
ปัจจัย (๔)
(อนึ่ง พึงกําหนดข้อความเหล่านี้เท่านั้นเป็นหลัก)
[๒๙] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ แก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่สหรคตด้วยปีติและที่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ภวังคจิตที่ สหรคต
ด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต ฯลฯ มโนวิญญาณธาตุที่
เป็นวิบากซึ่งสหรคตด้วยปีติและสหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็น
กิริยา ฯลฯ ภวังคจิตที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่
สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ กุศลและอกุศลที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข
เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่สหรคตด้วยอุเบกขา กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ผลเป็น
ปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ ฯลฯ อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย (๔)

สมนันตรปัจจัย
[๓๐] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย)

สหชาตปัจจัย
[๓๑] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
สหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ
(ปัจจัยนี้เหมือนกับปฏิจจวาร สหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ)

อัญญมัญญปัจจัยและนิสสยปัจจัย
[๓๒] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยอัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย (พึงเพิ่มเป็น ๑๐ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[๓๓] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยศรัทธาที่สหรคตด้วย
ปีติแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานที่สหรคตด้วยปีติให้เกิดขึ้น
ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ
มีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยศีลที่สหรคตด้วยปีติ ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาแล้ว
ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ มีมานะ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยจาคะที่
สหรคตด้วยปีติ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาแล้วให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานที่สหรคตด้วยปีติให้เกิดขึ้น ฯลฯ ทำสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น มีจิตสหรคตด้วยปีติ ลักทรัพย์ พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดเพ้อเจ้อ งัดแงะ
ปล้นไม่ให้เหลือ ปล้นเรือนหลังเดียว ดักจี้ในทางเปลี่ยว ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ฆ่า
ชาวบ้าน ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติ ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา
... ราคะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติ ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โมหะ
... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยสุขอาศัยศรัทธาที่สหรคตด้วย
ปีติแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยสุข
อาศัยศีลที่สหรคตด้วยปีติ ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โมหะ
... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น
มีจิตสหรคตด้วยสุข ลักทรัพย์ ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ
ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา และ
กายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยศรัทธาที่สหรคต
ด้วยปีติแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือ
ทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยศีลที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว
ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ ความปรารถนาเป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูป-
นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัย
ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขอาศัยศีลที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ
ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๔)
[๓๔] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยสุขอาศัยศรัทธาที่สหรคตด้วย
สุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยสุขอาศัยศีลที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ
ความปรารถนา และกายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม
ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา และกายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุข
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา และกายวิญญาณที่
สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข
แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยศีลที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ
ความปรารถนา และกายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม
ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา และกายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุข
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยศรัทธาที่สหรคต
ด้วยสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําอภิญญาให้เกิดขึ้น ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วย
อุเบกขาอาศัยศีลที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา และกายวิญญาณที่
สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ
ความปรารถนา และกายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคต
ด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูป-
นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัย
ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขอาศัยศีลที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา และกายวิญญาณ
ที่สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ
ความปรารถนา และกายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคต
ด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๓๕] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยศรัทธาที่
สหรคตด้วยอุเบกขาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําอภิญญาให้เกิดขึ้น ฯลฯ ถือทิฏฐิ มี
จิตสหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยศีลที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว
ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนา
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยศรัทธาที่สหรคตด้วย
อุเบกขาแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยศีลที่สหรคตด้วย
อุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคต
ด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ
ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยสุขอาศัยศรัทธาที่สหรคตด้วย
อุเบกขาแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยสุขอาศัยศีลที่สหรคตด้วย
อุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคต
ด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ
ความปรารถนา และกายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัย
ศรัทธาที่สหรคตด้วยอุเบกขาแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยปีติและ
ที่สหรคตด้วยสุขอาศัยศีลที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน
ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๔)
[๓๖] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยศรัทธาที่สหรคตด้วย
ปีติและที่สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยศีล
ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่า
ชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาเป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูป-
นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยสุขอาศัยศรัทธาที่สหรคตด้วย
ปีติและที่สหรคตด้วยสุขแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยสุขอาศัย
ศีลที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ
ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา และกายวิญญาณที่
สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยศรัทธาที่สหรคต
ด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําอภิญญาให้เกิดขึ้น ฯลฯ ถือทิฏฐิ
มีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยศีลที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ
ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ
ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัย
ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล รักษา
อุโบสถ ทําฌานที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ
ทำมรรค ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยปีติและ
ที่สหรคตด้วยสุข อาศัยศีลที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ... สุตะ ... จาคะ
... ปัญญา ... ราคะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาแล้วจึงให้
ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ...
วิปัสสนา ... มรรค ... สมาบัติให้เกิดขึ้น มีจิตสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข
ลักทรัพย์ พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดเพ้อเจ้อ งัดแงะ ปล้นไม่ให้เหลือ ปล้นเรือน
หลังเดียว ดักจี้ในทางเปลี่ยว ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ฆ่าชาวบ้าน ฆ่าชาวนิคม
ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
อาเสวนปัจจัย
[๓๗] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยปีติซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัย
แก่โคตรภูที่สหรคตด้วยปีติ อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค
โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัย
แก่โคตรภูที่สหรคตด้วยสุขโดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่
โวทานที่สหรคตด้วยสุขโดยอาเสวนปัจจัย โคตรภูที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่
มรรคที่สหรคตด้วยสุข โวทานที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่มรรคที่สหรคตด้วยสุข
โดยอาเสวนปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย
ฯลฯ โวทานที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่มรรคที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วย
สุขโดยอาเสวนปัจจัย (๓)
[๓๘] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
ฯลฯ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
ปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอาเสวนปัจจัย (ย่อ) (พึงดูนัยแห่งปีติแล้วเพิ่มเถิด)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่งเกิดหลัง ๆ ฯลฯ โวทานที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็น
ปัจจัยแก่มรรคที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอาเสวนปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๓๙] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วย
ปีติและที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย ฯลฯ โวทานที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่มรรคที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดย
อาเสวนปัจจัย (๓)

กัมมปัจจัย
[๔๐] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมม-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
กัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่ง
สหรคตด้วยปีติโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดยกัมม-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่สหรคต
ด้วยสุขโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่ง
สหรคตด้วยสุขโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งสหรคตด้วยอุเบกขาโดยกัมมปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่สหรคต
ด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่ง
สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยกัมมปัจจัย (๔)
[๔๑] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข ...
(พึงดูการนับทั้ง ๔ แล้วเพิ่มเถิด)
[๔๒] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยอุเบกขา
ฯลฯ
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
กัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและ
ที่สหรคตด้วยสุขโดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่
สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ (๔)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยปีติ ... (พึงเพิ่มเป็น ๔ วาระ ผู้รู้พึงจําแนกสภาวธรรมที่สหรคตด้วย
ปีติ) (๔)

วิปากปัจจัย
[๔๓] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
วิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งสหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
โดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
(พึงขยายวาระทั้ง ๑๐ ให้พิสดารเหมือนเหตุปัจจัยในปฏิจจวาร)

อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๔๔] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัย
โดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย (พึงขยาย
วาระทั้ง ๑๐ ให้พิสดาร) เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย
(นัตถิปัจจัยและวิคตปัจจัยเหมือนกับอนันตรปัจจัย) เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๕] เหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑๖ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๖ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๑๖ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๖ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๐ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๐ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑๖ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑๖ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ

(ผู้รู้พึงนับอนุโลมกุสลติกะ)
อนุโลม จบ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๔๖] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดย
อารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๔)
[๔๗] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดย
อารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัยและกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๔)
[๔๘] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัยและกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๔)
[๔๙] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยปีติโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมม-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมม-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสย-
ปัจจัย และกัมมปัจจัย (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๐] นเหตุปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๖ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๑๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๑๖ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร

โนวิคตปัจจัย มี ๑๖ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๑๖ วาระ

ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑๖ วาระ (ผู้รู้พึงนับปัจจนียะ)
ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
ทุกนัย

[๕๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นอาหารปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นอินทรียปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นฌานปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นมัคคปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ

ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑๐ วาระ (ผู้รู้พึงนับอนุโลมปัจจนียะ)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
ทุกนัย

[๕๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑๖ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๑๖ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑๖ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑๖ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑๖ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๑๖ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๑๖ าระ
วิคตปัจจัย ” มี ๑๖ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ

(ผู้รู้พึงนับปัจจนียานุโลม)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปีติติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๒] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๓] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัย
มหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
[๔] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐาน-
รูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและอาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑
ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)

อธิปติปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
[๗] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

อนันตรปัจจัยและสมนันตรปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย
(ปัจจัยนี้เหมือนกับอารัมมณปัจจัย)

สหชาตปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น
เพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัย
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
[๑๐] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อัญญมัญญปัจจัย
[๑๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะ
อัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓
อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น
... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น

นิสสยปัจจัยเป็นต้น
[๑๒] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนิสสยปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับเหตุ-
ปัจจัย) เพราะอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ เพราะปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
(ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะอาเสวนปัจจัย (ไม่มีวิปากปฏิสนธิ) เพราะกัมมปัจจัย
(ปัจจัยมีนิสสยปัจจัยเป็นต้นบริบูรณ์แล้ว รูปที่เป็นภายในและมหาภูตรูปของเหล่า
อสัญญสัตตพรหมก็บริบูรณ์แล้ว)

วิปากปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและด้วยมรรคเบื้อง
บน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
เกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัต
ตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๑๔] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะอาหารปัจจัย (ปัจจัยมีอาหารปัจจัยเป็นต้น
บริบูรณ์แล้ว มหาภูตรูปที่เป็นภายในและอาหารสมุฏฐานรูปก็บริบูรณ์แล้ว) เพราะ
อินทรียปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับกัมมปัจจัย) เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย
(ปัจจัยนี้เหมือนกับเหตุปัจจัย) เพราะสัมปยุตตปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอารัมมณ-
ปัจจัย) เพราะวิปปยุตตปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับวิปปยุตตปัจจัยในกุสลติกะ) เพราะ
อัตถิปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับสหชาตปัจจัย) เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย
เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๕] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร

ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

(ผู้รู้พึงนับอนุโลมตามบทเหล่านี้)
อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๖] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูป
ที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓
อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๑)

นอารัมมณปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
เกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน
... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ (๑)
[๑๘] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๑)

นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๑๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
บริบูรณ์แล้วเหมือนกับเหตุปัจจัย) เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย
เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

นปุเรชาตปัจจัย
[๒๐] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น (๒)
[๒๑] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ ที่เป็น
ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๑)

นปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๒๒] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย

นกัมมปัจจัย
[๒๓] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ อาศัยขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ...
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)

นวิปากปัจจัย
[๒๔] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับ
นอธิปติปัจจัย ไม่มีปฏิสนธิ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๗๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอาหารปัจจัย
[๒๕] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น
เพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ...
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

นอินทรียปัจจัย
[๒๖] ... อาศัยสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ ฯลฯ เพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม รูปชีวิตินทรีย์อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น

นฌานปัจจัย
[๒๗] ... อาศัยสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยปัญจวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ...
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

นมัคคปัจจัย
[๒๘] ... อาศัยสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ
ซึ่งไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ในปฏิสนธิ
ขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ...
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๗๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นสัมปยุตตปัจจัย
[๒๙] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนสัมปยุตตปัจจัย
(ปัจจัยนี้เหมือนกับนอารัมมณปัจจัย)

นวิปปยุตตปัจจัย
[๓๐] ... อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ เพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค ฯลฯ (๑)
... อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ เพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิอาศัยขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ ฯลฯ (๑)
... อาศัยสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ ฯลฯ เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ...
ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
ฯลฯ (๑)

โนนัตถิปัจจัยและโนวิคตปัจจัย
[๓๑] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ เพราะโนนัตถิปัจจัย
เพราะโนวิคตปัจจัย (ปัจจัยทั้ง ๒ นี้เหมือนกับนอารัมมณปัจจัย)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๓๒] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๗๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

(ทราบแล้วพึงนับต่อไป)
ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๓๓] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๗๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นสมนันตรปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(ผู้รู้พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๓๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๗๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๒. สหชาตวาร

อาเสวนปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

(ผู้รู้พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๒. สหชาตวาร
๑ - ๔. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๓๕] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดร่วมกับสภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดร่วม
กับขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ เกิดร่วมกับขันธ์ ๒ ฯลฯ
(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๗๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๓. ปัจจยวาร
๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๖] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ
[๓๗] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ ทำมหาภูตรูป ๑ ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป ทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ทำสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๗๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูป
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูป ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕)
[๓๘] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
ทำขันธ์ ๒ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๗๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๓. ปัจจยวาร
[๓๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ
ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้อง
บน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ และ
หทัยวัตถุ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และ
ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)

อารัมมณปัจจัย
[๔๐] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำ
ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ทำขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๗๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำ
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณ ด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ
ทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๔๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ และ
หทัยวัตถุ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๗๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๓. ปัจจยวาร
อธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๔๒] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย (อธิปติปัจจัย
เป็นต้นบริบูรณ์แล้ว ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย
(ปัจจัยทั้ง ๒ นี้เหมือนกับอารัมมณปัจจัย)

สหชาตปัจจัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... มี ๓ วาระ
... ทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณ ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ
[๔๓] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ ๑
ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำ
ขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ ทำ
มหาภูตรูป ๑ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ...
ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย
(ปัจจัยที่เหลือเหมือนกับเหตุปัจจัย)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๘๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๓. ปัจจยวาร
อัญญมัญญปัจจัยเป็นต้น
[๔๔] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะ
นิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะ
อาเสวนปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิและวิบาก) เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย
เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย
เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย
เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๔๕] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๘๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๓. ปัจจยวาร

มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔๖] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ ทำขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำ
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ ๑ ที่เป็น
อเหตุกะซึ่งไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำ
ขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๘๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๓. ปัจจยวาร
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๔๗] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำ
ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นอารัมมณปัจจัย
[๔๘] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้อง
บน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๘๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำ
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
กฏัตตารูปทำขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่
เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
[๔๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และทำมหาภูตรูป
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๕๐] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (ปัจจัยนี้
เหมือนกับสหชาตปัจจัย) เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะ
นอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

นปุเรชาตปัจจัย
[๕๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ใน
อรูปาวจรภูมิ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๘๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ใน
อรูปาวจรภูมิ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
[๕๒] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กฏัตตารูปทำขันธ์ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ...
ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๘๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๕๓] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะ
นอาเสวนปัจจัย

นกัมมปัจจัย
[๕๔] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
... ทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ เพราะนกัมม-
ปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำขันธ์ที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
... ทำสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ ทำขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุ
เป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๘๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๕๕] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคทำขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ ทำขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นวิปากปัจจัยเป็นต้น
[๕๖] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (นวิปาก-
ปัจจัยเป็นต้นบริบูรณ์แล้ว ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็น
ภายนอก ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ เพราะ
นอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็น
สมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์ทำมหาภูตรูป
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ปัญจวิญญาณ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก
ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๘๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๓. ปัจจยวาร
ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ เพราะ
นสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ... ทำขันธ์ ๑
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ สภาวธรรมที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ...
ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ เพราะโนนัตถิปัจจัย
เพราะโนวิคตปัจจัย

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๕๗] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๘๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๓. ปัจจยวาร

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ


ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๕๘] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๘๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๓. ปัจจยวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๕๙] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๗ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๖ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาร จบ
(พึงทํานิสสยวารให้เหมือนกับปัจจยวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๙๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๐] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับ
ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดระคนกับสภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับ
ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิด
ระคนกับสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๖๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเพราะอารัมมณปัจจัย (พึงขยายทุกบทให้พิสดาร
มีบทละ ๓ วาระ)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๖๒] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๙๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๖๓] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดระคนกับสภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๙๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดระคนกับสภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิด
ระคนกับสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่ต้อง
ประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ฯลฯ (๑)

นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๖๔] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดระคนกับสภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเพราะนอธิปติปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะ
นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย เพราะนวิปากปัจจัย
ได้แก่ ... เกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ปัญจวิญญาณ ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ เพราะนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๖๕] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๙๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๖๖] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๖๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๙๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๖. สัมปยุตตวาร

อาเสวนปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
สังสัฏฐวาร จบ

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๖. สัมปยุตตวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๖๘] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคสัมปยุตกับสภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (สัมปยุตตวารเหมือนกับ
สังสัฏฐวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๙๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุ
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๗๐] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ เหตุที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ เหตุที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๙๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ฯลฯ เหตุที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
กฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๗๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดี
เพลิดเพลินราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินราคะนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึง
เกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น
บุคคลยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินทิฏฐินั้น ราคะที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัส
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภวิจิกิจฉา วิจิกิจฉาจึง
เกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น
เพราะปรารภโทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค โทมนัสที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
พระอริยะพิจารณากิเลสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งละได้แล้ว รู้กิเลสที่เคย
เกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๙๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๗๒] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิด
เพลินราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลิน
ราคะนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น
โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น เพราะปรารภอุทธัจจะ
อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น เพราะ
ปรารภโทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลิน
ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินราคะ
นั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉา
จึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้นเพราะปรารภ
อุทธัจจะ ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคจึงเกิดขึ้นเพราะปรารภโทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โทมนัสที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
พระอริยะพิจารณากิเลสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งละได้แล้ว พิจารณา
กิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้อง
บน ๓ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่ง
พร้อมด้วยจิตที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติ-
ญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๓)
[๗๓] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณา

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๙๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
กุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน พระ
อริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพาน
เป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผลและอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย บุคคล
เห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ
... ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ
... ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่
วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ
ฯลฯ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึง
เกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน
แล้วยินดีเพลิดเพลินฌาน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินฌานนั้น ราคะที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ เมื่อฌานเสื่อม
โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้มีความเดือดร้อน
ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินโสตะ ฯลฯ ฆานะ ฯลฯ ชิวหา
ฯลฯ กาย ฯลฯ รูป ฯลฯ เสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ รส ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ
หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๙๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึง
เกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น
บุคคลยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดี
เพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ
ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น (๓)

อธิปติปัจจัย
[๗๔] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้น
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทํา
ความยินดีเพลิดเพลินทิฏฐินั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๐๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มีอย่าง
เดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๗๕] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินราคะ
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึง
เกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ
ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มีอย่าง
เดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๐๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิบดีธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๔)
[๗๖] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ
ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พระอริยะออกจาก
มรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัย
แก่โคตรภู โวทาน มรรคและผลโดยอธิปติปัจจัย
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอธิปติปัจจัย มีอย่าง
เดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิด
เพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่น ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดี
เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๐๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มีอย่าง
เดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิด
เพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้อง
บน ๓ จึงเกิดขึ้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ บุคคลยินดีเพลิดเพลิน
ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น (๓)

อนันตรปัจจัย
[๗๗] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์
ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๐๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็น
ปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค มรรคเป็น
ปัจจัยแก่ผล ผลเป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญา-
นาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ อาวัชชนจิตเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่
อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตร-
ปัจจัย (๓)

สมนันตรปัจจัย
[๗๘] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตร-
ปัจจัย)

สหชาตปัจจัย
[๗๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๐๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยสหชาตปัจจัย หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ มหาภูต-
รูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน
... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
สหชาตปัจจัย (๑)

อัญญมัญญปัจจัย
[๘๐] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน
๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ
ขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๐๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑
ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ
ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓
โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)

นิสสยปัจจัย
[๘๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขายตนะ
เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
หทัยวัตถุ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยนิสสย-
ปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๐๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๘๒] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้อง
บน ๓ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
นิสสยปัจจัย (๒)

อุปนิสสยปัจจัย
[๘๓] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
แล้วฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ อาศัยโทสะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรค ... โมหะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์
ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ... ทิฏฐิ ...
ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ ...
โมหะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๐๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
แล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยโทสะที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทํา
สมาบัติให้เกิดขึ้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ...
ทิฏฐิ ... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ...
ทุกข์ทางกาย ... ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
[๘๔] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ...
โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้อง
บน ๓ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูป-
นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ อาศัยโทสะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ...
โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ราคะที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ความ
ปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ... โมหะ
... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย ความยินดีด้วยอำนาจความ
พอใจในสิ่งของของตนเป็นปัจจัยแก่ความยินดีด้วยอํานาจความพอใจในสิ่งของของ
คนอื่นโดยอุปนิสสยปัจจัย ความยินดีด้วยอํานาจความพอใจในสิ่งหวงแหนของตน
เป็นปัจจัยแก่ความยินดีด้วยอํานาจความพอใจในสิ่งหวงแหนของคนอื่นโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๐๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
แล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้นอาศัยโทสะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน
๓ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น
ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ...
ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๘๕] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะและ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้
เกิดขึ้น อาศัยศีล ...สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย
... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธา
... สุตะ ... ศีล ... จาคะ ... ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ
... โภชนะ ... เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ...
ทุกข์ทางกาย ... ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓
อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วถือทิฏฐิอาศัยศีล ฯลฯ
เสนาสนะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่
ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ... ทิฏฐิ ...
ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๐๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓
อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วมีมานะอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา
... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะแล้วมีมานะ ศรัทธา
ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะ
เป็นปัจจัยแก่ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ
... ความปรารถนาโดย อุปนิสสยปัจจัย (๓)

ปุเรชาตปัจจัย
[๘๖] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา เห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น
... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ เพราะปรารภความ
ยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๑๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
จึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น
ฯลฯ บุคคลยินดีเพลิดเพลินหทัยวัตถุ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินหทัยวัตถุ
นั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉา
จึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ เพราะปรารภความ
ยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น
อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น ยินดี
เพลิดเพลินโสตะ ฯลฯ กาย ... รูป ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้อง
บน ๓ จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
จึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย (๓)

ปัจฉาชาตปัจจัย
[๘๗] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปัจฉาชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปัจฉาชาตปัจจัย มี

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๑๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
อย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดย
ปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย (๑)

อาเสวนปัจจัย
[๘๘] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย ฯลฯ ที่เกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย ฯลฯ ที่เกิดหลัง ๆ โดยอาเสวน-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดย
อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย ฯลฯ ที่เกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลม
เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ... อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ... โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค ...
โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๑)

กัมมปัจจัย
[๘๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๑๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง
คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมม-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่างคือ สหชาตะและนานาขณิกะ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๑๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิ-
ขณะ เจตนาที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูป ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)

วิปากปัจจัย
[๙๐] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
โดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปาก-
ปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปากปัจจัย

อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๙๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอาหารปัจจัย (ย่อ) กวฬิงการาหาร มี ๗
วาระ เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ จักขุนทรีย์ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์ ฯลฯ
มี ๗ วาระ เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดย
สัมปยุตตปัจจัย

วิปปยุตตปัจจัย
[๙๒] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยวิปปยุตตปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๑๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (แม้บทนี้ก็เหมือนกับบทว่าโสดาปัตติมรรค)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป
โดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่าง
เดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย มี
อย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๑๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
อัตถิปัจจัย
[๙๓] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง
คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่กาย
นี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มเหมือนกับบทว่าโสดา-
ปัตติมรรค)
[๙๔] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิ-
ขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดย
อัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๑๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา เห็นแจ้งโสตะ ... กาย ... รูป ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพ-
โสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ ฯลฯ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัย
แก่กายนี้ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว
คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ เพราะปรารภความยินดีเพลิด
เพลินจักษุนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิด
เพลินโสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย มีอย่าง
เดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะ
จึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิดเพลิน
โสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๙๕] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๑๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและหทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัยมี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมหาภูตรูปเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและกวฬิงการา-
หารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและรูปชีวิตินทรีย์
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ (พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ)

นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย และอวิคตปัจจัย
[๙๖] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็น
ปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๙๗] เหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๘ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๑๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย /lมี ๘ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๙๘] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุป-
นิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๑๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาต-
ปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยสหชาตปัจจัย (๓)
[๙๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัยและ
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัยและปัจฉาชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ โดยสหชาตปัจจัย (๔)
[๑๐๐] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัยและอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสย-
ปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๒๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย
อุปนิสสยปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๓)
[๑๐๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรค มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระและอินทรียะ (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระและอินทรียะ (๒)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๐๒] นเหตุปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๒๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๘ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๘ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๑๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๑๔ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๐๓] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๒๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอัญญมัญญปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอินทรียปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นฌานปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นมัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๐๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๘ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๒๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

นิสสยปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๘ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
ทัสสเนนปหาตัพพติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๒๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๒] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๒๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ...
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์ อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มี
เหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์ อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๕)
[๔] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๒๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
และมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและอาศัยโมหะเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและอาศัยโมหะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและอาศัยโมหะเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ
เกิดขึ้น ฯลฯ (๓)
[๕] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและอาศัยโมหะเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ และโมหะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและอาศัย
โมหะเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๒๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและอาศัยโมหะเกิดขึ้น ฯลฯ (๓)

อารัมมณปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และโมหะอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และโมหะอาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (พึง
จําแนกเหมือนกับบทว่าโสดาปัตติมรรค)
[๗] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๒๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๓)
[๘] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและอาศัยโมหะเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและอาศัยโมหะเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ
เกิดขึ้น (๑)

อธิปติปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ (ปัจจัยนี้
เหมือนกับเหตุปัจจัย) ... อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
ฯลฯ มี ๓ วาระ (ปัจจัยนี้เหมือนกับเหตุปัจจัย ในอธิปติปัจจัยไม่มีโมหะ)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ...
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๒๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๑๐] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

อนันตรปัจจัยและสมนันตรปัจจัย
[๑๑] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตร-
ปัจจัย (ปัจจัยทั้งสองนี้เหมือนกับอารัมมณปัจจัย)

สหชาตปัจจัย
[๑๒] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะสหชาต-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
เกิดขึ้น โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๓๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ ๓ โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น ฯลฯ (๓)
[๑๓] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะสหชาต-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
เกิดขึ้น โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ ๓ โมหะและจิตตสมุฏฐาน
รูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ฯลฯ (๓)
[๑๔] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มี
เหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ...
ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๓๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มี
เหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะสหชาต-
ปัจจัย (ย่อ) (พึงเพิ่มให้เหมือนกับเหตุปัจจัย) (๓)

อัญญมัญญปัจจัยเป็นต้น
[๑๕] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะ
นิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย
เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย
เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย
เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๖] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๓๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑๑ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๓๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อเหตุกะซึ่งมีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหาร
เป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)

นอารัมมณปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
[๑๙] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๓๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและอาศัยโมหะ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและอาศัย
โมหะเกิดขึ้น (๑)

นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๒๐] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะ
นอธิปติปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับสหชาตปัจจัย) เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะ
นสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

นปุเรชาตปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ใน
อรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๓๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓
และโมหะอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๓)
... อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ มี ๓
วาระ (ปัจจัยนี้เหมือนกับบทว่าโสดาปัตติมรรค)
[๒๒] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ... จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๓)
[๒๓] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและอาศัยโมหะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๓๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและอาศัยโมหะ
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย (พึงเพิ่มแม้ปัจจัยเหล่านี้เป็น ๒
วาระ)

นปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๒๔] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะ
นอาเสวนปัจจัย

นกัมมปัจจัย
[๒๕] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนา
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มี
อุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๓๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๓)
[๒๖] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยขันธ์
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและอาศัยโมหะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยขันธ์ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะและอาศัยโมหะเกิดขึ้น (๑)

นวิปากปัจจัย
[๒๗] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ)

นอาหารปัจจัยเป็นต้น
[๒๘] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ...
สําหรับ เหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ เพราะนอินทรียปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ...
ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ปัญจวิญญาณ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๓๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ฯลฯ (พึงเพิ่มมหาภูตรูปด้วย) เพราะนมัคคปัจจัย ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ
ซึ่งมีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ สําหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย

นวิปปยุตตปัจจัยเป็นต้น
[๒๙] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ใน
อรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตต-
ปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓
และโมหะอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ใน
อรูปาวจรภูมิ ... ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ
[๓๐] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มี
เหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มี
อุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๓๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตต-
ปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มี
เหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโมหะที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะเกิดขึ้น (๓)
[๓๑] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและอาศัยโมหะเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและอาศัยโมหะเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... เพราะ
โนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๒] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๔๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๓๓] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๔๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นปุเรชาตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๓๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๔๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร

ฌานปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวารเหมือนปฏิจจวาร)

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๒. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๕] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
(ปัจจัยนี้เหมือนกับปฏิจจวาร)
... ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ
(ปัจจัยนี้เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำ
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ... มี ๑ วาระ (ปัจจัยนี้เหมือนกับปฏิจจวาร) ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๔๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์ทำโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์ทำโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐาน-
รูปทำโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕)
[๓๖] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำ ขันธ์ ๑
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและทำโมหะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และโมหะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๔๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำมหาภูตรูป
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและทำโมหะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและอาศัยหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒
และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและทำโมหะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ

อารัมมณปัจจัย
[๓๗] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย มี
๓ วาระ (ปัจจัยนี้เหมือนกับอารัมมณปัจจัยในปฏิจจวาร)
... ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ
(ปัจจัยนี้เหมือนกับปฏิจจวาร)
[๓๘] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๔๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทำหทัยวัตถุเกิดขึ้น จักขุวิญญาณทำจักขายตนะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่มี
เหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์ทำโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์ทำโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๔๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
[๓๙] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำ
ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและทำโมหะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และโมหะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและอาศัยหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และโมหะ ทำขันธ์ ๑
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ และ
หทัยวัตถุ ฯลฯ (๓)
[๔๐] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
และทำโมหะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๔๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ
โมหะทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

อธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๔๑] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย มี ๓
วาระ
... ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๔๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
โสดาปัตติมรรคและไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕)
[๔๒] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำ
มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำมหาภูตรูป
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๔๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำ
ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ มี ๓ วาระ (เหมือนกับบทว่าโสดาปัตติมรรค) เพราะอนันตรปัจจัย
เพราะสมนันตรปัจจัย

สหชาตปัจจัย
[๔๓] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
สหชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๓ โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
... ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ
(ย่อ) (เหมือนกับบทว่าโสดาปัตติมรรค)
[๔๔] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๕๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำ
ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ ทำมหาภูตรูป ๑
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำ
จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
สหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์ทำโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
สหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์ทำโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐาน-
รูปทำโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และโมหะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๕๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
สหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทำโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕)
[๔๕] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำ
ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและทำโมหะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำ
มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ
ทำโมหะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาทำขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและอาศัยหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๕๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและทำโมหะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ และ
โมหะทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และโมหะทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ

อัญญมัญญปัจจัยเป็นต้น
[๔๖] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะ
นิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย
เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย
เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย

วิปปยุตตปัจจัย
[๔๗] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น โมหะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตต-
สมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๕๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ ๓ โมหะ
และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์และโมหะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย มี ๓
วาระ (เหมือนกับบทว่าโสดาปัตติมรรค)
[๔๘] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำ
ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปทำโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำโมหะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย มหาภูตรูป ๓ ทำมหาภูตรูป ๑ ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตรูปที่เป็นอุปาทายรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๕๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย สัมปยุตตขันธ์ทำโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย สัมปยุตตขันธ์ทำโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทำโมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปทำโมหะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและโมหะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๕๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (เหมือนกับบทว่าโสดาปัตติมรรค)
[๔๙] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำ
ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและทำโมหะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำ
มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและทำโมหะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์และโมหะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๕๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำมหา-
ภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตปัจจัย
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาทำหทัยวัตถุและโมหะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์และโมหะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
วิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ ๓ และโมหะทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ และโมหะทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๓)
... ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ มี ๓ วาระ
(เหมือนกับบทว่าโสดาปัตติมรรค)

อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๕๐] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอัตถิปัจจัย เพราะ
นัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๑] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๕๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร

นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๕๒] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๕๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่
เป็นอเหตุกะซึ่งมีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ (บริบูรณ์แล้ว) จักขุวิญญาณ
ทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
[๕๓] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นอารัมมณปัจจัย
[๕๔] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๕๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปทำขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
[๕๕] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำ
มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ
ทำโมหะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และทำ
มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและ
ทำโมหะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๖๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๕๖] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย
(ปัจจัยนี้เหมือนกับสหชาตปัจจัย) เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย
เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย (เหมือน
กับปัจจนียะในปฏิจจวาร มี ๑๓ วาระ ไม่มีข้อต่างกัน) เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย
เพราะนอาเสวนปัจจัย

นกัมมปัจจัย
[๕๗] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน
ฯลฯ เจตนาที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๖๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตเจตนาทำโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตเจตนาทำโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๓)
[๕๘] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตเจตนาทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และทำโมหะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ทำขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตเจตนาทำขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
และทำโมหะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นวิปากปัจจัยเป็นต้น
[๕๙] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (บริบูรณ์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๖๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
แล้ว ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะนอาหารปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอุตุเป็น
สมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ เพราะนอินทรียปัจจัย ... ที่เป็น
ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นฌานปัจจัย ... ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ...
ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย (เหมือนกับนวิปปยุตตปัจจัย ในปัจจนียะแห่งปฏิจจวาร
ไม่มีข้อต่างกัน มี ๑๑ วาระ) เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๖๐] นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๖๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร

นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๖๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๖๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. ปัจจยวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๖๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๕ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๕ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๕ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๕ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาร จบ
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๖๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๓] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดระคนกับสภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิด
ระคนกับขันธ์ ๒ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดระคนกับสภาวธรรมที่
มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์เกิดระคนกับโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์เกิดระคนกับโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (๓)
[๖๔] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดระคนกับสภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับ
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและเกิดระคนกับโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๖๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับ
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและเกิดระคนกับโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๖๕] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดระคนกับสภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และโมหะ
เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
... เกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ...
มี ๓ วาระ
[๖๖] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ เกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคน
กับขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์เกิดระคนกับโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๖๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์เกิดระคนกับโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดระคนกับสภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและเกิดระคนกับโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒
และโมหะ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับ
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและเกิดระคนกับโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)

อธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๖๗] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดระคนกับสภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิด
ระคนกับขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)
... เกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ...
มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ เพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... เพราะอนันตรปัจจัย
เพราะสมนันตรปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๖๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สหชาตปัจจัยเป็นต้น
[๖๘] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดระคนกับสภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเพราะสหชาตปัจจัย เพราะ
อัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย
เพราะอาเสวนปัจจัย เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย
เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย
เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย
เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๖๙] เหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๑ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๑ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๑ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๖๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑๑ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๗๐] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ เกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเพราะนเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ
ซึ่งมีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๑)

นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๗๑] ... เกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
เพราะนอธิปติปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับสหชาตปัจจัย) เพราะนปุเรชาตปัจจัย
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
เพราะนวิปากปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๗๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๗๒] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๗๓] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๗ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๗๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๓. สังสัฏฐวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๗๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
สังสัฏฐวาร จบ
(สัมปยุตตวารเหมือนกับสังสัฏฐวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๗๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๗๕] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ
[๗๖] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๗๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะ
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุ-
ปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะ
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุ-
ปัจจัย (๕)

อารัมมณปัจจัย
[๗๗] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคล
ยินดีเพลิดเพลินราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค เพราะปรารภความ
ยินดีเพลิดเพลินราคะนั้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
จึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินทิฏฐินั้น
ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึง
เกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภ
วิจิกิจฉา วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภโทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉา
จึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ พระอริยะพิจารณากิเลสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งละได้แล้ว

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๗๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ ด้วยเจโตปริยญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ อาวัชชนจิต และโมหะโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึงเกิดขึ้น (๓)
[๗๘] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึง
เกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึง
เกิดขึ้น เพราะปรารภอุทธัจจะ อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น เพราะปรารภโทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะ
จึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดี
เพลิดเพลินราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินราคะนั้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ
จึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึง
เกิดขึ้น เพราะปรารภอุทธัจจะ ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภโทมนัสที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึง
เกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๗๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณากิเลสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่ง
ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ด้วยเจโตปริยญาณ
ฯลฯ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ อาวัชชนจิต และ
โมหะโดยอารัมมณปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึงเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะจึง
เกิดขึ้น (๕)
[๗๙] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน ... (พึงขยายให้พิสดารเหมือน
กับทัสสนติกะ) ... เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตและโมหะโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและไม่ต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน ... (เหมือนกับทัสสนติกะ) (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ บุคคลให้ทาน ... (เหมือนกับทัสสนติกะ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๗๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
เพราะปรารภจักษุ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภ
โสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึงเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะจึงเกิดขึ้น (๕)
[๘๐] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึง
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค มรรคเบื้องบน ๓ และโมหะจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ
โมหะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึงเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๗๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๘๑] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึง
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึง
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ และโมหะจึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
และโมหะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึงเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะและโมหะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะจึงเกิดขึ้น (๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๗๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
อธิปติปัจจัย
[๘๒] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอธิปติปัจจัย (เหมือนกับทัสสนติกะ
มี ๑๐ วาระ)

อนันตรปัจจัย
[๘๓] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะซึ่งเกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่ง
เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดหลัง ๆ และโมหะโดย
อนันตรปัจจัย (๓)
[๘๔] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๗๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะซึ่งเกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดหลัง ๆ และโมหะโดย
อนันตรปัจจัย (๓)
[๘๕] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญา-
ยตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โมหะ
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่ง
เกิดหลัง ๆ และโมหะโดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและโมหะโดยอนันตรปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
ซึ่งเกิดหลัง ๆ และโมหะโดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอนันตรปัจจัย (๕)
[๘๖] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อน ๆ และโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อน ๆ และโมหะเป็นปัจจัยแก่โมหะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดย
อนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
มรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อน ๆ
และโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดหลัง ๆ และโมหะโดยอนันตร-
ปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (มีข้อความเหมือน
กับบทว่าโสดาปัตติมรรค)

สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๘๗] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือน
กับอนันตรปัจจัย) เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย (ย่อเหมือนกับสหชาตปัจจัยใน
ปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย (ย่อเหมือนกับอัญญมัญญปัจจัยใน
ปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย (ย่อเหมือนกับนิสสยวารในปัจจยวาร ไม่มี
ฆฏนาเป็นแผนกหนึ่งต่างหาก)

อุปนิสสยปัจจัย
[๘๘] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรค แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ อาศัยโทสะที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค ... โมหะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลาย
สงฆ์ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ... ทิฏฐิ
... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ
ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยโทสะที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค ... โมหะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนา
ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย
ผลสมาบัติและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ
... โมหะ ... ทิฏฐิ ... .ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๘๙] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓
อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ
... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน
๓ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ อาศัยโทสะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลาย
สงฆ์ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ความปรารถนาเป็น
ปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ... ทิฏฐิ
... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย ความยินดีด้วยอํานาจความพอใจในสิ่งของ
ของตนเป็นปัจจัยแก่ความยินดีด้วยอํานาจความพอใจในสิ่งของของคนอื่นโดย
อุปนิสสยปัจจัย ความยินดีด้วยอํานาจความพอใจในสิ่งหวงแหนของตนเป็นปัจจัยแก่
ความยินดีด้วยอํานาจความพอใจในสิ่งหวงแหนของคนอื่นโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน
๓ แล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยโทสะที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ
ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ความ
ปรารถนา ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ
ทุกข์ทางกาย ผลสมาบัติและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ
ได้แก่ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ความปรารถนาเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูป-
นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ
ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๕)
[๙๐] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น
อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ...
เสนาสนะ ... โมหะแล้วให้ทาน ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ โมหะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ฯลฯ ผลสมาบัติและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ
ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... เสนาสนะ ... โมหะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ
ทําลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ และโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว มีมานะ ฯลฯ อาศัยโมหะแล้ว
มีมานะ ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง
คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธา ... ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย
... เสนาสนะ และโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะโดยอุป-
นิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๕)
[๙๑] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูป-
นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะ
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความปรารถนาโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง
คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ผลสมาบัติและโมหะโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๙๒] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูป-
นิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความปรารถนาโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูป-
นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะ
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความปรารถนาโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี
๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ
โมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๕)

ปุเรชาตปัจจัย
[๙๓] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
เห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ และโมหะโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง
คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ
โมหะโดยปุเรชาตปัจจัย (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและ
โมหะโดยปุเรชาตปัจจัย (๕)

ปัจฉาชาตปัจจัย
[๙๔] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดย
ปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ โดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว
คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปัจฉาชาตปัจจัย มี
อย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

อาเสวนปัจจัย
[๙๕] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอาเสวนปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะที่เกิดหลัง ๆ
โดยอาเสวนปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดหลัง ๆ และโมหะโดย
อาเสวนปัจจัย
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ (ย่อ) มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ฯลฯ (ในวาระที่มีอาเสวนปัจจัยเป็นมูล วุฏฐานะและอาวัชชนจิตพึงละไว้ ๑๗
วาระ บริบูรณ์แล้ว เหมือนกับอนันตรปัจจัย)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
กัมมปัจจัย
[๙๖] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัย
แก่โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
[๙๗] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
กัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย
ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่โมหะและ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปโดย
กัมมปัจจัย (๓)
[๙๘] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)

วิปากปัจจัย
[๙๙] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยวิปากปัจจัย (ทั้งปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล) ขันธ์ที่เป็นวิบากเป็น
ปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ

อาหารปัจจัย
[๑๐๐] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหาร
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอาหาร-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอาหารปัจจัย
ได้แก่ อาหารที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่โมหะและ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ
(เหมือนกับบทว่าโสดาปัตติมรรค)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอาหารปัจจัย

อินทรียปัจจัยเป็นต้น
[๑๐๑] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
(ปัจจัยนี้เหมือนกับอาหารปัจจัย พึงเพิ่มโมหะเข้าด้วย)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ฯลฯ จักขุนทรีย์เป็นปัจจัย
แก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดย
มัคคปัจจัย (พึงทําปัจจัยเหล่านี้ให้เป็นปัจจัยที่มีเหตุ) เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย
(เหมือนกับสัมปยุตตวารในปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปปยุตตปัจจัย
[๑๐๒] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (เหมือนกับทัสสนติกะ)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (เหมือนกับทัสสนติกะ)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ โดยวิปปยุตตปัจจัยมี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (เหมือน
กับทัสสนติกะ)
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ และโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว
คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะ
โดยวิปปยุตตปัจจัย (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่าง
เดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและ
โมหะโดยวิปปยุตตปัจจัย (๕)
[๑๐๓] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
เหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูป ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)

อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๑๐๔] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเป็นปัจจัยแก่โมหะและจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โมหะและจิตตสมุฏฐานรูป
โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ
[๑๐๕] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัยมี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ โมหะ
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ จักขายตนะ
ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ และโมหะโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ และโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยเป็นอัตถิปัจจัย กวฬิง-
การาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
อัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง
คือ สหชาตะและปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึง
เกิดขึ้น ฯลฯ เพราะปรารภหทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและโมหะโดยอัตถิปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง
คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะจึง
เกิดขึ้น ฯลฯ เพราะปรารภหทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอัตถิปัจจัย (๕)
[๑๐๖] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและหทัย-
วัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิ-
ปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมหาภูตรูป
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่โมหะ
โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและกวฬิง-
การาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและหทัยวัตถุเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และโมหะโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และโมหะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย (ย่อ มี ๓ วาระ พึงจำแนก
โสดาปัตติมรรคนัย พึงกําหนดบทว่าอุทธัจจะไว้) เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็น
ปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๐๗] เหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย /lมี ๑๑ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๐๘] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย สหชาต-
ปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๑๐๙] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสย-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสย-
ปัจจัย (๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๑๑๐] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและไม่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย
อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และ
อินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาต-
ปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๕)
[๑๑๑] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และ
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
(ในข้อนี้มีสหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัยเจือปนกันอยู่ พึงทําตามพระบาลีใน
การนับใคร่ครวญแล้วจึงนับ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง ๓ มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)
(แม้ในข้อนี้มีคำว่า อารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย ในพระบาลีไม่มี
เมื่อจะนับพึงใคร่ครวญแล้วจึงนับ)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
(ในข้อนี้ สหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัยมีวาระเจือปนกันอยู่ พึงทําตามพระ
บาลี)
[๑๑๒] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสย-
ปัจจัย (แม้ในข้อนี้สหชาตปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย มีวาระเจือปนกันอยู่) (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ
ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (แม้ในข้อนี้ก็มีอารัมมณปัจจัยและ
อุปนิสสยปัจจัยอยู่ด้วย) (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๕)
(แม้ในข้อนี้ สหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัยก็มีอยู่ วาระที่ท่านไม่ได้เขียนไว้
เมื่อจะนับในพระบาลีก็จะไม่สมกับพยัญชนะ วาระที่ไม่ได้เขียนไว้ในพระบาลีมี
จำนวนปรากฏอยู่ ถ้าสงสัยพึงพิจารณาดูในอัตถิปัจจัยในอนุโลม)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๑๓] นเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอาหารปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๑๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอินทรียปัจจัย กัมเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นฌานปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
นมัคคปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๑๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ฌานปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
วิปปยุตตปจจัย ” มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ ปัญหาวาร จบ
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ เกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน
อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓
อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)

อธิปติปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้น มี ๑ วาระ (ไม่มีปฏิสนธิ) มหาภูตรูป
๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหา-
ภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาต-
ปัจจัย (พึงเพิ่มมหาภูตรูปทั้งหมด) เพราะอัญญมัญญปัจจัย (จิตตสมุฏฐานรูป
กฏัตตารูปและอุปาทายรูปไม่มี) เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เพราะ
อาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะ
สัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย
เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๗] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)

นอารัมมณปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐาน-
รูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ
และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

นอธิปติปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานอาศัยขันธ์
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ฯลฯ
ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตต-
พรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย
เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย (มี ๗
วาระ เหมือนกับกุสลติกะ) เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย

นอาเสวนปัจจัย
[๑๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย (มี ๑ วาระ
พึงเพิ่มมหาภูตรูปทั้งหมด)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้น
เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะ
นอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

นกัมมปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานอาศัยขันธ์ที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่
ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่
มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)

นวิปากปัจจัยเป็นต้น
[๑๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (พึงเพิ่มให้บริบูรณ์ ไม่มีปฏิสนธิ)
เพราะนอาหารปัจจัย เพราะนอินทรียปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย
เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย (มี ๓ วาระ) เพราะโนนัตถิปัจจัย
เพราะโนวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๕] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๖] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๖ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

นิสสยปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๒ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ... มี
๓ วาระ
[๑๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่
ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำ
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง
นิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕)
[๒๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน ... มี ๓ วาระ

อารัมมณปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ... มี
๑ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้
ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้
ถึงนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและ
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

อธิปติปัจจัย
[๒๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ...
มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน ... มี ๑ วาระ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้
ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (แม้ในข้อนี้ฆฏนาก็เหมือนกับเหตุปัจจัย)

อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย
เพราะสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ...
มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ...
ทำหทัยวัตถุ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย (ย่อ พึงเพิ่มฆฏนาทั้งหมด)

อัญญมัญญปัจจัยเป็นต้น
[๒๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสย-

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
ปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปาก-
ปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย
เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย
เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๒๕] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๒๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณ
ทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
นเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นอารัมมณปัจจัย
[๒๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย (ย่อ
เหมือนกับปฏิจจวาร)

นอธิปติปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
ทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย
ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้
ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔)
[๒๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติ และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย
ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๐] ... เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญ-
มัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร
มี ๗ วาระ) เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย (พึงเพิ่มให้บริบูรณ์)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
นอาเสวนปัจจัย
[๓๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย
ได้แก่ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและ
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ
ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นกัมมปัจจัย
[๓๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำขันธ์ที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน
... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... เจตนาที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึง
นิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย
ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นวิปากปัจจัยเป็นต้น
[๓๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (พึงเพิ่มให้บริบูรณ์ ไม่มีใน
ปฏิสนธิขณะ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ ...
ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
เพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ...
ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์ทำ
มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ปัญจวิญญาณ ฯลฯ ที่เป็น
ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่
สภาวธรรมที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน ฯลฯ สําหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สภาวธรรมที่
เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุ ... เพราะ
นสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร มี ๓ วาระ) เพราะ
โนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๔] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๓๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๓๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นิสสยปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ ปัจจยวาร จบ
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)

๑๐. อาจยคามิติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ฯลฯ
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิด
ระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน ฯลฯ เกิดระคนกับ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๓๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดระคนกับสภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย เพราะ
อนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย
เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย
เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย
เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย
เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๙] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจั มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดระคนกับสภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิด
ระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ ซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน ฯลฯ
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๔๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดระคนกับสภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเพราะนอธิปติปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะ
นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ... เกิด
ระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย เพราะนวิปากปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย เพราะนมัคค-
ปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๒] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๓] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๓๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร

ฌานปัจจัย ” มี ๒ วาระ
มัคคปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ
สังสัฏฐวาร จบ
(สัมปยุตตวารเหมือนกับสังสัฏฐวาร)

๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐาน-
รูปโดยเหตุปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
นิพพานโดยเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๔๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษา
อุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้ว
พิจารณาฌาน พระเสขะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลส
ที่เคยเกิดขึ้น พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ... วิจิกิจฉา ... อุทธัจจะ ... โทมนัสจึง
เกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนกุศลเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกุศล
โดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนกุศลเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตน-
กุศล ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโต-
ปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ และอนาคตังสญาณโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอรหันต์พิจารณา
กิเลสที่ละได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อม
ด้วยจิตที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติด้วยเจโตปริยญาณ พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้ง

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เมื่อ
กุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ บุคคลยินดีเพลิดเพลิน
ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะ
จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่ออกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิด
ขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ อากาสานัญจายตนกุศลเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก
และกิริยาโดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนกุศลเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานา-
สัญญายตนวิบากและกิริยาโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
[๔๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระเสขะออกจากมรรคแล้วพิจารณา
มรรค รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานด้วยเจโต-
ปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสา-
นุสสติญาณ และอนาคตังสญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอรหันต์ออกจากมรรคแล้ว
พิจารณามรรค รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานด้วย
เจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
[๔๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
พระอรหันต์พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผลและอาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย พระอรหันต์เห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา เห็นแจ้งโสตะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟัง
เสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนกิริยาเป็นปัจจัยแก่
วิญญาณัญจายตนกิริยาโดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนกิริยาเป็นปัจจัยแก่
เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยา ฯลฯ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระเสขะพิจารณาผล
พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและโวทานโดยอารัมมณปัจจัย พระ
เสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดี
เพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ...
อุทธัจจะ ... โทมนัส ... เห็นรูปด้วยทิพพจักขุฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิต
ของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน
ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ และอนาคตังสญาณโดย
อารัมมณปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดย
อารัมมณปัจจัย (๓)

อธิปติปัจจัย
[๔๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณา
กุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่น บุคคลยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ
ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๕๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
ถึงนิพพานโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระ
เสขะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและ
สหชาตาธิปติ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
นิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอธิปติปัจจัย มีอย่าง
เดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๔)
[๕๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอธิปติปัจจัยมี ๒ อย่าง
คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผลโดยอธิปติ-
ปัจจัย
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ
ได้แก่ พระเสขะพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพานให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นนิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและโวทานโดยอธิปติปัจจัย
บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ... ยินดีเพลิดเพลินหทัย-
วัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นแล้วยินดีเพลิดเพลิน เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะจึง
เกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอธิปติปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
อนันตรปัจจัย
[๕๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานโดยอนันตร-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็น
ปัจจัยแก่มรรคโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย อนุโลมของพระเสขะเป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลโดย
อนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตเป็นปัจจัย
แก่อาวัชชนจิต กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ อนุโลมของพระอรหันต์เป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอนันตรปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๕๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยสมนันตรปัจจัย ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย)
(ในปฏิจจวาร สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนกับสหชาตวาร ในปฏิจจวาร
อัญญมัญญปัจจัยเหมือนกับอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจจยวาร นิสสย-
ปัจจัยเหมือนกับนิสสยวาร แม้ทั้ง ๔ ปัจจัยไม่มีฆฏนาแผนกหนึ่ง มี ๑๓ วาระ)

อุปนิสสยปัจจัย
[๕๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติแล้ว
ให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ ทําฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา
ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลอาศัยศีลที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติ ฯลฯ สุตะ ฯลฯ จาคะ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ โทสะ ฯลฯ
โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถ ทําฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ ฯลฯ ฆ่าสัตว์
ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ
ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ ฯลฯ ปัญญา
ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมปฐมฌานเป็นปัจจัย
แก่ปฐมฌานโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่
เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอุปนิสสยปัจจัย ปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูป-
นิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ
บริกรรมจตุตถมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติแล้ว
ทําตนให้เดือดร้อนให้ร้อนรนเสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูลอาศัยศีลที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วทําตนให้
เดือดร้อนให้ร้อนรนเสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูลศรัทธาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย
ทุกข์ทางกาย และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย กรรมที่เป็นกุศลและอกุศลเป็น
ปัจจัยแก่วิบากโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๕๕] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรค
เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ และปกตูป-
นิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระเสขะอาศัยมรรคแล้วทํากุศลสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้
เกิดขึ้น เข้ากุศลสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว เห็นแจ้งสังขารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา มรรคของพระเสขะเป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ... ธัมมปฏิสัมภิทา ...
นิรุตติปฏิสัมภิทา ... ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ... ความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและมิใช่
ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์อาศัยมรรคแล้วทํากิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิด
ให้เกิดขึ้น เข้ากิริยาสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความเป็นผู้ฉลาดใน
ฐานะและมิใช่ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๓)
[๕๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓
อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกายแล้วทําตนให้เดือดร้อนให้ร้อน
รนเสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูลอาศัยทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ...
เสนาสนะแล้วทําตนให้เดือดร้อนให้ร้อนรน ฯลฯ สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ...
อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย และผล-
สมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย พระอรหันต์อาศัยสุขทางกายแล้วทํากิริยาสมาบัติที่ยัง
ไม่เกิดให้เกิดขึ้น เห็นแจ้ง ฯลฯ อาศัยทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะ
เห็นแจ้ง ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูป-
นิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกายแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์อาศัยทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ...
เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําลายสงฆ์ สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ... ความ
ปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกายแล้วทํามรรคให้เกิดขึ้นอาศัย
ทุกข์ทาง กาย ฯลฯ เสนาสนะแล้วทํามรรคให้เกิดขึ้น สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย
ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

ปุเรชาตปัจจัย
[๕๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระอรหันต์เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดย
เป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ
และวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยปุเรชาตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๕๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
ซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย

อาเสวนปัจจัย
[๕๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อาเสวนปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานโดยอาเสวน-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค ฯลฯ โวทาน
เป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
กัมมปัจจัย
[๖๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
นานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยกัมมปัจจัย
ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
[๖๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากโดยกัมมปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
นิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนา
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมม-
ปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)

วิปากปัจจัย
[๖๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยวิปากปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปากปัจจัย (๑)

อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๖๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย เป็น
ปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย

วิปปยุตตปัจจัย
[๖๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปัจฉาชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่
หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)

อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๖๕] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอัตถิปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ... มี ๓ วาระ (พึงทำตามนัยแห่งสภาว-
ธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ)
[๖๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง
คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดย
อัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน
ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ พระอรหันต์เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
ฯลฯ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ฯลฯ
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่
พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดี
เพลิดเพลิน เพราะปรารถความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสจึง
เกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยอัตถิปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๖๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดย
อัตถิปัจจัยมี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และมหาภูตรูปเป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และกวฬิงการาหาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และรูปชีวิตินทรีย์เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยอัตถิปัจจัย (พึงเพิ่ม ๒
วาระตามนัยที่แสดงแล้ว) เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็น
ปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๖๘] เหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร

สมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๖ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ

อนุโลม จบ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๖๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยสหชาต-
ปัจจัย (๔)
[๗๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
และปัจฉาชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
นิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยสหชาตปัจจัย (๔)
[๗๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาต-
ปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และ
อินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาต-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยอุปนิสสยปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๗๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ มี ๒ อย่าง คือ
สหชาตะและปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน
มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน มี ๔
อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๗๓] นเหตุปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอาเสวนปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๑๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๑๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๗๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร

นกัมมปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอินทรีย์ปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นฌานปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นมัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๗๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๖ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๖ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปากปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๖ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๖ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)


ปัจจนียานุโลม จบ
อาจยคามิติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของ
เสขบุคคลเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลอาศัย
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๒] สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
อเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของ
อเสขบุคคลเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลอาศัย
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ
อเสขบุคคลเกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑
เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคล อเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
อเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๔] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะอนันตรปัจจัย
เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย (พึงเพิ่มมหาภูตรูปทั้งหมด) เพราะ
อัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย
เพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก
ซึ่งเป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (มี ๓ วาระ พึงเพิ่มให้
บริบูรณ์)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น
เพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของอเสขบุคคล ... มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นของเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
อเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๕] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น
เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย
เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย
เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๖] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิด
ขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุ
อาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็น
ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)

นอารัมมณปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
ของเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่
เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
อเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น
ของอเสขบุคคลเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญ-
สัตตพรหม ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
อเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๙] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิด
ขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยขันธ์ที่เป็นของ
เสขบุคคลเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยขันธ์ที่เป็นของ
อเสขบุคคลเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (พึงเพิ่มให้บริบูรณ์ พึงเพิ่ม
ปฏิสนธิและมหาภูตรูปทั้งหมด) เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย
เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย มี ๗
วาระ (เหมือนกับกุสลติกะ) เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
[๑๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลอาศัย
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ... อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล ... มี
๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่
ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล (บริบูรณ์แล้ว ... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล ... ฆฏนา บริบูรณ์แล้ว พึงเพิ่ม
๒ วาระ มี ๙ วาระ) เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นของเสขบุคคลอาศัย
ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
เสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น ...
ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... มหาภูต-
รูป ๑ ฯลฯ

นวิปากปัจจัย
[๑๑] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล
เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของ
เสขบุคคลเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลอาศัย
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ (๓)
[๑๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (บริบูรณ์แล้ว ไม่มี
ปฏิสนธิ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

นอาหารปัจจัยเป็นต้น
[๑๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย เพราะนอินทรียปัจจัย
เพราะนฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นสัมปยุตตปัจจัยเป็นต้น
[๑๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น เพราะนสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับ
นอารัมมณปัจจัย)

นวิปปยุตตปัจจัยเป็นต้น
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของ
เสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของ
อเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ ที่เป็น
ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๕] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๖] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอาเสวนปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สัมปยุตตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปจจัย ” มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวาร เหมือนกับปฏิจจวาร)

๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
[๑๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (บริบูรณ์แล้ว)
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข-
บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ
อเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคล
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลทำ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕)
[๒๐] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่
ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลทำสภาว-
ธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและ
ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
... ทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคล
... มี ๓ วาระ (เหมือนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร
อารัมมณปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ
ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุ-
วิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข-
บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ
อเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของอเสข-
บุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของอเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... (๑)

อธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๒๒] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร
สหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย
เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของ
เสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ... ทำ
ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข-
บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... (๑)

กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๒๓] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็น
วิบากซึ่งเป็นของเสขบุคคล ... เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะ
ฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย
เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๒๔] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร

อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๒๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร
และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ... หทัยวัตถุทำ
ขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑
... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สําหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๒๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็น
ของเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำขันธ์ที่
เป็นของเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำขันธ์ที่เป็นของ
อเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (บริบูรณ์แล้ว)
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... จักขายตนะ ... ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ
อเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข-
บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของเสขบุคคล
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข-
บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรม
ที่เป็นของเสขบุคคลทำขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่
อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็น
ของเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย
เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะ
นปัจฉาชาตปัจจัย (มี ๗ วาระ) เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่เป็นของเสขบุคคลทำขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่
ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุ
เป็นสมุฏฐาน ฯลฯ เจตนาที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข-
บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นของเสขบุคคลทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็น
ของเสขบุคคลทำขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นวิปากปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (บทมีสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นมูล
มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (บทมีสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นมูล มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (ในเสกขฆฏนา มี
๓ วาระ)

นอาหารปัจจัยเป็นต้น
[๒๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย เพราะ
นอินทรียปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนสัมปยุตตปัจจัย
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย ฯลฯ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๐] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร

นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๓๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร

นอัญญมัญญปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๓๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาร จบ
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๑ }


๑๑. เสกขติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๓] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคล
ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นของอเสขบุคคล ฯลฯ
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับ
ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๓๔] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลเพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย ฯลฯ เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะ
อาเสวนปัจจัย (พึงเพิ่ม ๒ วาระ) ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๓๕] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

สหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๓๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาว-
ธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล ฯลฯ
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ (๑)

นอธิปติปัจจัย
[๓๗] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดระคนกับขันธ์
ที่เป็นของเสขบุคคล (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดระคนกับขันธ์ที่
เป็นของอเสขบุคคล (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล (พึงเพิ่ม ๒ วาระ) เพราะนอธิปติปัจจัย
(บริบูรณ์แล้ว มี ๑ วาระ)

นปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๓๘] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคล เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย
เพราะนกัมมปัจจัย (พึงเพิ่ม ๒ วาระ) เพราะนวิปากปัจจัย (พึงเพิ่ม ๒ วาระ) เพราะ
นฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๓๙] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๐] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร

นัตถิปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ สังสัฏฐวาร จบ
(สัมปยุตตวารเหมือนกับสังสัฏฐวาร)

๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๒] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคล โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและ
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นของเสขบุคคล
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
... (มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปัจจัย
[๔๓] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณา
มรรค พิจารณาผลที่เป็นของเสขบุคคล รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิต
ที่เป็นของเสขบุคคลด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่เจโต-
ปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอรหันต์พิจารณาผลที่เป็นของ
อเสขบุคคล รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นของอเสขบุคคลด้วย
เจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
[๔๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว
ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน พระอริยะพิจารณานิพพาน นิพพานเป็น
ปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลส
ที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งจักษุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ
หทัยวัตถุ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็น
ทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดี ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่
วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญา-
ยตนะโดยอารัมมณปัจจัย รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็น
ปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคและผลที่
เป็นของเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ของอเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นของ
อเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย (๓)

อธิปติปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็น
ของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น พิจารณาผลที่เป็นของเสขบุคคลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและ
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สห-
ชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๔๖] สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของ
อเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรม
ที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์พิจารณาผลที่เป็นของอเสขบุคคลให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
และที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สห-
ชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๔๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น พระอริยะพิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็น
ปัจจัยแก่โคตรภูและโวทานโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินโสตะ ฯลฯ
หทัยวัตถุ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคและผลที่เป็นของเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของอเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นของอเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย (๓)

อนันตรปัจจัย
[๔๘] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคล ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล
ที่เป็นของเสขบุคคล ผลที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นของเสขบุคคลโดย
อนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นของอเสขบุคคลโดยอนันตร-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ผลที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัย
แก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๔๙] สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของ
อเสขบุคคลโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ผลที่เป็นของ
อเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นของอเสขบุคคลโดยอนันตรปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ผลที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัย
แก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
[๕๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลซึ่งเกิดหลัง ๆ ฯลฯ อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัย
แก่โวทาน อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดย
อนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของเสขบุคคลโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็น
ปัจจัยแก่มรรค อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นของเสขบุคคล เนวสัญญานา-
สัญญายตนกุศลของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นของเสขบุคคล
โดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่
เป็นของอเสขบุคคลโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็น
ของอเสขบุคคล เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติที่เป็นของอเสขบุคคลโดยอนันตรปัจจัย (๓)

สมนันตรปัจจัย
[๕๑] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยสมนันตรปัจจัย ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย มี ๘ วาระ)

สหชาตปัจจัยเป็นต้น
[๕๒] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับสหชาตปัจจัยในปฏิจจวาร มี ๙
วาระ) เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอัญญมัญญปัจจัยในปฏิจจวาร
มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัยเหมือนกับนิสสยปัจจัยในกุสลติกะ มี ๑๓ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[๕๓] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย
ทุติยมรรคเป็นปัจจัยแก่ตติยมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถ-
มรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นของเสขบุคคลโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นของอเสขบุคคล
โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะอาศัยมรรคแล้วทํากุศลสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้
เกิดขึ้น เข้ากุศลสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว เห็นแจ้งสังขาร โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
มรรคของพระอริยะเป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ธัมมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา
ปฏิภาณปฏิสัมภิทา และความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและมิใช่ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย
ผลสมาบัติที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สุขทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๕๔] สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสข-
บุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อนันตรูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของ
อเสขบุคคลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลซึ่งเกิดหลัง ๆ ฯลฯ
ผลที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นของอเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูป-
นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ผลสมาบัติที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สุขทาง
กายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
[๕๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูป-
นิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข-
บุคคล แล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ... ทําฌาน ... วิปัสสนา ... อภิญญา
... สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิอาศัยศีลที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล
... ปัญญา ... ราคะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ฯลฯ อุตุ ... โภชนะ
... เสนาสนะ แล้วให้ทาน สมาทานศีล ... ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ
ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล ... ปัญญา ... ราคะ ...
ความปรารถนา ... สุขทางกาย ... เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคล ... ปัญญา ... ราคะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย
... ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ปฐมฌานโดย
อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญา-
นาสัญญายตนะ ฯลฯ ปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ทุติยฌานโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ของเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูป-
นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรคโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย ฯลฯ บริกรรมจตุตถมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของอเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ...
เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นของอเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปุเรชาตปัจจัย
[๕๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะ ... หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพ-
โสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ
อเสขบุคคลโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นของเสขบุคคลโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของอเสขบุคคลโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลโดยปุเรชาตปัจจัย (๓)

ปัจฉาชาตปัจจัย
[๕๗] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลซึ่ง
เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลซึ่งเกิดภาย
หลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย (๑)

อาเสวนปัจจัย
[๕๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานโดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของเสขบุคคลโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็น
ปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๒)

กัมมปัจจัย
[๕๙] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
กัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
ซึ่งเป็นของเสขบุคคลโดยกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลโดย
กัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นของเสขบุคคล
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลโดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตะ ได้แก่ เจตนา
ที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล
และที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นของเสข-
บุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๔)
[๖๐] สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของ
อเสขบุคคลโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นของอเสขบุคคลเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสข-
บุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นของ
อเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
[๖๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปากปัจจัย
[๖๒] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ (บทที่มีสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นมูล มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสข-
บุคคลโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ฯลฯ (บทที่มีสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นมูล มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก
ซึ่งไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปากปัจจัย (๑)

อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๖๓] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ

วิปปยุตตปัจจัย
[๖๔] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ
(เหมือนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ
ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ
อเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ
โดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ
อเสขบุคคลโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ของเสขบุคคลโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ของอเสขบุคคลโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)

อัตถิปัจจัย
[๖๕] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล
และที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นของ
เสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ มี ๓ วาระ (เหมือนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล)
[๖๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ
ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดย
อัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตต-
พรหม ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ จักขายตนะ
เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของอเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๖๗] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง
คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัย
แก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ (พึงเพิ่ม ๒ วาระ
เหมือนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๖๘] เหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๘ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๘ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๗ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๘ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร
[๖๙] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาต-
ปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล
และที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลโดยสหชาตปัจจัย (๔)
[๗๐] สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสข-
บุคคลโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาต-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
และที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลโดยสหชาตปัจจัย (๓)
[๗๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุป-
นิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และ
อินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของอเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๗๒] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคล
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคล
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๗๓] นเหตุปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร

นกัมมปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๘ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๘ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๑๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๑๔ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๗๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร

นวิปากปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอินทรีย์ปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นฌานปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นมัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๗๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๘ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๘ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๘ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๘ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปากปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๘ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๘ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ ปัญหาวาร จบ
เสกขติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะเหตุ
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
ปริตตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๒] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป
อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะ
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
มหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
มหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๔] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิด
ขึ้นพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ
และอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่
เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นมหัคคตะและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูป
อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)

อารัมมณปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะ
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นมหัคคตะและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

อธิปติปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะอธิปติ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะอธิปติ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิด
ขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
มหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะอธิปติ-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๗] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิด
ขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๘] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะอนันตร-
ปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย (พึงเพิ่มมหาภูตรูปเข้าทั้งหมด)
เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาต-
ปัจจัย (พึงเพิ่มเป็น ๓ วาระ) เพราะอาเสวนปัจจัย (พึงเพิ่มเป็น ๓ วาระ)
เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย (มี ๑๓ วาระ) เพราะอาหารปัจจัย เพราะ
อินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะ
อวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๙] เหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๕ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง
เป็นปริตตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่
เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)

นอารัมมณปัจจัย
[๑๑] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุ
เป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะ อาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเกิด
ขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอธิปติปัจจัย
[๑๒] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ...
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะนอธิปติ-
ปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิด
ขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะอาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๑๓] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ...
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนอธิปติ-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิด
ขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
วิบากซึ่งเป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๑๔] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะ
และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะ
และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิด
ขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ
และอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่
เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)

นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๕] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
นอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะ
นอุปนิสสยปัจจัย

นปุเรชาตปัจจัย
[๑๖] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะนปุเร-
ชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงขยายมหาภูตรูปทั้งหมดให้พิสดาร ในอรูปาวจรภูมิ บท
ที่มีปริตตะเป็นมูล มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะ
เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๑๗] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะ
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะนปุเร-
ชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะ
และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิด
ขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
มหัคคตะและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและ
ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)

นปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๑๘] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะนอาเสวน-
ปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิด
ขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะอาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๑๙] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะ
นอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
มหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนอาเสวน-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะ
เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ...
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ (๓)
[๒๐] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น
เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะ
นอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๒๑] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
อัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น
อัปปมาณะและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิด
ขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะ
เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นมหัคคตะและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและ
ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)

นกัมมปัจจัย
[๒๒] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นปริตตะอาศัยขันธ์ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ... ที่
เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... มหาภูตรูป ๑
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนกัมม-
ปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตะอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัปปมาณะอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นวิปากปัจจัย
[๒๓] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
นวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก
... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญ-
สัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนวิปาก-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนวิปาก-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะ
เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะ
นวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลซึ่งเป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะนวิปาก-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นกุศลซึ่งเป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเป็น
อัปปมาณะและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น
เพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

นอาหารปัจจัยเป็นต้น
[๒๔] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
นอาหารปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม (พึงขยายให้พิสดาร) เพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ ...
ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย
ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ฯลฯ
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่มมหาภูตรูปทั้งหมด)
เพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นปริตตะ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่มมหาภูตรูป
ทั้งหมด) เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่เป็น
ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะ ฯลฯ
เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๒๕] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๒๖] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นสมนันตรปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๒๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำ
ขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ ที่เป็นอุปาทายรูป ขันธ์ที่เป็นปริตตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่
เป็นมหัคคตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕)
[๒๙] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่
เป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ... ทำ
ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะทำสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
... ทำขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะ ... มี ๓ วาระ
[๓๐] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะ
และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะ
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่
เป็นอัปปมาณะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่
เป็นอัปปมาณะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๓ วาระ)

อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๓๑] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นปริตตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๖ วาระ
ที่เหลือเหมือนกับเหตุปัจจัย พึงเพิ่มเป็น ๗ วาระ) เพราะอธิปติปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ
๑๗ วาระบริบูรณ์แล้ว) เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๓๒] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร

อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๓๓] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ
ซึ่งเป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณ
ทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นปริตตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นอารัมมณปัจจัย
[๓๔] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร มี ๕ วาระ)

นอธิปติปัจจัย
[๓๕] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ ทำจักขายตนะ ฯลฯ ทำกายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็น
ปริตตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นมหัคคตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอัปปมาณะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔)
[๓๖] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นมหัคคตะทำขันธ์ที่เป็นมหัคคตะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑
ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะทำสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอัปปมาณะทำขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
[๓๗] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
อัปปมาณะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็น
อัปปมาณะทำขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่ง
เป็นมหัคคตะและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นมหัคคตะทำขันธ์ที่
เป็นมหัคคตะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็น
วิบากซึ่งเป็นมหัคคตะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่
เป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะและทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะ
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูปทำขันธ์
ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)

นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๘] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะ
นอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร มี ๑๒ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย (บริบูรณ์แล้ว พึงชี้แจงว่า เป็นวิบาก
แต่จิตตสมุฏฐานรูปไม่พึงจัดเป็นวิบาก) เพราะนกัมมปัจจัย เพราะนวิปากปัจจัย
(ไม่มีปฏิสนธิและวิบาก) เพราะนอาหารปัจจัย เพราะนอินทรียปัจจัย เพราะ
นฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๓๙] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๐] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจั ” มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ ปัจจยวาร จบ
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๒] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ เกิดระคนกับ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ เกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะ ฯลฯ เกิดระคน
กับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๔๓] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ
อารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะอนันตรปัจจัย เพราะ
สมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย
เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะอาเสวนปัจจัย
(ไม่มีทั้งวิบากและปฏิสนธิ) เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย
เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย
เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย
เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๔๔] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นปริตตะ ฯลฯ
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะ (๑)

นอธิปติปัจจัย
[๔๖] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ เกิดระคน
กับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะนอธิปติ-
ปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นมหัคคตะ ... เกิด
ระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็น
อัปปมาณะ (๑)

นปุเรชาตปัจจัย
[๔๗] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะนปุเร-
ชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ
นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็น
อัปปมาณะ ฯลฯ (๑)

นปัจฉาชาตปัจจัยและนอาเสวนปัจจัย
[๔๘] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ
นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑
ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะนอาเสวน-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ
นอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นอัปปมาณะ
ฯลฯ (๑)

นกัมมปัจจัย
[๔๙] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นปริตตะ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะนกัมม-
ปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นมหัคคตะ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเป็น
อัปปมาณะ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
นวิปากปัจจัย
[๕๐] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ
นวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะนวิปาก-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ
นวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลซึ่งเป็นอัปปมาณะ
ฯลฯ (๑)

นฌานปัจจัยเป็นต้น
[๕๑] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ
นฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ
ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็น
มหัคคตะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็น
อัปปมาณะ ฯลฯ (๑)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๕๒] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๕๓] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๕๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ สังสัฏฐวาร จบ
(สัมปยุตตวารเหมือนกับสังสัฏฐวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๕๕] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยเหตุปัจจัย
มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดย
เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ

อารัมมณปัจจัย
[๕๖] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณา
กุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว พระอริยะพิจารณาโคตรภู พิจารณา
โวทาน พิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น
เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นปริตตะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคล
ผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นปริตตะด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นปริตตะเป็น
ปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
และอนาคตังสญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๕๗] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นมหัคคตะ
ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์
ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ และอนาคตังสญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาปฐมฌาน ฯลฯ พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ
พิจารณาทิพพจักขุ พิจารณาทิพพโสตธาตุ พิจารณาอิทธิวิธญาณ พิจารณาเจโต-
ปริยญาณ พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ พิจารณายถากัมมูปคญาณ และ
พิจารณาอนาคตังสญาณ เห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นมหัคคตะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น (๒)
[๕๘] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคและผลโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล
พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ พระอริยะรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นอัปปมาณะ
ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ และอนาคตังสญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๓)

อธิปติปัจจัย
[๕๙] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พระเสขะพิจารณาโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
พิจารณาโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ
หทัยวัตถุและขันธ์ที่เป็นปริตตะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดี
เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึง
เกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลพิจารณาปฐมฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ ทิพพจักขุ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังส-
ญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นมหัคคตะให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
มหัคคตะโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่
เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๖๐] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคและผลโดยอธิปติปัจจัย
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณา
นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและโวทานโดย
อธิปติปัจจัย
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
อัปปมาณะโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่
เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)

อนันตรปัจจัย
[๖๑] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
ปริตตะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ฯลฯ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นปริตตะโดย
อนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ จุติจิตที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นมหัคคตะโดยอนันตรปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ขันธ์ที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นมหัคคตะโดยอนันตรปัจจัย บริกรรม-
ปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ บริกรรมทิพพจักขุ ฯลฯ
บริกรรมอนาคตังสญาณเป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยอนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค ฯลฯ โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค ฯลฯ
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๖๒] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
มหัคคตะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ จุติจิตที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นปริตตะโดยอนันตรปัจจัย
ภวังคจิตที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่เป็น
มหัคคตะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยอนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ เนวสัญญานาสัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติของท่านผู้ออกจาก
นิโรธโดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๖๓] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นอัปปมาณะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ฯลฯ ผล
เป็นปัจจัยแก่ผลโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นมหัคคตะโดยอนันตรปัจจัย (๓)
(สมนันตรปัจจัยเหมือนกับอนันตรปัจจัย)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตปัจจัย
[๖๔] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยสหชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
สหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ
ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยสหชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะโดยสหชาต-
ปัจจัย (๒)
[๖๕] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดย
สหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยสหชาตปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยสหชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
มหัคคตะโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๖๖] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาต-
ปัจจัย ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยสหชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
อัปปมาณะโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๖๗] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นปริตตะโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและมหาภูตรูปเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะ
โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและมหาภูตรูป
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยสหชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
มหัคคตะโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะและ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ (๒)

อัญญมัญญปัจจัย
[๖๘] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยอัญญมัญญปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอัญญมัญญ-
ปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะโดย
อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอัญญมัญญ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอัญญมัญญ-
ปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดย
อัญญมัญญปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
มหัคคตะโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดย
อัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
มหัคคตะโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ
และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ (๑)

นิสสยปัจจัย
[๖๙] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยนิสสย-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่
หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ มหาภูตรูป ๑
ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขายตนะเป็นปัจจัย
แก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นปริตตะโดยนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะโดยนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะโดยนิสสยปัจจัย (๓)
[๗๐] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดย
นิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิ-
ขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
มหัคคตะโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๗๑] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสย-
ปัจจัย ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
อัปปมาณะโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ปริตตะโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อัปปมาณะโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะและหทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะ
โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและมหาภูตรูป
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
มหัคคตะโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะและ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[๗๒] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นปริตตะแล้ว ให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถ ทําวิปัสสนาให้เกิดขึ้น มีมานะถือทิฏฐิอาศัยศีลที่เป็นปริตตะ ฯลฯ
ปัญญา ... ราคะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ... เสนาสนะแล้ว ให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ... ทําลายสงฆ์
ศรัทธาที่เป็นปริตตะ ... ปัญญา ... ราคะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ...
เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปริตตะ ... ปัญญา ... ราคะ ... ความปรารถนา
... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย กรรมที่เป็นกุศลและอกุศล
เป็นปัจจัยแก่วิบากโดยอุปนิสสยปัจจัย ปาณาติบาตเป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาตโดย
อุปนิสสยปัจจัย (พึงทําให้เป็นจักกนัย) มาตุฆาตกรรมเป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม
โดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงทําให้เป็นจักกนัยเหมือนกับกุสลติกะ) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นปริตตะแล้วทําฌานที่เป็น
มหัคคตะให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่เป็น
ปริตตะ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ทําฌานที่เป็น
มหัคคตะให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็น
ปริตตะ ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ ปัญญาโดย
อุปนิสสยปัจจัย บริกรรมปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะเป็น
ปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมทิพพจักขุ ฯลฯ
บริกรรมอนาคตังสญาณ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นปริตตะแล้วทำฌานที่เป็น
อัปปมาณะให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำผลสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่เป็น
ปริตตะ ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ... สุขทางกาย ฯลฯ
เสนาสนะแล้ว ทําฌานที่เป็นอัปปมาณะให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำ
ผลสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็นปริตตะ ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่เป็นอัปปมาณะ ... ปัญญา ... มรรค ... ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย
บริกรรมปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ... บริกรรมจตุตถมรรคเป็นปัจจัยแก่
จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๗๓] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นมหัคคตะแล้วทําฌานที่เป็น
มหัคคตะให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่เป็น
มหัคคตะ ฯลฯ ปัญญาแล้วทําฌานที่เป็นมหัคคตะให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิด
ขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ ปัญญาเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ ปัญญาโดยอุปนิสสยปัจจัย ปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่
ทุติยฌาน ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ
ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นมหัคคตะแล้วให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถ ทําวิปัสสนาให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่เป็นมหัคคตะ
... ปัญญาแล้วให้ทาน ... ทําวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ... ศรัทธาที่เป็นมหัคคตะ ...
ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปริตตะ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ
ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นมหัคคตะแล้วทำฌานที่เป็น
อัปปมาณะให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำผลสมาบัติให้เกิดขึ้นอาศัยศีลที่เป็น
มหัคคตะ ... ปัญญาแล้ว ทําฌานที่เป็นอัปปมาณะให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น
ทำผลสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็นมหัคคตะ ... ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
อัปปมาณะ ... ปัญญา ... มรรค ... ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๗๔] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปมาณะแล้วทําฌานที่
เป็นอัปปมาณะให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำผลสมาบัติให้เกิดขึ้นอาศัยศีลที่
เป็นอัปปมาณะ ... ปัญญาแล้ว ทําฌานที่เป็นอัปปมาณะให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้
เกิดขึ้น ทำผลสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณะ ... ปัญญาเป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณะ ... ปัญญาโดยอุปนิสสยปัจจัย ปฐมมรรคเป็นปัจจัย
แก่ทุติยมรรค ... ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ฯลฯ มรรคเป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ
ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปมาณะแล้วให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ... ทําวิปัสสนาให้เกิดขึ้นอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณะ ...
ปัญญาแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ... ทําวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ...
ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณะ ... ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปริตตะ ... ปัญญา ...
สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย ผลสมาบัติเป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย
โดยอุปนิสสยปัจจัย พระอริยะอาศัยมรรคแล้วเห็นแจ้งสังขารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ฯลฯ มรรคของพระอริยะเป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ฯลฯ ธัมมปฏิสัมภิทา ฯลฯ
นิรุตติปฏิสัมภิทา ฯลฯ ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ฯลฯ ความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและ
มิใช่ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดย
อุปนิสสยปัจจัยมี ๒ อย่างคือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปมาณะแล้วทําฌานที่เป็น
มหัคคตะให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่เป็น
อัปปมาณะ ... ปัญญา แล้วทําฌานที่เป็นมหัคคตะให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น
ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณะ ... ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
มหัคคตะ ... ปัญญาโดยอุปนิสสยปัจจัย พระอริยะอาศัยมรรคแล้วทําสมาบัติที่ยัง
ไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว (๓)

ปุเรชาตปัจจัย
[๗๕] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยปุเรชาต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ...
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นปริตตะโดยปุเรชาต-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพ-
โสตธาตุ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะโดยปุเรชาต-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยปุเรชาต-
ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
อัปปมาณะโดยปุเรชาตปัจจัย (๓)

ปัจฉาชาตปัจจัย
[๗๖] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

อาเสวนปัจจัย
[๗๗] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
ปริตตะซึ่งเกิดหลัง ๆ ฯลฯ อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่
โวทานโดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอาเสวน-
ปัจจัย ได้แก่ บริกรรมปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ปฐมฌานนั้นเองโดยอาเสวนปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ฯลฯ บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น
เองโดยอาเสวนปัจจัย บริกรรมทิพพจักขุ ฯลฯ บริกรรมอนาคตังสญาณเป็น
ปัจจัยแก่อนาคตังสญาณโดยอาเสวนปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยอาเสวน-
ปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดย
อาเสวนปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอาเสวน-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะ
ซึ่งเกิดหลัง ๆ ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย (๑)

กัมมปัจจัย
[๗๘] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยกัมม-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็น
ปริตตะและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมม-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
กัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่ง
เป็นมหัคคตะโดยกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมม-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยกัมม-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
มหัคคตะโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่ง
เป็นมหัคคตะและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
[๗๙] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
กัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่ง
เป็นอัปปมาณะโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยกัมมปัจจัย
ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
อัปปมาณะโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๕๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปากปัจจัย
[๘๐] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
วิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่
หทัยวัตถุโดยวิปากปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยวิปากปัจจัย
ฯลฯ (มี ๓ วาระ พึงเพิ่มปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล) (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดย
วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ (มีเฉพาะปวัตติกาล)

อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๘๑] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อาหารปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็น
ปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย
ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นปริตตะโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๕๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะ
โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
อัปปมาณะโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
[๘๒] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
วิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๑)

อัตถิปัจจัย
[๘๓] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน-
รูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัย
แก่หทัยวัตถุโดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑
ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๕๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ
จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นปริตตะโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิ-
ปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะ
โดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะ
โดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๘๔] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดย
อัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิ-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๕๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
อัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
มหัคคตะโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๘๕] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
อัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
อัปปมาณะโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ (๓)
[๘๖] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นปริตตะโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ
อินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๕๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อัปปมาณะโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะ
โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและมหาภูตรูปเป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กาย
นี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
มหัคคตะโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
อัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ และ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ ฯลฯ
เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย (๒)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๘๗] เหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๕๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร

สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๗ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๘ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๘๘] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๕๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
มหัคคตะโดยสหชาตปัจจัยและกัมมปัจจัย (๔)
[๘๙] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดย
อารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
อัปปมาณะโดยสหชาตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ปริตตะ มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อัปปมาณะ มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๕๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะ
มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
มหัคคตะ มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ (๒)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๙๐] นเหตุปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๕ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๑๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๑๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๕๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๙๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๙๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๕๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร

อัญญมัญญปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
ปริตตติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๖๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒... (๑)

อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๒] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย (ย่อ) เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๓] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๖๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีปริตตะ
เป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... โมหะที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีมหัคคตะ
เป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมี
อัปปมาณะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)

นอธิปติปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีปริตตะเป็น
อารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมหัคคตะเป็น
อารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีอัปปมาณะเป็น
อารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๖๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๖] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มี
ปริตตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น
อารมณ์ไม่มีปฏิสนธิ) (๑)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (นปัจฉาชาตปัจจัยและ
นอาเสวนปัจจัยเหมือนกับนอธิปติปัจจัย)

นกัมมปัจจัย
[๗] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยขันธ์ที่มี
ปริตตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์อาศัยขันธ์ที่มี
มหัคคตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็น
อารมณ์เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์อาศัย
ขันธ์ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น (๑)

นวิปากปัจจัยเป็นต้น
[๘] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๖๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... เพราะ
นมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีมหัคคตะ
เป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมี
อัปปมาณะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)

นวิปปยุตตปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๐] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๖๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๑] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๖๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สมนันตรปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวารเหมือน
กับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๖๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ
เป็นอารมณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น
อารมณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะ
เป็นอารมณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๑๔] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ
เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ
แล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว พระอริยะพิจารณากิเลสที่มี
ปริตตะเป็นอารมณ์ซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น
บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็น
ทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น
ราคะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของ
บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นปริตตะซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์ด้วยเจโตปริยญาณ
ขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๖๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น
อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาทิพพจักขุ พิจารณาทิพพโสตธาตุ
พิจารณาอิทธิวิธญาณที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณ เห็น
แจ้งขันธ์ที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดี
เพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่มีมหัคคตะเป็น
อารมณ์จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อม
ด้วยจิตที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะ
ซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
[๑๕] สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะ
เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะ
พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์
พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ
ฯลฯ อนาคตังสญาณ เห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์โดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น
ราคะที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของ
บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์ด้วยเจโต-
ปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น
อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาปฐมฌานปัจจเวกขณะ ฯลฯ
พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนปัจจเวกขณะ พิจารณาทิพพจักขุปัจจเวกขณะ
พิจารณาทิพพโสตธาตุปัจจเวกขณะ พิจารณาอิทธิวิธญาณปัจจเวกขณะ ฯลฯ
เจโตปริยญาณปัจจเวกขณะ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณปัจจเวกขณะ ฯลฯ
ยถากัมมูปคญาณปัจจเวกขณะ ฯลฯ อนาคตังสญาณปัจจเวกขณะ พระอริยะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๖๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
พิจารณากิเลสที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้
กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์โดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น
ราคะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของ
บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นปริตตะซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์ด้วยเจโต-
ปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๒)
[๑๖] สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
อัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว
พิจารณามรรค พิจารณาผล บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็น
อัปปมาณะซึ่งมีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะซึ่ง
มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น
อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน
พิจารณามัคคปัจจเวกขณะ พิจารณาผลปัจจเวกขณะ พิจารณานิพพานปัจจเวกขณะ
บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งมีอัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นปริตตะซึ่งมีอัปปมาณะเป็นอารมณ์
ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งมีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโต-
ปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และ
อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น
อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณาเจโตปริยญาณที่มีอัปปมาณะ
เป็นอารมณ์ พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ พิจารณาอนาคตังสญาณ รู้จิต
ของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ด้วย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๖๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
เจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๓)

อธิปติปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ
เป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งมีปริตตะเป็น
อารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น
อารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคล
พิจารณาทิพพจักขุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาทิพพโสตธาตุ ฯลฯ
อิทธิวิธญาณที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสา-
นุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์ให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ราคะที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
[๑๘] สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะ
เป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ อิทธิวิธญาณที่มี

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๗๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
มหัคคตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ
ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดี
เพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่มี
มหัคคตะเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น
อารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคล
พิจารณาปฐมฌานปัจจเวกขณะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ พิจารณา
อนาคตังสญาณปัจจเวกขณะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่
เป็นปริตตะซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความ
ยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
[๑๙] สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
อัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและ
สหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น
อารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระเสขะ
พิจารณาโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาโวทานให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น พิจารณามัคคปัจจเวกขณะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผล
ปัจจเวกขณะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพานปัจจเวกขณะให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๗๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น
อารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระเสขะ
พิจารณาเจโตปริยญาณที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น (๓)

อนันตรปัจจัย
[๒๐] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ
เป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น
อารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติ-
จิตที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็น
ปัจจัยแก่อาวัชชนจิตที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีปริตตะเป็น
อารมณ์เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็น
อารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ภวังคจิตที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
อาวัชชนจิตที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่มีปริตตะเป็น
อารมณ์เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน อนุโลมเป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๒๑] สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะ
เป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น
อารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๗๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปปัตติจิตที่มีปริตตะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่มีมหัคคตะเป็น
อารมณ์เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตที่มีปริตตะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มี
มหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะ
เป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ภวังคจิตที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
อาวัชชนจิตที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์
เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ
เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดย
อนันตรปัจจัย (๓)
[๒๒] สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
อัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ซึ่ง
เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตร-
ปัจจัย โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล
ผลเป็นปัจจัยแก่ผลโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น
อารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ มัคคปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีปริตตะ
เป็นอารมณ์ผลปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ นิพพาน
ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ เจโตปริยญาณที่มีอัป-
ปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ปุพเพนิวาสานุสสติ-
ญาณเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ อนาคตังสญาณเป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์โดย
อนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะ
เป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ มัคคปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มี
มหัคคตะเป็นอารมณ์ ผลปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์
นิพพานปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ ผลเป็นปัจจัย
แก่วุฏฐานะที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๗๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
สมนันตรปัจจัย
[๒๓] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ
เป็นอารมณ์โดยสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย)

สหชาตปัจจัยเป็นต้น
[๒๔] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ
เป็นอารมณ์โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัยโดย
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มให้เหมือนกับปฏิจจวาร)

อุปนิสสยปัจจัย
[๒๕] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ
เป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์แล้วให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา
ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่มีปริตตะ
เป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ โทสะ ฯลฯ โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ
ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกายแล้วให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา
ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่มี
ปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ
สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกายเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ
ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ทุกข์ทางกายโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น
อารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๗๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์แล้วทําฌาน
ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ
ให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ
ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกายแล้ว ทําฌาน
ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ
ให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ ศรัทธาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ
ทุกข์ทางกายเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ
ราคะและความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็น
อารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ
ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์แล้วทําฌาน
ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้
เกิดขึ้น อาศัยศีลที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ สุขทาง
กาย ฯลฯ ทุกข์ทางกายแล้วทําฌานที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำมรรค
ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ
สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกายเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ ฯลฯ
ปัญญาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๒๖] สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะ
เป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูป-
นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์แล้วทําฌาน
ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ
ให้เกิดขึ้น มีมานะถือทิฏฐิอาศัยศีลที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ
ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ทําฌานที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ฯลฯ
ถือทิฏฐิ ศรัทธาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความ
ปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ความปรารถนาโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๗๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น
อารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์แล้วให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา
ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่มีมหัคคตะ
เป็นอารมณ์ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ ศรัทธาที่มีมหัคคตะ
เป็นอารมณ์ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ
ความปรารถนา สุขทางกาย และทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็น
อารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ
ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์แล้วทําฌาน
ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้
เกิดขึ้นอาศัยศีลที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วทําฌานที่มี
อัปปมาณะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่มีมหัคคตะ
เป็นอารมณ์ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์
ฯลฯ ปัญญาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๒๗] สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
อัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์แล้วทํา
ฌานที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ
ให้เกิดขึ้นอาศัยศีลที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญาแล้ว ทําฌานที่มี
อัปปมาณะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น
ศรัทธาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีอัปปมาณะ
เป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๗๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น
อารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์แล้วให้
ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำ
วิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้นอาศัยศีลที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์
ฯลฯ ปัญญาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่มีอัปปมาณะเป็น
อารมณ์ ฯลฯ ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา
สุขทางกาย และทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น
อารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์แล้วทํา
ฌานที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ
ให้เกิดขึ้นอาศัยศีลที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญาแล้วทําฌานที่มีมหัคคตะ
เป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น
ศรัทธาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีมหัคคตะ
เป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

อาเสวนปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ
เป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็น
อารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ อนุโลมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่โคตรภู
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานโดยอาเสวนปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๗๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๒๙] สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะ
เป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะ
เป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ อนุโลมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานโดยอาเสวนปัจจัย (๒)
[๓๐] สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
อัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ซึ่ง
เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวน-
ปัจจัย โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๑)

กัมมปัจจัย
[๓๑] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ
เป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น
อารมณ์โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น
อารมณ์โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีมหัคคตะ
เป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๗๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๓๒] สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
อัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากซึ่งมีอัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น
อารมณ์โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีอัปปมาณะ
เป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๒)

วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๓๓] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ
เป็นอารมณ์โดยวิปากปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็น
ปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๓๔] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๗๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

อาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๕] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น
อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น
อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็น
อารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๓๖] สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะ
เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น
อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะ
เป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๘๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๓๗] สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
อัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น
อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะ
เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๓๘] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๘๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๓๙] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๙๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๘๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

อุปนิสสยปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๕ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ
ปัญหาวาร จบ
ปริตตารัมมณติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๘๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๔. หีนติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๔. หีนติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมชั้นต่ำอาศัยสภาวธรรมชั้นต่ำเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ชั้นต่ำเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมชั้นกลางอาศัยสภาวธรรมชั้นต่ำเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ชั้นต่ำเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมชั้นต่ำและชั้นกลางอาศัยสภาวธรรมชั้นต่ำเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ชั้นต่ำเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๒] สภาวธรรมชั้นกลางอาศัยสภาวธรรมชั้นกลางเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ชั้นกลางเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
[๓] สภาวธรรมชั้นประณีตอาศัยสภาวธรรมชั้นประณีตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
มี ๓ วาระ
[๔] สภาวธรรมชั้นกลางอาศัยสภาวธรรมชั้นกลางและชั้นประณีตเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ชั้นประณีตและอาศัยมหาภูตรูปเกิด
ขึ้น (๑)
[๕] สภาวธรรมชั้นกลางอาศัยสภาวธรรมชั้นต่ำและชั้นกลางเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ชั้นต่ำและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
(พึงขยายหีนติกะให้พิสดารเหมือนกับสังกิลิฏฐติกะ บริบูรณ์แล้ว)
หีนติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๘๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
และให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีสภาวะ
ผิดและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้
ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีสภาวะผิด
และให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัย
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๒] สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
[๓] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสองเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้ง
สองเกิดขึ้น ...อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัย-
วัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ...
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
[๔] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้
ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๘๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะชอบให้
ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีสภาวะชอบให้ผลแน่นอนและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
และให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มี
สภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและ
ให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มี
สภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ
ทั้งสองเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสองเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
(ด้วยเหตุนี้ พึงขยายปัจจัยทั้งหมดให้พิสดาร ย่อ)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๖] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๘๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๗] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสองเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๘๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอารัมมณปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
และให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น (ย่อ)

นอธิปติปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
และให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะผิดและ
ให้ผลแน่นอนอาศัยขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะชอบ
และให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะชอบ
และให้ผลแน่นอนอาศัยขันธ์ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ
ทั้งสองเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ...
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)

นอนันตรปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
และให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะนอนันตรปัจจัย (ย่อ พึงขยายทุกปัจจัยให้พิสดาร)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๑] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๘๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๒] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๘๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นสมนันตรปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๓] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๙๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๔] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและ
ให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและ
ให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
[๑๕] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย
อาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน-
รูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง
ทำหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ
ทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่
นอน ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ
ทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะชอบและให้ผล
แน่นอนทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำ
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐาน-
รูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๙๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำ
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตต-
สมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕)
[๑๖] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
ให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่
นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำ
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่
นอนและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะชอบให้ผล
แน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (มี ๓
วาระ เหมือนกับสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด)

อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๑๗] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
และให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย (ย่อ พึงจําแนกเหมือน
กับปัจจยวารในกุสลติกะ) เพราะอวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๙๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๑๘] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๙๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๙] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย
อาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุ
ทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป
๑ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่
เป็นอเหตุกะซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นอารัมมณปัจจัย
[๒๐] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและ
ให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (เหมือนกับกุสลติกะ
พึงเพิ่มเป็น ๕ วาระ)

นอธิปติปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและ
ให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะ
ผิดและให้ผลแน่นอนทำขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้
ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะชอบ
และให้ผลแน่นอนทำขันธ์ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๙๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ
ทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน
รูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำ
จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ
ทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะผิด
และให้ผลแน่นอนทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ
ทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะชอบ
และให้ผลแน่นอนทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่
นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่
อธิบดีธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำขันธ์ที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและ
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะชอบให้
ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย
ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนทำขันธ์ที่มีสภาวะชอบให้ผลแน่
นอนและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๒] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและ
ให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะโนนัตถิปัจจัย
เพราะโนวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๙๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๒๓] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๒๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๙๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๓. ปัจจยวาร

นอนันตรปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๒๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ (ย่อ)
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาร จบ
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๙๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๒๖] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มี
สภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑
ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอน ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบและให้ผลแน่นอนเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่มี
สภาวะชอบและให้ผลแน่นอน ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสองเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสอง ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๒๗] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มี
สภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเพราะอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๒๘] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ)
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๙๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๒๙] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่
แน่นอนโดยอาการทั้งสองเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่
เป็นอเหตุกะซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๑)

นอธิปติปัจจัย
[๓๐] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มี
สภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะผิด
และให้ผลแน่นอนเกิดระคนกับขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอน (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบและให้ผลแน่นอนเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะชอบและ
ให้ผลแน่นอนเกิดระคนกับขันธ์ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอน (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย
อาการทั้งสองเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสอง ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

นปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๓๑] สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มี
สภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓
เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอน ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย
อาการทั้งสองเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคน
กับขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๙๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีสภาวะ
ผิดและให้ผลแน่นอนเพราะนปัจฉาชาตปัจจัย (บริบูรณ์แล้ว)

นอาเสวนปัจจัยเป็นต้น
[๓๒] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑
ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
และให้ผลแน่นอนเพราะนกัมมปัจจัย เพราะนวิปากปัจจัย (ย่อ)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย
อาการทั้งสองเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ... เกิดระคนกับปัญจวิญญาณ ฯลฯ เพราะ
นมัคคปัจจัย ... เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง
ฯลฯ
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบและให้ผลแน่นอนเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓
เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอน ฯลฯ เกิดระคนกันขันธ์ ๒
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย
อาการทั้งสองเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคน
กับขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๓๓] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๐๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๓๔] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
[๓๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ (ย่อ)
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ สังสัฏฐวาร จบ
(สัมปยุตตวารเหมือนกับสังสัฏฐวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๐๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๖] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
สภาวะผิดและให้ผลแน่นอนโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอน
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสองโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
ให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีสภาวะ
ผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบและให้ผลแน่นอนโดยเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย
อาการทั้งสองโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๓๗] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณากิเลสที่มี
สภาวะผิดและให้ผลแน่นอนซึ่งละได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่มีสภาวะ
ผิดและให้ผลแน่นอนโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อม
ด้วยจิตที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้
ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๐๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสองโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณา
มรรค รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนด้วย
เจโตปริยญาณ ขันธ์ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
[๓๘] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษา
อุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้ว
พิจารณาฌาน พระอริยะพิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู
โวทาน ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลสที่ไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น
เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองจึงเกิดขึ้น ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของ
บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองด้วยเจโตปริยญาณ
อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ
เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอารัมมณปัจจัย รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย
ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
และให้ผลแน่นอนโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม
ปิตุฆาตกรรม อรหันตฆาตกรรม และโลหิตุปปาทกรรมโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่
มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ยึดมั่นหทัยวัตถุใด หทัยวัตถุนั้นเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนโดยอารัมมณปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๐๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบและให้ผลแน่นอนโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดย
อารัมมณปัจจัย (๓)

อธิปติปัจจัย
[๓๙] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ
ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
อธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสองโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดี-
ธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
ให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๔๐] สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ
ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
อธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและ
สหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๐๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยอธิปติปัจจัยมีอย่างเดียว คือ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๔๑] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะพิจารณาผลให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพาน
เป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน และผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ราคะที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบและให้ผลแน่นอนโดยอธิปติปัจจัยมีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอธิปติปัจจัย (๒)

อนันตรปัจจัย
[๔๒] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่
นอนเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๐๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลโดยอนันตร-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสองโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองซึ่ง
เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ผลเป็น
ปัจจัยแก่ผล อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้
ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
[๔๓] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
สภาวะผิดและให้ผลแน่นอนโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โทมนัสที่ไม่แน่นอนโดย
อาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่โทมนัสที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนโดยอนันตรปัจจัย
มิจฉาทิฏฐิที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่มิจฉาทิฏฐิที่ให้ผลแน่นอนโดย
อนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบและให้ผลแน่นอนโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน
เป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอนันตรปัจจัย (๓)

สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๔๔] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองโดยสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย) เป็น
ปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร มี ๙ วาระ) เป็นปัจจัยโดย
อัญญมัญญปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร มี ๓ วาระ) เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย
(เหมือนกับกุสลติกะ มี ๑๓ วาระ)

อุปนิสสยปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
สภาวะผิดและให้ผลแน่นอนโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๐๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ได้แก่ มาตุฆาตกรรมเป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย มาตุฆาตกรรม
ฯลฯ ปิตุฆาตกรรม ฯลฯ อรหันตฆาตกรรม ฯลฯ โลหิตุปปาทกรรม ฯลฯ
สังฆเภทกรรม ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่มิจฉาทิฏฐิที่ให้ผลแน่นอนโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึง
ทําเป็นจักกนัย) มิจฉาทิฏฐิที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่มิจฉาทิฏฐิที่ให้ผลแน่นอน
โดยอุปนิสสยปัจจัย มิจฉาทิฏฐิที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ฯลฯ
สังฆเภทกรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลปลงชีวิตมารดา ประสงค์จะลบล้างกรรมนั้น
จึงให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ปลงชีวิตบิดา ฯลฯ ปลงชีวิตพระอรหันต์ ฯลฯ
มีจิตประทุษร้ายทําโลหิตของพระตถาคตให้ห้อ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ประสงค์จะลบล้าง
กรรมนั้นจึงให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ (๒)
[๔๖] สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ
ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ตติยมรรคเป็น
ปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะอาศัยมรรคแล้วทําสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิด
ขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว เห็นแจ้งสังขารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา มรรคของพระอริยะเป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ฯลฯ ความเป็นผู้ฉลาด
ในฐานะและมิใช่ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๐๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๔๗] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองแล้ว
ให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ ทําฌานให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ... อภิญญา
... สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง ...
สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ... สุขทางกาย ...
ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม
ศรัทธาที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ฯลฯ เสนาสนะ
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง ฯลฯ สุขทางกาย ... ทุกข์
ทางกาย ... ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่
ปฐมฌานนั้นเท่านั้น ฯลฯ บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนว-
สัญญานาสัญญายตนะนั้นเท่านั้น ฯลฯ ปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ ปาณาติบาตเป็น
ปัจจัยแก่ปาณาติบาตโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงทําเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ผิดและให้ผลแน่นอนโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองแล้ว
ปลงชีวิตมารดา ฯลฯ ทําลายสงฆ์อาศัยโทสะที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง ฯลฯ
ความปรารถนา ... สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้วปลงชีวิตมารดา ฯลฯ ทําลาย
สงฆ์ ราคะที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม
... ปิตุฆาตกรรม ... อรหันตฆาตกรรม ... โลหิตุปปาทกรรม ... สังฆเภทกรรม
... มิจฉาทิฏฐิที่ให้ผลแน่นอนโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบและให้ผลแน่นอนโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๐๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ
บริกรรมจตุตถมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

ปุเรชาตปัจจัย
[๔๘] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ
และวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการ
ทั้งสองโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ผิดและให้ผลแน่นอนโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ
และวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ...
ปิตุฆาตกรรม ... อรหันตฆาตกรรม ... โลหิตุปปาทกรรมโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่
นอนโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบและให้ผลแน่นอนโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนโดยปุเรชาตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๐๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๔๙] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผล
แน่นอนซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสองโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอน
ซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย
อาการทั้งสองโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองซึ่งเกิด
ภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

อาเสวนปัจจัย
[๕๐] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้ง
สองซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองซึ่งเกิดหลัง ๆ
โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานโดย
อาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
และให้ผลแน่นอนโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ โทมนัสที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง
เป็นปัจจัยแก่โทมนัสที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนโดยอาเสวนปัจจัย มิจฉาทิฏฐิ
ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่มิจฉาทิฏฐิที่ให้ผลแน่นอนโดยอาเสวน-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบและให้ผลแน่นอนโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน
เป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๑๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
กัมมปัจจัย
[๕๑] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
สภาวะผิดและให้ผลแน่นอนโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีสภาวะผิดและให้ผล
แน่นอนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ผิดให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่
มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
กัมมปัจจัย (๓)
[๕๒] สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีสภาวะชอบและให้
ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่เป็นวิบากโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนา
ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
กัมมปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๑๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสองโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)

วิปากปัจจัย
[๕๓] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ

อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๕๔] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
สภาวะผิดและให้ผลแน่นอนโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย เป็น
ปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย

วิปปยุตตปัจจัย
[๕๕] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๑๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสองโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และ
ปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ
โดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้ง
สองโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ผิดและให้ผลแน่นอนโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบ
และให้ผลแน่นอนโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๑๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
อัตถิปัจจัย
[๕๖] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
สภาวะผิดและให้ผลแน่นอนโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีสภาวะผิดและให้ผล
แน่นอนเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ-
ฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
ให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มี
สภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบและให้ผลแน่นอนโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ (มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย
อาการทั้งสองโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยอัตถิปัจจัย
... มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๑๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
เป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟัง
เสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดย
อาการทั้งสองอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย รูป-
ชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ผิดและให้ผลแน่นอนโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปชีวิตินทรีย์
เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ฯลฯ โลหิตุปปาทกรรมโดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบและให้ผลแน่นอนโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนโดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๕๗] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้ง
สองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนโดยอัตถิปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและหทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ
สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๑๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและกวฬิงการาหารเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ (มี ๒
วาระ เหมือนกับสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอน)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๕๘] เหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๘ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๑๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร

มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๕ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๕๙] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
สภาวะผิดและให้ผลแน่นอนโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสองโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาต-
ปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
ให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยสหชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบและให้ผลแน่นอนโดยสหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
ปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยสหชาตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๑๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๖๐] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาต-
ปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
และให้ผลแน่นอนโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบ
และให้ผลแน่นอนโดยอุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอน มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอน มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๖๑] นเหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๑๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๑๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร

นสมนันตรปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑๓ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๖๒] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๑๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอุปนิสสยปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๖๓] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๘ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๒๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๗. ปัญหาวาร

ฌานปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ
มิจฉัตตนิยตติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๒๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็น
อารมณ์เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี
มรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๓)
[๒] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรค
เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็น
อธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๓] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๒๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดี
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี
มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๔)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรค
เป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็น
อธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๕)
[๔] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มี
มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี
มรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๒๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๕] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรค
เป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยขันธ์ ๑
ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรค
เป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑
ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรค
เป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรค
เป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็น
อธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๖] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิด
ขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตร-
ปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะ
อุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย เพราะกัมมปัจจัย
เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย
เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย
เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๗] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๒๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิด
ขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีมรรคเป็น
อารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๒๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอธิปติปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรค
เป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี
มรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๑๐] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็น
เหตุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุ
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรค
เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรค
เป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้น (๓)
[๑๑] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็น
อธิบดีเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๒๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็น
อธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดี
เกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี
มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๔)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรค
เป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มี
มรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น (๕)
[๑๒] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็น
อารมณ์อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มี
มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี
มรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๒๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๑๓] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มี
มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุ
อาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มี
มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี
อาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรค
เป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มี
มรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็น
อธิบดีเกิดขึ้น (๓)

นปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๑๔] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิด
ขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย (พึงทำให้บริบูรณ์ทั้ง ๒ วาระ)

นอาเสวนปัจจัย
[๑๕] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็น
อารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น
เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มี
มรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี
มรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๒๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๑๖] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี
เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะ
นอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็น
อธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี
มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๑๗] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรค
เป็นอารมณ์อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มี
มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอธิบดี
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี
มรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

นกัมมปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยขันธ์ที่มีมรรค
เป็นอารมณ์เกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๒๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี
มรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น (๓)
[๑๙] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเกิด
ขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุเกิด
ขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี
มรรคเป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มี
มรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้น (๓)
[๒๐] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิด
ขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็น
อธิบดีเกิดขึ้น (มี ๕ วาระ)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มี
มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย (ฆฏนาที่ ๑ มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรค
เป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย (ฆฏนาที่ ๒ มี ๓ วาระ)

นวิปากปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (พึงทำให้บริบูรณ์)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๓๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นมัคคปัจจัย
[๒๒] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมี
มรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

นวิปปยุตตปัจจัย
[๒๓] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย (พึงทำให้บริบูรณ์ พึงกําหนดแน่นอนว่าเป็นอรูป)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๒๔] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๒๕] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๓๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๒๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
ฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจยานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร เหมือน
กับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๓๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๒๗] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
อารมณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรค
เป็นอธิบดีโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยเหตุปัจจัย (ด้วยเหตุนี้พึงเพิ่มเป็น ๑๗ วาระ)

อารัมมณปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค รู้จิตของ
บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่มีมรรคเป็นเหตุด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่มี
มรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว
พิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๓๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๒๙] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
อธิบดีโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค รู้จิตของบุคคล
ผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่มีมรรคเป็นอธิบดีด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่มีมรรค
เป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว
พิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๓)
[๓๐] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจาก
มรรคแล้วพิจารณามรรค รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่มีมรรคเป็น
เหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรค
เป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว
พิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะ
ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๓)

อธิปติปัจจัย
[๓๑] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
อารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มี
มรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๓๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็น
อารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๓๒] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุ
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรค
เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรค
แล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระ
อริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๔)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มี
มรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดี
ธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็น
อธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๓๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๓๓] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็น
อธิบดีเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุโดยอธิปติปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและ
สหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและ
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มี
มรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๓๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๓๔] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ
ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดี-
ธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรค
เป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๓๕] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ
ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นเหตุโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดี-
ธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรค
เป็นเหตุโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและ
สหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๓๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น (๔)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สห-
ชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๕)

อนันตรปัจจัย
[๓๖] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
อารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ซึ่งเกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรค
เป็นอธิบดีโดยอนันตรปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๓๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๓๗] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
อธิบดีโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย (๓)
[๓๘] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็น
อารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็น
อารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มี
มรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่
มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มี
มรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)

สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๙] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
อารมณ์โดยสมนันตรปัจจัย ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย) เป็นปัจจัย
โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย (แม้ปัจจัย
ทั้ง ๓ พึงเพิ่มเป็น ๑๗ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๓๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[๔๐] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
อารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๓)
[๔๑] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
เหตุโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็น
ปัจจัยแก่ทุติยมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค
โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดย
อุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะออกจาก
มรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค
เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๔๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่
มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๔)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มี
มรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๕)
[๔๒] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
อธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็น
ปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ
โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุโดย
อุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่
ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๔๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและ
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๕)
[๔๓] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูป-
นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง
คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๓)
[๔๔] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณูปนิสสยะ
ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นเหตุโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๔๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค
เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ
อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น (๔)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูป-
นิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัย
แก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๕)

อาเสวนปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
อารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี
โดยอาเสวนปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย พึงเพิ่มเป็น ๙ วาระ ไม่พึง
เพิ่มอาวัชชนจิต)

กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๔๖] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
อารมณ์โดยกัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ (ไม่มีนานาขณิกะ พึง
เพิ่มเป็น ๑๗ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๔๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๔๗] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
อารมณ์โดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย
(๗ ปัจจัยนี้มี ๑๗ วาระเหมือนกับเหตุปัจจัย) เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัย
โดยวิคตปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย) เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย (มี ๑๗
วาระ)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๔๘] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๔๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๔๙] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
อารมณ์โดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี
โดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยสหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๕๐] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุ
โดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดย
อารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอารัมมณปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มี
มรรคเป็นอธิบดีโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๕)
[๕๑] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
อธิบดีโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๔๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุโดย
สหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและ
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๕)
[๕๒] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๕๓] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นเหตุโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๔๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๔] นเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๑๗ วาระ

(เมื่อระบุนอารัมมณปัจจัยแล้ว ก็ขาดไป ๒ ปัจจัย คือ ปกตารัมมณปัจจัย และ
อุปนิสสยารัมมณปัจจัย)

นอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๔๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

โนวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๕๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอาหารปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอินทรียปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นฌานปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นมัคคปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๔๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๗๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ
ปัญหาวาร จบ
มัคคารัมมณติกะที่ ๑๖ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๔๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๗. อุปปันนติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑๗. อุปปันนติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิ-
ขณะ เหตุที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๒] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุที่เกิดขึ้นโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะที่
เกิดขึ้น ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ
... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่เกิดขึ้นโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ
เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
ขันธ์ที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณและอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
[๓] สภาวธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่ยังไม่เกิดขึ้น ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ
... ขันธ์ที่ยังไม่เกิดขึ้นโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น ขันธ์ที่ยังไม่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
[๔] สภาวธรรมที่จักเกิดขึ้นแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุที่จักเกิดขึ้นแน่นอน ฯลฯ กาย ... รูป
... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่จักเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๕๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๗. อุปปันนติกะ ๗. ปัญหาวาร
แน่นอนโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
ขันธ์ที่จักเกิดขึ้นแน่นอนเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)

อธิปติปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุที่เกิดขึ้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินโสตะที่เกิดขึ้น ... ฆานะ ...
ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ
... ขันธ์ที่เกิดขึ้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินโสตะ
เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินรูปที่ยังไม่เกิดขึ้น ...
เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... ขันธ์ที่ยังไม่เกิดขึ้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินรูปเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่จักเกิดขึ้นแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุที่จักเกิดขึ้น
แน่นอน ฯลฯ กาย ... รูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่จักเกิดขึ้น
แน่นอนให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้น
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๕๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๗. อุปปันนติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิ-
ขณะ ขันธ์ ๑ ที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปโดยสหชาตปัจจัย
ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปโดยสหชาตปัจจัย ขันธ์เป็น
ปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยสหชาตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยสหชาตปัจจัย
มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ มหาภูตรูป ๒
ฯลฯ มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดย
สหชาตปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน
... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ
มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยสหชาตปัจจัย (๑)

อัญญมัญญปัจจัย
[๗] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยอัญญมัญญปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุโดย
อัญญมัญญปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยอัญญมัญญปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็น
ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย
ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ (๑)

นิสสยปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๕๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๗. อุปปันนติกะ ๗. ปัญหาวาร
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูป จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เกิดขึ้นโดยนิสสยปัจจัย (๑)

อุปนิสสยปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยอุปนิสสยปัจจัย มี
๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยอุตุที่เกิดขึ้นแล้วทําฌานให้เกิดขึ้น ทํา
วิปัสสนา ฯลฯ มรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ
อาศัยโภชนะที่เกิดขึ้น ฯลฯ เสนาสนะแล้วทําฌานให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ
มรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อุตุที่เกิดขึ้น ...
โภชนะ ... เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เกิดขึ้น ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย
ทุกข์ทางกาย มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเมื่อปรารถนาวรรณสมบัติที่ยังไม่เกิดขึ้น จึงให้
ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ เมื่อปรารถนาสัททสมบัติที่ยังไม่เกิดขึ้น ...
คันธสมบัติ ... รสสมบัติ ... โผฏฐัพพสมบัติ ... ขันธ์ที่ยังไม่เกิดขึ้นจึงให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ วรรณสมบัติที่ยังไม่เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่ยังไม่เกิดขึ้น
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เกิดขึ้น ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย มรรค
และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่จักเกิดขึ้นแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๕๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๗. อุปปันนติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเมื่อปรารถนาจักขุสมบัติที่จักเกิดขึ้นแน่นอนจึง
ให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ปรารถนาโสตสมบัติที่จักเกิดขึ้นแน่นอน ฯลฯ
กายสมบัติ ฯลฯ วรรณสมบัติ ... คันธสมบัติ ... รสสมบัติ ... โผฏฐัพพสมบัติ
... ขันธ์ที่จักเกิดขึ้นแน่นอน จึงให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ จักขุสมบัติที่
จักเกิดขึ้นแน่นอน ฯลฯ กายสมบัติ ฯลฯ วรรณสมบัติ ฯลฯ โผฏฐัพพสมบัติ
ฯลฯ ขันธ์ที่จักเกิดขึ้นแน่นอนเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เกิดขึ้น ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ
สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)

ปุเรชาตปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูป
ด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เกิดขึ้นโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)

ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๑] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยปัจฉาชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

กัมมปัจจัย
[๑๒] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยกัมมปัจจัย
ได้แก่ เจตนาที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดย
กัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๕๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๗. อุปปันนติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปากปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยวิปากปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดย
วิปากปัจจัย (๑)

อาหารปัจจัย
[๑๔] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยอาหารปัจจัย
ได้แก่ อาหารที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอาหารปัจจัย (๑)

อินทรียปัจจัย
[๑๕] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยอินทรียปัจจัย
ได้แก่ อินทรีย์ที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรีย-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอินทรีย-
ปัจจัย (๑)

ฌานปัจจัยเป็นต้น
[๑๖] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยฌานปัจจัยเป็น
ปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์เป็น
ปัจจัยแก่หทัยวัตถุ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๕๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๗. อุปปันนติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เกิดขึ้นโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย (๑)

อัตถิปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ฯลฯ
เห็นแจ้งหทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูป
ด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย จักขายตนะเป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เกิดขึ้นโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย
กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)

อวิคตปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยอวิคตปัจจัย
ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๕๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๗. อุปปันนติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๑๙] เหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

ปัจจนียุทธาร
[๒๐] สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย
และอินทรียปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๕๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๗. อุปปันนติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยอารัมมณปัจจัย
และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่จักเกิดขึ้นแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยอารัมมณ-
ปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๒๑] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๒๒] นราอัมมปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๒๓] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๕๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๗. อุปปันนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
ปัญหาวาร จบ
อุปปันนติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๕๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๘. อตีตติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑๘. อตีตติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๒] สภาวธรรมที่เป็นอดีตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบัน โดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ พิจารณากุศลนั้น
พิจารณากุศลที่สั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน พระอริยะออกจาก
มรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลส
ที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งจักษุที่เป็นอดีตโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะที่เป็นอดีต ฯลฯ ฆานะ
... ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ
... ขันธ์ที่เป็นอดีตโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
วิจิกิจฉา ... อุทธัจจะ ... โทมนัสจึงเกิดขึ้น อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่
วิญญาณัญจายตนะโดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญา-
นาสัญญายตนะโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เป็นอดีตเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)
[๓] สภาวธรรมที่เป็นอนาคตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุที่เป็นอนาคต ฯลฯ หทัยวัตถุ ... ขันธ์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๖๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๘. อตีตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ที่เป็นอนาคตโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอนาคต
เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุที่เป็นปัจจุบัน ฯลฯ กาย ... รูป ... เสียง ...
กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่เป็นปัจจุบันโดยเป็นสภาวะไม่
เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กาย-
วิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)

อธิปติปัจจัย
[๔] สภาวธรรมที่เป็นอดีตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานแล้ว
พิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณา
มรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุที่เป็นอดีต ฯลฯ กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น ...
รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่เป็นอดีตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทําความยินดีเพลิด เพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอนาคตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุที่เป็นอนาคต
ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่เป็นอนาคตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทํา
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๖๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๘. อตีตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่างคือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุที่เป็นปัจจุบัน ฯลฯ หทัยวัตถุ
... ขันธ์ที่เป็นปัจจุบันให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลิน
จักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)

อนันตรปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่เป็นอดีตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยอนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอดีตซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นปัจจุบันซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน
โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ผล
เป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่าน
ผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)

สมนันตรปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่เป็นอดีตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยสมนันตร-
ปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย) (๑)

สหชาตปัจจัยเป็นต้น
[๗] สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยสหชาต-
ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย (ย่อ) (๑)

อุปนิสสยปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่เป็นอดีตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ
ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๖๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๘. อตีตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นอดีตแล้วให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถ ทําฌานให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ... มรรค ... อภิญญา ... สมาบัติ
ให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่เป็นอดีต ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ
ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกายแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถ ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่
เป็นอดีต ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ... สุขทางกาย ...
ทุกข์ทางกาย ... เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปัจจุบัน ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ
ฯลฯ ความปราถนา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอนาคตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ
ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเมื่อปรารถนาจักขุสมบัติที่เป็นอนาคต ฯลฯ
เมื่อปรารถนาโสตสมบัติ ... ฆานสมบัติ ... ชิวหาสมบัติ ... กายสมบัติ ...
วรรณสมบัติ ... สัททสมบัติ ... คันธสมบัติ ... รสสมบัติ ... โผฏฐัพพสมบัติ ฯลฯ
ขันธ์ที่เป็นอนาคตจึงให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ จักขุสมบัติที่เป็นอนาคต
ฯลฯ วรรณสมบัติ ฯลฯ โผฏฐัพพสมบัติ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นอนาคตเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นปัจจุบัน ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย มรรค และ
ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ
ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยอุตุที่เป็นปัจจุบันแล้ว ทําฌานให้เกิดขึ้น
ทำวิปัสสนา ฯลฯ อาศัยโภชนะที่เป็นปัจจุบัน ... เสนาสนะแล้ว ทําฌานให้เกิดขึ้น
ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อุตุที่เป็นปัจจุบัน ... โภชนะ ... เสนาสนะเป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่เป็นปัจจุบัน ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ฯลฯ ผลสมาบัติโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๖๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๘. อตีตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปุเรชาตปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยปุเรชาต-
ปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพ-
โสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นปัจจุบันโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๑)

ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดย
ปัจฉาชาตปัจจัยมีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นปัจจุบันเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

อาเสวนปัจจัย
[๑๑] สภาวธรรมที่เป็นอดีตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยอาเสวน-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอดีตซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นปัจจุบันซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน
โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๑)

กัมมปัจจัย
[๑๒] สภาวธรรมที่เป็นอดีตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นอดีตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากซึ่งเป็นปัจจุบันและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๖๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๘. อตีตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยกัมมปัจจัย
ได้แก่ เจตนาที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
กัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)

วิปากปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยวิปาก-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปากปัจจัย (๑)

อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๑๔] สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดย
อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัย
โดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓
อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิป-
ปยุตตปัจจัยในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นปัจจุบันโดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๖๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๘. อตีตติกะ ๗. ปัญหาวาร
อัตถิปัจจัย
[๑๕] สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดย
อัตถิปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอัตถิปัจจัยในอุปปันนติกะ) (๑)

นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย และอวิคตปัจจัย
[๑๖] สภาวธรรมที่เป็นอดีตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยนัตถิปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยอวิคตปัจจัย
ฯลฯ

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๑๗] เหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๖๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๘. อตีตติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๘] สภาวธรรมที่เป็นอดีตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดย
อารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอนาคตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยอารัมมณ-
ปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปัจจุบันโดยอารัมมณ
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย
และอินทรียปัจจัย (๑)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๙] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๒๐] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๖๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๘. อตีตติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอนันตรปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๒๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ

(ในบทเหล่านี้มีเพียง ๑ วาระเท่านั้น)

อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ ปัญหาวาร จบ
อตีตติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๖๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็น
อารมณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีอดีตธรรมเป็น
อารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
[๒] สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีอนาคต
ธรรมเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
[๓] สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มี
ปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๔] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็น
อารมณ์เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย (อธิปติปัจจัย ไม่มีปฏิสนธิ)
เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย
เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย
(ปุเรชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัยไม่มีปฏิสนธิ) เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย
(... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งมีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ ... ๓ วาระ บริบูรณ์แล้ว
พึงเพิ่มปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล) เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย
เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย
เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๖๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๕] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๓ วาระ)

วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็น
อารมณ์เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง
มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
[๗] สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ
ซึ่งมีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ โมหะที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
[๘] สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง
มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๗๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอธิปติปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็น
อารมณ์เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับสหชาตปัจจัยในอนุโลม)

นปุเรชาตปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑
ที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็น
อารมณ์เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็น
อารมณ์เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ... อาศัยขันธ์ ๑
ที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

นปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๑๑] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย (ปัจจัยนี้
เหมือนกับนอธิปติปัจจัย) เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีอดีตธรรมเป็น
อารมณ์อาศัยขันธ์ที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็น
อารมณ์เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์อาศัย
ขันธ์ที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็น
อารมณ์เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์อาศัย
ขันธ์ที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๗๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นวิปากปัจจัย
[๑๒] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็น
อารมณ์เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ฯลฯ (นวิปากปัจจัย ไม่มีปฏิสนธิ)

นฌานปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
ปัญจวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

นมัคคปัจจัย
[๑๔] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็น
อารมณ์เกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ
ซึ่งมีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
ไม่มีโมหะ)

นวิปปยุตตปัจจัย
[๑๕] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็น
อารมณ์เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็น
อารมณ์เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๖] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๗๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๗] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ
๓ วาระ)
อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร เหมือน
กับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๗๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๙] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๒๐] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอดีต
พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีตซึ่งมีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์ พิจารณาเจโตปริยญาณ ... ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ... ยถากัมมูปค-
ญาณ พระอริยะพิจารณากิเลสที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ซึ่งละได้แล้ว พิจารณา
กิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นอดีตซึ่งมีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ
ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอดีตซึ่ง

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๗๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็น
อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอนาคต
พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคตซึ่งมีอดีต-
ธรรมเป็นอารมณ์ พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ
ยถากัมมูปคญาณ เห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นอนาคตซึ่งมีอดีตธรรมเป็นอารมณ์โดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น
ราคะที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็น
อนาคตซึ่งมีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วย
จิตที่เป็นปัจจุบันซึ่งมีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นปัจจุบัน
ซึ่งมีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณและอาวัชชนจิตโดยอารัมมณ-
ปัจจัย (๓)
[๒๑] สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
อนาคตธรรมเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาอิทธิวิธญาณที่
เป็นอนาคตซึ่งมีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ อนาคตังส-
ญาณ ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นอนาคตซึ่งมีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์โดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น
ราคะที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็น
อนาคตซึ่งมีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีตซึ่งมี

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๗๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
อนาคตธรรมเป็นอารมณ์ พิจารณาเจโตปริยญาณ ... อนาคตังสญาณ ... พระอริยะ
พิจารณากิเลสที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว
รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นอดีตซึ่งมีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์โดย
เป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์
นั้น ราคะที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอดีต
ซึ่งมีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อม
ด้วยจิตที่เป็นปัจจุบันที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็น
ปัจจุบันซึ่งมีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ และอาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย (๓)
[๒๒] สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความ
พรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นปัจจุบันซึ่งมีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์
ที่เป็นปัจจุบันซึ่งมีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณและอาวัชชน-
จิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาทิพพจักขุที่เป็นอดีต
พิจารณาทิพพโสตธาตุ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีตซึ่งมีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์
พิจารณาเจโตปริยญาณ พระอริยะพิจารณากิเลสที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์ซึ่งละ
ได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่เป็น
อดีตซึ่งมีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอดีตซึ่งมีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๗๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาทิพพจักขุที่เป็นอนาคต
พิจารณาทิพพโสตธาตุ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคตซึ่งมีปัจจุบันธรรมเป็น
อารมณ์ พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ เห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นอนาคตซึ่งมีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์
นั้น ราคะที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็น
อนาคตซึ่งมีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์ เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๓)

อธิปติปัจจัย
[๒๓] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอดีตให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีตซึ่งมีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ
ยถากัมมูปคญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นอดีตซึ่ง
มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิด
เพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคล
พิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอนาคตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคตซึ่งมี

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๗๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
อดีตธรรมเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ พิจารณาเจโตปริยญาณ
ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ บุคคลยินดี
เพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นอนาคตซึ่งมีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่มี
อนาคตธรรมเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
[๒๔] สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
อนาคตธรรมเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและ
สหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลพิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคตซึ่งมี
อนาคตธรรมเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ พิจารณาเจโตปริย-
ญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่
เป็นอนาคตซึ่งมีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทํา
ความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคล
พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีตซึ่งมีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ฯลฯ พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นอดีตซึ่งมีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
[๒๕] สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิบดีธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๗๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคล
พิจารณาทิพพจักขุที่เป็นอดีตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาทิพพโสตธาตุ
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีตซึ่งมีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ พิจารณาเจโตปริยญาณให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นอดีตซึ่งมีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ราคะที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคล
พิจารณาทิพพจักขุที่เป็นอนาคตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาทิพพโสต-
ธาตุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคตซึ่งมี
ปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ พิจารณาเจโตปริย-
ญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นอนาคตซึ่งมี
ปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิด
เพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์จึงเกิด
ขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๓)

อนันตรปัจจัย
[๒๖] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ภวังคจิตที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัย
แก่อาวัชชนจิตที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๗๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปฏิสนธิจิตที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่มีอดีตธรรมเป็น
อารมณ์เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๒๗] สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
อนาคตธรรมเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีอนาคตธรรมเป็น
อารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อิทธิวิธญาณที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็น
ปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ ฯลฯ เจโตปริยญาณเป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ ฯลฯ อนาคตังสญาณเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มี
อดีตธรรมเป็นอารมณ์ ฯลฯ ขันธ์ที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย (๒)
[๒๘] สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์
ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย ปฏิสนธิจิตที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่มี
ปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์ ฯลฯ ภวังคจิตที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
ภวังคจิตที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ปฏิสนธิจิตที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็น
ปัจจัยแก่ภวังคจิตที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ ฯลฯ ภวังคจิตที่มีปัจจุบันธรรมเป็น
อารมณ์เป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ ฯลฯ ขันธ์ที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย (๒)

สมนันตรปัจจัย
[๒๙] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีต
ธรรมเป็นอารมณ์โดยสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๘๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตปัจจัยเป็นต้น
[๓๐] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีต
ธรรมเป็นอารมณ์โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัย
โดยนิสสยปัจจัย (ปัจจัยแม้ทั้ง ๓ เหมือนกับปฏิจจวาร)

อุปนิสสยปัจจัย
[๓๑] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีต-
ธรรมเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนา
ที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และ
อนัตตานุปัสสนาที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนา
ที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และ
อนัตตานุปัสสนาที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ
ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนา
ที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และ
อนัตตานุปัสสนาที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๘๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๓๒] สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
อนาคตธรรมเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนา
ที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และ
อนัตตานุปัสสนาที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนา
ที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และ
อนัตตานุปัสสนาที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจุบัน
ธรรมเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนาที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์
เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนาที่มีปัจจุบัน
ธรรมเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๓๓] สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนา
ที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และ
อนัตตานุปัสสนาที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๘๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนา
ที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และ
อนัตตานุปัสสนาที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูป-
นิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนา
ที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และ
อนัตตานุปัสสนาที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

อาเสวนปัจจัย
[๓๔] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑)

กัมมปัจจัย
[๓๕] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๘๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากซึ่งมีอดีตธรรมเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มี
อดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์โดย
กัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มี
อดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์โดย
กัมมปัจจัย (๓)
[๓๖] สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
อนาคตธรรมเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์โดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นวิบากซึ่งมีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มี
อนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีอดีตธรรมเป็นอารมณ์
โดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจุบัน
ธรรมเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มี
อนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์
โดยกัมมปัจจัย (๓)
[๓๗] สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๘๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นวิบากซึ่งมีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มี
ปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีอดีตธรรมเป็นอารมณ์
โดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มี
ปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์
โดยกัมมปัจจัย (๓)

วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๓๘] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยวิปากปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็น
ปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๙] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๘๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๔๐] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๘๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๔๑] สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
อนาคตธรรมเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
กัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจุบัน
ธรรมเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
[๔๒] สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
กัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอดีตธรรม
เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอนาคต
ธรรมเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๔๓] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ

(ย่อ ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๘๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๔๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๓ วาระ ย่อ)

โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๔๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๘๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๙. อตีตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

อัญญมัญญปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ
ปัญหาวาร จบ
อตีตารัมมณติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๘๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒๐. อัชฌัตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในตนเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายในตนเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นภายในตนเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกตนเกิด
ขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ฯลฯ หทัยวัตถุ
อาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑
เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๒] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในตนเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายในตนเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์
๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายในตนเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๙๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อธิปติปัจจัย
[๓] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในตนเกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายในตน
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
ที่เป็นอุปาทายรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกตน
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
ที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๔] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในตนเกิดขึ้นเพราะ
อนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายในตนเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายในตนเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูป
ที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุ
เป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้นเพราะ
สหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกตน
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัย
ขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตต-
สมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็นภาย
นอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๙๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อัญญมัญญปัจจัยเป็นต้น
[๕] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในตนเกิดขึ้นเพราะ
อัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย
เพราะอาเสวนปัจจัย (ปุเรชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะกัมม-
ปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย
เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย
เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๖] เหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๗] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในตนเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง
เป็นภายในตนเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
... มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น โมหะ
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๙๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง
เป็นภายนอกตนเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ...
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ โมหะที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)

นอารัมมณปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในตนเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นภายในตนเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นภายในตนเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิด
ขึ้น ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน
... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์
เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ...
ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)

นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๙] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในตนเกิดขึ้นเพราะ
นอธิปติปัจจัย ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับสหชาตปัจจัยในอนุโลม ไม่มีข้อต่างกัน)
เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะ
นอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นภายในตน ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นภายในตนเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๙๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายในตนเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูต-
รูป ๑ ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
[๑๐] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกตน
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ (พึงทำให้บริบูรณ์) ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ...
ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
ฯลฯ

นปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๑๑] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในตนเกิดขึ้น
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่เป็นภายในตนอาศัยขันธ์ที่เป็นภายในตนเกิดขึ้น ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน
... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายนอกตนอาศัยขันธ์ที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้น ...
ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... (๑)

นวิปากปัจจัยเป็นต้น
[๑๒] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในตนเกิดขึ้น
เพราะนวิปากปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ ... ที่มีอุตุเป็น
สมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้นเพราะ
นอาหารปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๙๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นภายในตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในตนเกิดขึ้นเพราะ
นอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ...
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหมรูปชีวิตินทรีย์อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้นเพราะ
นอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุ
เป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม รูปชีวิตินทรีย์อาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๑)

นฌานปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในตนเกิดขึ้นเพราะ
นฌานปัจจัย ได้แก่ ... ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน
... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตน อาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้นเพราะ
นฌานปัจจัย ได้แก่ ... ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ...
ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
ฯลฯ (๑)

นมัคคปัจจัยเป็นต้น
[๑๔] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายในตนเกิดขึ้นเพราะ
นมัคคปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับนเหตุปัจจัย ไม่มีโมหะ) เพราะนสัมปยุตตปัจจัย
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ...
ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนอาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเกิดขึ้นเพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหาร
เป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๙๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๕] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ

(ย่อ ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๒ วาระ)

โนวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๖] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
นวิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๙๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๒๐. อัชฌัตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนทำสภาวธรรมที่เป็นภายในตนให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นภาย
ในตนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ (พึงทำให้บริบูรณ์)
... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นภายในตนทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนทำสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นภายนอกตนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๑๙] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนทำสภาวธรรมที่เป็นภายในตนให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) จักขุวิญญาณทำจักขายตนะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ที่เป็นภายในตนทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนทำสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) ... ทำจักขายตนะ ฯลฯ ทำ
กายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

อธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๒๐] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนทำสภาวธรรมที่เป็นภายในตนให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย (พึงเพิ่มหทัยวัตถุเข้ามาเหมือนกับปฏิจจวาร) เพราะ
อนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย (สหชาตวารพึงทำให้
บริบูรณ์) ... ทำมหาภูตรูป ฯลฯ (ภายหลังมหาภูตรูปและขันธ์พึงเพิ่มอายตนะ ๕
และหทัยวัตถุ) เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๙๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๒๑] เหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๒๒] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนทำสภาวธรรมที่เป็นภายในตนให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นภายในตน
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำขันธ์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
ทำจักขายตนะ ฯลฯ ทำกายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นภายในตน
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนทำสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย (พึงเพิ่มปวัตติกาลปฏิสนธิกาลและมหาภูตรูป) ทำจักขายตนะ
ฯลฯ ทำกายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นภายนอกตน ทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ทำขันธ์
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๒๓] ... เพราะนอารัมมณปัจจัย เพราะนอธิปติปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับ
สหชาตปัจจัย) เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญ-
ปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๙๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย ฯลฯ เพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับวิปปยุตตปัจจัยในปัจจนียะแห่งปฏิจจวาร)
เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๒๔] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
โนวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๒๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ
นวิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๒๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร พึงขยายสังสัฏฐวารและสัมปยุตตวารให้พิสดาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๕๙๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒๐. อัชฌัตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๒๗] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตน
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจาก
มรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลส
ที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งจักษุที่เป็นภายในตน ฯลฯ กาย ฯลฯ รูป
ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นภายในตนโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ
โดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดย
อารัมมณปัจจัย รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดย
อารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติ-
ญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลอื่นเห็นแจ้งจักษุที่เป็นภายในตน ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๐๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ขันธ์ที่เป็นภายในตนโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส
จึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคล
ผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นภายในตนด้วยเจโตปริยญาณ รูปายตนะที่เป็น
ภายในตนเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นภายนอกตน ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่
เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นภายนอกตนโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์
ที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่ อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
[๒๙] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตน
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลอื่นให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณา
กุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจาก
มรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่
โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณา
กิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลอื่น
เห็นแจ้งจักษุที่เป็นภายนอกตน ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นภายนอกตนด้วย
เจโตปริยญาณ ฯลฯ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะโดย
อารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดย
อารัมมณปัจจัย รูปายตนะที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นภาย
นอกตน ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็น
ภายนอกตน ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู
โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นแจ้งจักษุที่เป็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๐๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ภายนอกตน ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิต
ของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นภายนอกตนด้วยเจโตปริยญาณ รูปายตนะ
ที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นภายในตน ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นภายในตน ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นภาย
นอกตนเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)

อธิปติปัจจัย
[๓๐] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌานให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น บุคคล
ยินดีเพลิดเพลินจักษุที่เป็นภายในตน ฯลฯ หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่เป็นภายในตนให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนโดยอธิปติ-
ปัจจัยมีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลอื่นยินดีเพลิดเพลินจักษุที่
เป็นภายในตน ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นภายในตนให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๐๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๓๑] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตน
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลอื่นให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว
พิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ฯลฯ พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็น
ปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลิน
จักษุที่เป็นภายนอกตน ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดยอธิปติ-
ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะพิจารณานิพพานให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดย
อธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุที่เป็นภายนอกตน ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ
ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลิน
จักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)

อนันตรปัจจัย
[๓๒] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในตนซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
ภายในตนซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็น
ปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค มรรคเป็น
ปัจจัยแก่ผล ผลเป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานา-
สัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๐๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนโดย
อนันตรปัจจัย (ข้อว่า ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนซึ่งเกิดก่อน ๆ ดังนี้ เป็นข้อแตกต่างกัน
ข้อนั้นแหละพึงดําเนินความตามข้อความข้างต้น) (๑)

สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๓] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตน
โดยสมนันตรปัจจัย ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย) เป็นปัจจัยโดยสหชาต-
ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย

อุปนิสสยปัจจัย
[๓๔] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นภายในตนแล้วให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ ทําฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ มรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ
สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลอาศัยศีลที่เป็นภายในตน ฯลฯ ปัญญา
ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ
อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติ ให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์
ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่เป็นภายในตน ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ
ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะเป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นภายในตน ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา
ฯลฯ สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอื่นอาศัยศรัทธาที่เป็นภายในตนแล้วให้ทาน ฯลฯ
มีมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลอื่นอาศัยศีลที่เป็นภายในตน ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน
ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่เป็นภายในตน ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นภายนอกตน ฯลฯ มรรคและผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๐๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๓๕] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตน
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอื่นอาศัยศรัทธาที่เป็นภายนอกตน ฯลฯ ความ
ปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธา
ที่เป็นภายนอกตน ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นภายนอกตน ฯลฯ
ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นภายนอกตน ฯลฯ เสนาสนะ
แล้วให้ทาน ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่เป็นภายนอกตน ฯลฯ เสนาสนะเป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นภายในตน ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

ปุเรชาตปัจจัย
[๓๖] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุที่เป็นภายในตน ฯลฯ หทัยวัตถุ
โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็น
รูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นภายในตนโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนโดย
ปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลอื่นเห็นแจ้ง
จักษุที่เป็นภายในตน ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๐๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะที่เป็นภายในตน
เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นภายนอกตน ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นภายในตน
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นภายนอกตนโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
[๓๗] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตน
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลอื่นเห็นแจ้งจักษุที่เป็นภายนอกตน ฯลฯ
หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพ-
โสตธาตุ รูปายตนะที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นภายนอกตน
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นภายนอก
ตน ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะที่เป็นภายนอกตน ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
ปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุที่
เป็นภายนอกตน ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะที่เป็นภายนอก
ตนเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นภายในตน ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นภาย
นอกตนเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นภายในตนโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
[๓๘] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนและที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นภายในตนโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุ-
ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่เป็นภายนอกตนและจักขายตนะที่เป็นภายในตนเป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นภายในตนโดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่
เป็นภายนอกตนและกายายตนะที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็น
ภายในตน ฯลฯ รูปายตนะที่เป็นภายนอกตนและหทัยวัตถุที่เป็นภายในตน ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะที่เป็นภายนอกตนและหทัยวัตถุที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นภายในตนโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๐๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นภายในตนและที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ภายนอกตนโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
ได้แก่ รูปายตนะที่เป็นภายในตนและจักขายตนะที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณที่เป็นภายนอกตนโดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็น
ภายในตนและกายายตนะที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นภายนอก
ตนโดยปุเรชาตปัจจัย รูปายตนะที่เป็นภายในตนและหทัยวัตถุที่เป็นภายนอกตน
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นภายในตนและหทัยวัตถุที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)

ปัจฉาชาตปัจจัย
[๓๙] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในตนซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

อาเสวนปัจจัย
[๔๐] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในตนซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
ภายในตนซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม
เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดย
อาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนโดย
อาเสวนปัจจัยได้แก่ ขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ ฯลฯ (เหมือนกับสภาวธรรมที่เป็นภายใน
ตนนั่นเอง)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๐๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
กัมมปัจจัย
[๔๑] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่ง
เป็นภายในตนและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนโดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
ซึ่งเป็นภายนอกตนและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)

วิปากปัจจัย
[๔๒] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
วิปากปัจจัย ฯลฯ (พึงทำให้บริบูรณ์เหมือนกับปฏิจจวาร)

อาหารปัจจัย
[๔๓] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตน
โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหารที่เป็น
ภายในตนเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นภายในตนโดยอาหารปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนโดย
อาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นภาย
นอกตนโดยอาหารปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๐๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนโดย
อาหารปัจจัย (พึงเพิ่มปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล) ได้แก่ กวฬิงการาหารที่เป็น
ภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นภายนอกตนโดยอาหารปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
อาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็น
ภายในตนโดยอาหารปัจจัย (๒)
[๔๔] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนและสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่เป็น
ภายในตนและกวฬิงการกาหารที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นภายในตน
โดยอาหารปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในตนและสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่เป็นภายใน
ตนและกวฬิงการาหารที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นภายนอกตนโดย
อาหารปัจจัย (๒)

อินทรียปัจจัยเป็นต้น
[๔๕] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตน
โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นภายในตน (พึงขยายรูปชีวิตินทรีย์ให้พิสดาร)
เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
(ผู้รู้พึงขยายบทมาติกาให้พิสดาร)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ)

อัตถิปัจจัย
[๔๖] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
อัตถิปัจจัยมี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๐๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูป ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ
ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ ... เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือน
กับปุเรชาตปัจจัย) หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นภายในตนโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
อัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นภายในตน ฯลฯ
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนโดย
อัตถิปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ ปุเรชาตะ และอาหาระ
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลอื่นเห็นแจ้งจักษุที่เป็นภายในตน ฯลฯ หทัยวัตถุโดย
เป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
รูปายตนะที่เป็นภายในตน ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็น
ภายนอกตนโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็น
ภายนอกตนโดยอัตถิปัจจัย (๒)
[๔๗] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก
ตนโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ
อินทรียะ (สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนไม่มีข้อแตกต่างกัน พึงขยายบทมาติกาให้
พิสดาร) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดยอัตถิ-
ปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ ปุเรชาตะและอาหาระ
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุที่เป็นภายนอกตน ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ
เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะที่เป็นภายนอกตน
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นภายในตนโดยอัตถิปัจจัย
กวฬิงการาหารที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นภายในตนโดยอัตถิปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๑๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๔๘] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนและสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปุเรชาตะและอาหาระ
ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่เป็นภายนอกตนและจักษุที่เป็นภายในตนเป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นภายในตน ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นภายนอกตนและ
กายายตนะที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นภายในตนโดยอัตถิปัจจัย
รูปายตนะที่เป็นภายนอกตนและหทัยวัตถุที่เป็นภายในตน ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่
เป็นภายนอกตนและหทัยวัตถุที่เป็นภายในตน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นภายในตน
โดยอัตถิปัจจัย
อาหาระ ได้แก่ กวฬิงการาหารที่เป็นภายในตนและกวฬิงการาหารที่เป็น
ภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นภายในตนโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในตนและสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่เป็นภายนอกตนโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปุเรชาตะและอาหาระ
ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่เป็นภายในตนและจักขายตนะที่เป็นภายนอกตน
เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นภายนอกตนโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ที่เป็นภายในตนและกายายตนะที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็น
ภายนอกตนโดยอัตถิปัจจัย รูปายตนะที่เป็นภายในตนและหทัยวัตถุที่เป็นภายนอก
ตนเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็น
ภายในตนและหทัยวัตถุที่เป็นภายนอกตน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนโดย
อัตถิปัจจัย
อาหาระ ได้แก่ กวฬิงการาหารที่เป็นภายในตนและกวฬิงการาหารที่เป็น
ภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นภายนอกตนโดยอัตถิปัจจัย (๒)

นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย และอวิคตปัจจัย
[๔๙] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
นัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๑๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๐] เหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๖ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๒ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๒ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๒ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๑๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร
[๕๑] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนโดย
อารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย และอาหารปัจจัย (๒)
[๕๒] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตน
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตนโดย
อารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย และอาหารปัจจัย (๒)
[๕๓] สภาวธรรมที่เป็นภายในตนและสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่เป็นภายในตน มี ๒ อย่าง คือ ปุเรชาตะและอาหาระ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นภายในตนและสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกตน มี ๒ อย่าง คือ ปุเรชาตะและอาหาระ (๒)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๕๔] นเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ

(ย่อ ทุกปัจจัยพึงเพิ่มปัจจัยละ ๖ วาระ)

นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๑๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๐. อัชฌัตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๕๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ

(ย่อ ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๒ วาระ)

นสัมปยุตตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๕๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ (พึงนับบทอนุโลม)
อวิคตปัจจัย ” มี ๖ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ ปัญหาวาร จบ
อัชฌัตตติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๑๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีธรรมภาย
ในตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีธรรมภาย
ในตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีธรรมภาย
นอกตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มี
ธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๒] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีธรรมภาย
ในตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย (ย่อ)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๓] อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ

(ย่อ ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๒ วาระ)

อวิคตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๑๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีธรรมภาย
ในตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อเหตุกะซึ่งมีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีธรรมภายนอก
ตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อเหตุกะซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)

นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๕] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีธรรม
ภายในตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับสหชาตปัจจัย
ในอนุโลม ไม่มีข้อแตกต่างกัน) เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ...
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
[๖] สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีธรรมภาย
นอกตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับสหชาตปัจจัย)
เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์อาศัยขันธ์ที่มี
ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๑๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีธรรมภายนอก
ตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีธรรมภายนอกตนเป็น
อารมณ์อาศัยขันธ์ที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้น

นวิปากปัจจัยเป็นต้น
[๗] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีธรรมภาย
ในตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะนฌานปัจจัย ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ซึ่งสหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีธรรมภายนอก
ตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัยได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีธรรมภาย
นอกตนเป็นอารมณ์ซึ่งสหรคตด้วยปัญจวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย
(ปัจจัยนี้เหมือนกับนเหตุปัจจัย ไม่มีโมหะ) เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ใน
อรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีธรรมภายนอก
ตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ (๑)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๘] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๑๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๙] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
นวิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวารเหมือน
กับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๑๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๑] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีธรรมภายในตนเป็น
อารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่มีธรรม
ภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีธรรมภายนอกตนเป็น
อารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๑๒] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจา-
ยตนะที่เป็นภายในตน พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ พิจารณาทิพพจักขุที่
เป็นภายในตนซึ่งมีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ พิจารณาทิพพโสตธาตุ ฯลฯ
อิทธิวิธญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ
อนาคตังสญาณ พระอริยะพิจารณากิเลสที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ซึ่งละได้
แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นภาย
ในตนซึ่งมีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์จึง
เกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นภายในตนซึ่งมีธรรมภายในตนเป็น
อารมณ์เป็นปัจจัยแก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรมภาย
นอกตนเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๑๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
ที่เป็นภายนอกตน พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ พิจารณาทิพพจักขุที่เป็น
ภายนอกตนซึ่งมีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ พิจารณาทิพพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณ
ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณ
เห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นภายนอกตนซึ่งมีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นภายนอก
ตนซึ่งมีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนซึ่งมี
ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
[๑๓] สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาทิพพจักขุ
ที่เป็นภายนอกตนซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ พิจารณาทิพพโสตธาตุ
พิจารณาอิทธิวิธญาณ ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ
ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณ เห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นภายนอกตนซึ่งมีธรรม
ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ รู้จิตของ
บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นภายนอกตนซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์
ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็น
ปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังส-
ญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายในตนเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจาก
ฌานแล้วพิจารณาฌาน พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล
พิจารณากิเลสที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้
แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น พิจารณาทิพพจักขุที่เป็นภายในตนซึ่งมีธรรมภายนอก
ตนเป็นอารมณ์ พิจารณาทิพพโสตธาตุ ... อิทธิวิธญาณ ... เจโตปริยญาณ ...
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ... ยถากัมมูปคญาณ ... อนาคตังสญาณ ... ขันธ์ที่
เป็นภายในตนซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๒๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่มีธรรมภายใน
ตนเป็น อารมณ์จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นภายในตนซึ่งมีธรรม
ภายนอกตนเป็น อารมณ์เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)

อธิปติปัจจัย
[๑๔] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นภายในตน
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น พิจารณาทิพพจักขุที่เป็นภายในตนซึ่งมีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ พิจารณาทิพพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณ ...
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ... ยถากัมมูปคญาณ ... อนาคตังสญาณให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นภายในตนซึ่งมีธรรม
ภายในตนเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดี
เพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่มีธรรมภายในตนเป็น
อารมณ์จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
[๑๕] สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ
ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
อธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายในตนเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๒๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออก
จากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น บุคคล
พิจารณาทิพพจักขุที่เป็นภายในตนซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ฯลฯ พิจารณาทิพพโสตธาตุ ... อิทธิวิธญาณ ... เจโตปริยญาณ
... ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ .... ยถากัมมูปคญาณ .... อนาคตังสญาณให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นภายในตนซึ่งมีธรรมภายนอกตน
เป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึง
เกิดขึ้น (๒)

อนันตรปัจจัย
[๑๖] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีธรรมภายในตนเป็น
อารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มีธรรมภายในตนเป็น
อารมณ์เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย
ภวังคจิตที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตซึ่งมีธรรมภายนอก
ตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่มีธรรม
ภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ... อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ... อนุโลม
เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ... เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๒)
[๑๗] สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีธรรมภายนอกตน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๒๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
เป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
โคตรภู ... อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ... โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค ... โวทาน
เป็นปัจจัยแก่มรรค ... มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ... ผลเป็นปัจจัยแก่ผล ... อนุโลมเป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายในตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มีธรรมภายนอกตนเป็น
อารมณ์เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย
ภวังคจิตที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตที่มีธรรมภายใน
ตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัย
แก่วุฏฐานะที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย (๒)

สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๘] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยสมนันตรปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย

อุปนิสสยปัจจัย
[๑๙] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนา
ที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา
และอนัตตานุปัสสนาที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๒๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนา
ที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และ
อนัตตานุปัสสนาที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
[๒๐] สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนา
ที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และ
อนัตตานุปัสสนาที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายในตนเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนา
ที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา
และอนัตตานุปัสสนาที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

อาเสวนปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีธรรมภายในตนเป็น
อารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ
โดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ อนุโลมที่มีธรรมภายในตนเป็น
อารมณ์เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานโดยอาเสวนปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีธรรมภายนอกตนเป็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๒๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัย
แก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๑)

กัมมปัจจัย
[๒๒] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่เป็นวิบากซึ่งมีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีธรรมภาย
นอกตนเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายในตนเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีธรรมภายใน
ตนเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๒๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๒๓] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยวิปากปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็น
ปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็น
ปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็น
ปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๒๔] เหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๒ วาระ)

สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๒๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร
[๒๕] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
กัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายในตนเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๒๖] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ

(ย่อ ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๔ วาระ)

นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๒๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๒๗] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๒ วาระ)
(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๒๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๒๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

กัมมปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัญหาวาร จบ
อัชฌัตตารัมมณติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๒๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เห็นไม่ได้แต่
กระทบได้เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบ
ได้เกิดขึ้น จักขายตนะอาศัยโผฏฐัพพายตนะเกิดขึ้น ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็น
ได้และกระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้น รูปายตนะอาศัย
โผฏฐัพพายตนะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบ
ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป
ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้น อาโปธาตุ
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัยโผฏฐัพพายตนะเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็น
ไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่
เป็นอุปาทายรูปที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็น
ไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้น รูปายตนะ อาโปธาตุ อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร
อาศัยโผฏฐัพพายตนะเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรม
ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๒ และอาโปธาตุ
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ และอาโปธาตุ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๓๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็น
ไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
เกิดขึ้น จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาโปธาตุ อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร
อาศัยโผฏฐัพพายตนะเกิดขึ้น (๕)
สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็น
ไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูป
ที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่
เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้น รูปายตนะ จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะอาศัย
โผฏฐัพพายตนะเกิดขึ้น (๖)
สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้ ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้ และที่เห็นไม่ได้
กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นได้กระทบได้ ที่เห็นไม่ได้แต่
กระทบได้ และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เกิด
ขึ้น รูปายตนะ จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาโปธาตุ อิตถินทรีย์ ฯลฯ
กวฬิงการาหารอาศัยโผฏฐัพพายตนะเกิดขึ้น (๗)
[๒] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้
และกระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ
จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัย
อาโปธาตุเกิดขึ้น อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยขันธ์ที่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๓๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร
เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เห็นได้และกระทบได้
อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น รูปายตนะอาศัยอาโปธาตุ
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยขันธ์ที่
เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบ
ได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่
เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น จักขายตนะ ฯลฯ
รสายตนะอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็น
ไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
ที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้และกระทบ
ไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป
ที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่
ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทาย-
รูปที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น รูปายตนะ
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรม
ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็น
ไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
และกฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็น
ไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัย
อาโปธาตุเกิดขึ้น จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร
อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น (๕)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๓๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็น
ไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้
กระทบได้และที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยขันธ์
ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป
ที่เห็นได้กระทบได้ และที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น รูปายตนะ
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น (๖)
สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้ ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้ และที่เห็นไม่ได้กระทบ
ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้กระทบได้ ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้ และที่เห็น
ไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปที่เห็นได้กระทบได้ที่เห็นไม่
ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป
ที่เห็นได้กระทบได้ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยอาโปธาตุ
เกิดขึ้น รูปายตนะ จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร
อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น (๗)
[๓] สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็น
ได้และกระทบได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้
และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่
เห็นได้และกระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น
รูปายตนะอาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๓๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้และ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบ
ได้และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒ และอาโปธาตุ
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น จักขายตนะ
ฯลฯ รสายตนะอาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่
ได้และกระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบ
ไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป
ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และอาศัยอาโป-
ธาตุเกิดขึ้น อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุ
เกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็น
ไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ที่เห็นได้แต่กระทบ
ไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เห็นได้กระทบได้และ
ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้
กระทบไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น
รูปายตนะ อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุ
เกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรม
ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๓๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร
จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่
ได้กระทบไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้
แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้และอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้แต่
กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และอาศัย
อาโปธาตุเกิดขึ้น จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร
อาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น (๕)
สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็น
ไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบ
ไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เห็นได้กระทบได้และ
ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป ที่เห็นได้กระทบได้ และที่เห็นไม่
ได้แต่กระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และอาศัยอาโปธาตุเกิด
ขึ้น รูปายตนะ จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะอาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุ
เกิดขึ้น (๖)
สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้ ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้ และที่เห็นไม่ได้กระทบ
ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้กระทบได้ ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เห็นได้กระทบได้ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่
ได้กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตต-
สมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นได้กระทบได้ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และอาศัยอาโปธาตุ
เกิดขึ้น รูปายตนะ จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร
อาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น (๗)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๓๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อารัมมณปัจจัย
[๔] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็น
ไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)

อธิปติปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เห็นไม่ได้
แต่กระทบได้เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
ที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้น (๑)
(บทที่มีสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นมูล พึงจําแนกเป็น ๗ วาระ
ด้วยเหตุนี้ ไม่มีบทสุดท้าย)
[๖] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็น
ไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัย
อาโปธาตุเกิดขึ้น
(ด้วยเหตุนี้ บทที่มีสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นมูล พึงจําแนก
เป็น ๗ วาระ ไม่มีบทจบ)
[๗] สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบ
ได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่
เห็นได้และกระทบได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้
กระทบไม่ได้และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น (ด้วยเหตุนี้ พึงจําแนกเป็น ๗ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๓๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อนันตรปัจจัยและสมนันตรปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับ
อารัมมณปัจจัย)

สหชาตปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบ ได้
เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เห็นไม่ได้
แต่กระทบได้เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้
แต่กระทบได้เกิดขึ้น จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะอาศัยโผฏฐัพพายตนะเกิดขึ้น ...
ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
(พึงจำแนกบทที่มีสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นมูลเป็น ๗ วาระ
ด้วยเหตุนี้)
[๑๐] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็น
ไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัย-
วัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูป
ที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น อิตถินทรีย์
ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม กฏัตตารูป
ที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น
(บทที่มีสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นมูล พึงเพิ่มเป็น ๗ วาระ
ด้วยเหตุนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๓๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๑๑] สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่
เห็นได้และกระทบได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้
และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่
เห็นได้และกระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น
รูปายตนะอาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบ
ได้และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น (ด้วยเหตุนี้ พึงจําแนกเป็น ๗ วาระ)

อัญญมัญญปัจจัย
[๑๒] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบ
ได้เกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่
เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
เกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ อาโปธาตุอาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่
กระทบได้เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรม
ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๒ และ
อาโปธาตุอาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ และ
อาโปธาตุอาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ (๓)
[๑๓] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็น
ไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
และหทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๓๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้
เกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัย
อาโปธาตุเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ (๒)
[๑๔] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบ
ได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๒
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น มหาภูตรูป
๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒ และอาโปธาตุเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ (๑)

นิสสยปัจจัยเป็นต้น
[๑๕] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่
กระทบได้เกิดขึ้นเพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย
เพราะอาเสวนปัจจัย เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย
เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย
เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย
เพราะอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๖] เหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๓๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๒๑ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๒๑ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๒๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบ
ได้เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เห็นไม่ได้
แต่กระทบได้เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้
แต่กระทบได้เกิดขึ้น จักขายตนะฯลฯ รสายตนะอาศัยโผฏฐัพพายตนะเกิดขึ้น ...
ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ฯลฯ
(บทที่มีสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นมูล พึงจําแนกเป็น ๗ วาระ
ด้วยเหตุนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๔๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๑๘] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้
และกระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปที่เห็น
ไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ หทัยวัตถุ
อาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่
เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น อิตถินทรีย์ ฯลฯ
กวฬิงการาหารอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน
... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม กฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะเกิดขึ้น
(พึงจําแนกบทที่มีสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นมูลเป็น ๗ วาระ
ด้วยเหตุนี้)
[๑๙] สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็น
ได้และกระทบได้อาศัยขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเห็นไม่ได้กระทบไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้นในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ กฏัตตารูปที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยขันธ์ที่
เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่
เป็นอุปาทายรูปที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และอาศัย
อาโปธาตุเกิดขึ้น รูปายตนะอาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น ... ที่เป็น
ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นได้และกระทบได้อาศัย
มหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น
(ด้วยเหตุนี้ ผู้รู้พึงขยายให้พิสดารเป็น ๗ วาระ )

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๔๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอารัมมณปัจจัย
[๒๐] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบ
ได้เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เห็น
ไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตต-
สมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยมหาภูตรูป
ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้น จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะอาศัยโผฏฐัพพายตนะ
เกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ...
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เห็นไม่ได้
แต่กระทบได้เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น ฯลฯ
(พึงขยายบทที่มีสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นมูลให้พิสดารเป็น ๗ วาระ
ด้วยเหตุนี้)
[๒๑] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป
ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เกิดขึ้น หทัยวัตถุ
อาศัยขันธ์เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่
ได้และกระทบไม่ได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัย
อาโปธาตุเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็น
สมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็น
ไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น
(บทที่มีสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นมูลพึงขยายให้พิสดารเป็น ๗
วาระ ด้วยเหตุนี้)
[๒๒] สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบ ได้
และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
ที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๔๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร
และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็น
ได้และกระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น
รูปายตนะอาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่
กระทบได้และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น
(ในฆฏนา พึงจําแนกเป็น ๗ วาระ ด้วยเหตุนี้)

นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๒๓] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่
กระทบได้เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับสหชาตปัจจัย) เพราะ
นอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยมหาภูตรูป
ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้น จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะอาศัยโผฏฐัพพายตนะ
เกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ...
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบ
ไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
(ด้วยเหตุนี้ พึงจําแนกเป็น ๒๑ วาระ )
... เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย
เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑
ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น
อุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เกิดขึ้น
(พึงจําแนกกัมมปัจจัยแล้วเพิ่มเป็น ๒๑ วาระ ด้วยนกัมมปัจจัยนั่นเอง) เพราะ
นวิปากปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิและกฏัตตารูป พึงเพิ่มเฉพาะในปัญจโวการภพเท่านั้น)
เพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (ด้วยเหตุนี้ พึงจําแนกเป็น ๒๑ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๔๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอินทรียปัจจัยเป็นต้น
[๒๔] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบ
ได้เกิดขึ้นเพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน
... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้ ฯลฯ
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม รูปชีวิตินทรีย์อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (ย่อ พึง
จําแนกวาระทั้งปวง) เพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหาร
เป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหา-
ภูตรูป ๑ (ย่อ พึงจําแนกเป็น ๗ วาระ)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบ
ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
ปัญจวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น
(พึงจําแนกเป็น ๗ วาระ ด้วยอาการอย่างนี้)
[๒๕] สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบ
ได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ...
ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปที่เห็นได้และกระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่เห็นไม่
ได้แต่กระทบได้และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น
(พึงจําแนกเป็น ๗ วาระด้วยอาการอย่างนี้) เพราะนมัคคปัจจัย (พึงทําให้
เหมือนกับนเหตุปัจจัย พึงทำให้บริบูรณ์ ไม่มีโมหะ) เพราะนสัมปยุตตปัจจัย
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย (พึงทำให้บริบูรณ์) เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๒๖] นเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๔๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ

(ย่อ ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๒๑ วาระ)

โนนัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๒๗] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ ฯลฯ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๒๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ ฯลฯ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๔๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร

ฌานปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวาร ปัจจยวาร และนิสสยวาร เหมือนกับปฏิจจวาร พึงเพิ่ม
สังสัฏฐวารและสัมปยุตตวารเฉพาะในอรูปาวจรภูมิเท่านั้น)

๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๒๙] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้
และกระทบไม่ได้โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยเหตุปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
กฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และ
กระทบได้โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปที่เห็นได้และกระทบได้โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
(เฉพาะบทที่มีสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นมูล พึงจําแนกเป็น ๗
วาระ ด้วยเหตุนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๔๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปัจจัย
[๓๐] สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็น
ทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินรูปนั้น ราคะ
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย
ขันธ์ที่เห็นได้และกระทบได้เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบ
ไม่ได้โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กาย ... เสียง ... กลิ่น
... รส ... โผฏฐัพพะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลฟังเสียง
ด้วยทิพพโสตธาตุ สัททายตนะเป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
[๓๑] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้
และกระทบไม่ได้โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษา
อุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพาน
เป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระ
อริยะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ
บุคคลเห็นแจ้งหทัยวัตถุ ... อิตถินทรีย์ ... ปุริสินทรีย์ ... ชีวิตินทรีย์ ... อาโปธาตุ
... กวฬิงการาหาร ... ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจา-
ยตนะโดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ
ฯลฯ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๔๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
อธิปติปัจจัย
[๓๒] สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดี
เพลิดเพลินรูปให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินรูปนั้น
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบ
ไม่ได้ โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดี
เพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ กาย ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑)
[๓๓] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็น
ไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและ
สหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระ
อริยะออกจากมรรค ฯลฯ ออกจากผล ฯลฯ พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ฯลฯ พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ... นิพพานเป็น
ปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลิน
หทัยวัตถุ ... อิตถินทรีย์ ... ปุริสินทรีย์ ... ชีวิตินทรีย์ ... อาโปธาตุ ...
กวฬิงการาหาร ... ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินหทัยวัตถุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และ
กระทบได้โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๔๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้โดย
อธิปติปัจจัย (๒)
(บทที่มีสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นมูล พึงจําแนกเป็น ๗ วาระ
พึงจําแนกอธิบดีธรรมโดยสงเคราะห์เข้าในรูป ๓ อย่าง)

อนันตรปัจจัย
[๓๔] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้
และกระทบไม่ได้โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้ซึ่งเกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค
โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ผลเป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลมเป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)

สมนันตรปัจจัย
[๓๕] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็น
ไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย)

สหชาตปัจจัยเป็นต้น
[๓๖] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้
แต่กระทบได้โดยสหชาตปัจจัย (พึงทําให้เหมือนกับปฏิจจวาร ในอัญญมัญญปัจจัย
เหมือนกับอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิจจวาร ในนิสสยปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาร)

อุปนิสสยปัจจัย
[๓๗] สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูป-
นิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๔๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเมื่อปรารถนาวรรณสมบัติ จึงให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ วรรณสมบัติเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ
... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... มรรคและผลสมาบัติ
โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูป-
นิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเมื่อปรารถนาจักขุสมบัติ ฯลฯ เมื่อปรารถนา
กายสมบัติ ... สัททสมบัติ ... โผฏฐัพพสมบัติ จึงให้ทาน สมาทานศีล รักษา
อุโบสถ ... บุคคลอาศัยอุตุ ... เสนาสนะแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ...
ทําฌาน ... วิปัสสนา ... มรรค ... อภิญญา ... สมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ
ทําลายสงฆ์ จักขุสมบัติ ฯลฯ โผฏฐัพพสมบัติ ... อุตุ ... เสนาสนะเป็นปัจจัย
แก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ... สุขทางกาย ...
ทุกข์ทางกาย ... มรรคและผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
[๓๘] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้
และกระทบไม่ได้โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษา
อุโบสถ ... ทําฌาน ... สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา
... ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกายและโภชนะแล้ว
ให้ทาน ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา
... สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย และโภชนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... มรรค
และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)

ปุเรชาตปัจจัย
[๓๙] สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้
และกระทบไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๕๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
บุคคลเห็นแจ้งรูปโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินรูปนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ
อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ รูปายตนะเป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบ
ไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กาย ... เสียง ฯลฯ
โผฏฐัพพะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ สัททายตนะเป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งหทัยวัตถุ ... อิตถินทรีย์ ...
ปุริสินทรีย์ ... ชีวิตินทรีย์ ... อาโปธาตุ ... กวฬิงการาหารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้
โดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
[๔๐] สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณ-
ปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะและหทัยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๕๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ
และวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะและจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๑)

ปัจฉาชาตปัจจัย
[๔๑] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้
และกระทบไม่ได้โดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้ซึ่ง
เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และ
กระทบได้โดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้ซึ่งเกิดภายหลัง
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเห็นได้และกระทบได้โดยปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
(พึงจําแนกเป็น ๗ วาระอย่างนี้ สงเคราะห์รูป ๓ อย่าง) (๗)

อาเสวนปัจจัย
[๔๒] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็น
ไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้ซึ่ง
เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวน-
ปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัย
แก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๑)

กัมมปัจจัย
[๔๓] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่
ได้และกระทบไม่ได้โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๕๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากและกฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และ
กระทบได้โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปที่เห็นได้และกระทบได้โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป
ที่เห็นได้และกระทบได้โดยกัมมปัจจัย (๒)
(พึงจําแนกสหชาตะ และนานาขณิกะ เป็น ๗ วาระ อย่างนี้ ด้วยเหตุนี้
สงเคราะห์รูป ๓ อย่าง) (๗)

วิปากปัจจัย
[๔๔] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็น
ไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้
โดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดย
วิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปากปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และ
กระทบได้โดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้และกระทบได้โดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เห็นได้และกระทบได้โดย
วิปากปัจจัย (๒)
(พึงขยายให้พิสดารเป็น ๗ วาระอย่างนี้ พึงขยายปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล)
(๗)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๕๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
อาหารปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้
และกระทบไม่ได้โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอาหารปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
กฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอาหารปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และ
กระทบได้โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้และกระทบได้โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่
เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เห็นได้และกระทบได้โดยอาหารปัจจัย
กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เห็นได้และกระทบได้โดยอาหารปัจจัย (๒)
(พึงจําแนกปวัตติกาล และปฏิสนธิกาลเป็น ๗ วาระอย่างนี้ แม้วาระทั้ง ๗
พึงเพิ่มกวฬิงการาหารด้วย) (๗)

อินทรียปัจจัย
[๔๖] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้
และกระทบไม่ได้โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอินทรียปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
กฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอินทรียปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอินทรียปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๕๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และ
กระทบได้โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้และกระทบได้โดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่
เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เห็นได้และกระทบได้โดยอินทรียปัจจัย
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เห็นได้และกระทบได้โดยอินทรียปัจจัย (๒)
(พึงจําแนกปวัตติกาลและปฏิสนธิกาลเป็น ๗ วาระ อย่างนี้ ส่วนรูปชีวิตินทรีย์
พึงเพิ่มในตอนท้าย ๆ) (๗)
[๔๗] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ จักขุนทรีย์และ
จักขุวิญญาณเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย ฯลฯ
กายินทรีย์และกายวิญญาณเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณโดยอินทรีย-
ปัจจัย (๑)

ฌานปัจจัยเป็นต้น
[๔๘] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้
และกระทบไม่ได้โดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
สัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

วิปปยุตตปัจจัย
[๔๙] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบ
ไม่ได้ โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๕๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย
ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อนซึ่งเห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และ
กระทบได้โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูปที่เห็นได้และกระทบได้โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เห็นได้และกระทบได้โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อนซึ่งเห็นได้และกระทบได้โดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
(พึงขยายวาระทั้ง ๕ ที่เหลือให้พิสดารอย่างนี้ พึงขยายสหชาตะ และ
ปัจฉาชาตะให้พิสดาร)

อัตถิปัจจัย
[๕๐] สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้ง
รูปโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย (๑)
[๕๑] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้
แต่กระทบได้โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๑ ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๕๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
แก่มหาภูตรูป ๒ โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ โดย
อัตถิปัจจัย มหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นไม่ได้แต่กระทบได้โดยอัตถิปัจจัย โผฏฐัพพายตนะ
เป็นปัจจัยแก่จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะโดยอัตถิปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ...
ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัย
แก่มหาภูตรูป ๒ โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ โดย
อัตถิปัจจัย มหาภูตรูปที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่อุปาทายรูปที่เห็นไม่ได้แต่
กระทบได้โดยอัตถิปัจจัย สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ที่เห็นไม่ได้
แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบ
ได้โดยอัตถิปัจจัย (๒) (ปัจจัยนี้เหมือนกับนิสสยปัจจัยในปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และ
กระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ มหาภูตรูปที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย
(พึงขยายให้พิสดารจนถึงอสัญญสัตตพรหม)
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กาย ... เสียง ฯลฯ
โผฏฐัพพะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย (๓)
(พึงขยาย ๔ วาระที่เหลือให้พิสดารเหมือนกับสหชาตปัจจัยในปฏิจจวาร
ไม่มีแตกต่างกัน) (๗)
[๕๒] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้
และกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๕๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาโปธาตุเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปซึ่งเห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้ ฯลฯ อาโปธาตุเป็นปัจจัยแก่อิตถินทรีย์
ฯลฯ กวฬิงการาหารโดยอัตถิปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน
... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม อาโปธาตุเป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งหทัยวัตถุ ... อิตถินทรีย์ ... ปุริสินทรีย์ ...
ชีวิตินทรีย์ ... อาโปธาตุ ... กวฬิงการาหารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส
จึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อนซึ่งเห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่
เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย (พึงจําแนก ๖ วาระที่เหลืออย่างนี้ พึง
เพิ่มสหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ) (๗)
[๕๓] สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ
ได้แก่ รูปายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดย
อัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่
ได้และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้และกระทบได้โดยอัตถิปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ (ย่อ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหมพึงจัดไว้ด้วย) (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้โดยอัตถิปัจจัย (ย่อ) (๒)
[๕๔] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๕๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้ ฯลฯ (พึงเพิ่มจนถึงอสัญญสัตตพรหม)
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะและหทัยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและหทัย-
วัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย (๓) (พึงจําแนก ๔
วาระที่เหลือ) (๗)
[๕๕] สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ
ได้แก่ รูปายตนะและจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้ ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบ
ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง
คือ สหชาตะและปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะจักขายตนะและจักขุวิญญาณเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย (๑)
(นัตถิปัจจัยและวิคตปัจจัยเหมือนกับอนันตรปัจจัย อวิคตปัจจัยเหมือนกับ
อัตถิปัจจัย)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๖] เหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๕๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๗ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๘ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๒๕ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๒๕ วาระ

เหตุสภาคนัย

[๕๗] อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๖๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
เหตุสามัญญฆฏนา (๙)
[๕๘] ปัจจัย ๕ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗
วาระ (อวิปาก ๔)
ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
(พึงนับวาระที่จะต้องนับทั้งหมดอย่างนี้)
อนุโลม จบ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๕๙] สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้
และกระทบไม่ได้โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่
กระทบได้โดยสหชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๖๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบ
ได้โดยสหชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบ
ไม่ได้ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้และ
ที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้โดยสหชาตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบ
ได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้โดยสหชาตปัจจัย (๕)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้และ
ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้โดยสหชาตปัจจัย (๖)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้ที่
เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้โดยสหชาตปัจจัย (๗)
[๖๐] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็น
ไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาต-
ปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และ
กระทบได้โดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และ
อินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่
กระทบได้โดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และ
อินทรียปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบ
ได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้โดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย
อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่
กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้โดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย
อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๖๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้
และที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้โดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย
และอินทรียปัจจัย (๖)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้
ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้โดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๗)
[๖๑] สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้ มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้โดยสหชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้โดยสหชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้ มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ (๓)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้โดยสหชาตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้โดยสหชาตปัจจัย (๕)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้โดยสหชาตปัจจัย (๖)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่เห็นได้กระทบได้ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้และที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้โดย
สหชาตปัจจัย (๗)
[๖๒] สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้และที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้ มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่เห็นได้กระทบได้ ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้ และที่เห็นไม่ได้กระทบ
ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้โดยสหชาตปัจจัยและปุเรชาต-
ปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๖๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๖๓] นเหตุปัจจัย มี ๒๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๒๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๒๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๒๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๒๕ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๔ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๒๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒๕ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๒๔ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๒๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๒๓ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๒๕ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๒๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๔ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๒ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๒๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๒๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๖๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
นเหตุทุกนัย

นอารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒๒ วาระ (เหมือนกับข้อความตอนต้น)
โนอวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

นเหตุติกนัย

นอธิปติปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๒๒ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” ” มี ๒๒ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” ” มี ๒๒ วาระ
นสหชาตปัจจัย ” ” มี ๙ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๒๒ วาระ
นนิสสยปัจจัย ” ” มี ๙ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” ” มี ๒๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๒๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๒๒ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๒๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๒๒ วาระ
โนอัตถิปัจจัย ” ” มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” ” มี ๒๒ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” ” มี ๒๒ วาระ
โนอวิคตปัจจัย ” ” มี ๙ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๖๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๖๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ

เหตุสามัญญฆฏนา

[๖๕] นอารัมมณปัจจัย กับปัจจัย ๕ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ

และอวิคตะ มี ๗ วาระ ฯลฯ

นอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ

(แม้ในข้อความนี้ก็ย่อไว้)

นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๖๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร
นอารัมมณปัจจัย กับปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
อัตถิและอวิคตะ มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ)
โนวิคตปัจจัยกับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๖๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๖ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๖๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปปยุตตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๘ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ ปัญหาวาร จบ
สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ จบ
ธัมมานุโลมติกปัฏฐานสุดท้าย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๖๖๘ }


พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๘ ปัฏฐาน ภาค ๒ จบ





eXTReMe Tracker