ค้นว่าอยู่เล่มใด แล้วกด [ctrl]+f หรือใช้คำสั่งของเครื่องหาตำแหน่งในเล่มอีกทีนะครับ



จัดรูปหน้าใหม่
เพื่อความสะดวก และสวยงาม
(เฉพาะหน้าจอใหญ่ เช่น คอมพิวเตอร์)
กรุณาคลิก จัดรูปหน้าใหม่
เพื่อให้กรอบ
ค้นข้อความ ปรากฎที่ด้านซ้ายของหน้า

พระไตรปิฎกภาษาไทย
ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๔๕ เล่ม (ปกสีฟ้า)
ทั้งออนไลน์และออฟไลน์
ที่มาของข้อมูล : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับ มจร.
MCUTRAI Version 1.0

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐-๒ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๗ ปัฏฐาน ภาค ๑

พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ติกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
ติกนัย

นอารัมมณปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัยและเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย " " มี ๑๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย " " มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " " มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย " " มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " " มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " " มี ๕ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " " มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " " มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย " " มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย " " มี ๑๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " " มี ๕ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " " มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย " " มี ๕ วาระ

จตุกกนัย

นอธิปติปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย เหตุปัจจัย และอารัมมณปัจจัย มี ๗


วาระ


นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๘๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
ปัญจกนัย
นปัจฉาชาตปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย เหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย และ
อธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ

นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ ฯลฯ

เตรสกนัย (สาเสวนะ)
นปัจฉาชาตปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย เหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย
อธิปติปัจจัย

ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย และอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ


นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ

เตวีสกนัย
นปัจฉาชาตปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย เหตุปัจจัย ฯลฯ อาเสวนปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ

นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ

จุททสกนัย (สวิปากะ)
นปัจฉาชาตปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย เหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย (ย่อ)
ปุเรชาตปัจจัย กัมมปัจจัย และวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ

นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ

เตวีสกนัย
นปัจฉาชาตปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย เหตุปัจจัย ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย วิปากปัจจัย อาหารปัจจัย (ย่อ) และอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๘๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
... กับอัตถิปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับสหชาตปัจจัย)
... กับนัตถิปัจจัยและวิคตปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอารัมมณปัจจัย)
... กับอวิคตปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับสหชาตปัจจัย)
อนุโลมปัจจนียะในปัจจยวาร จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๓๑๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๔ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๔ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๔ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๔ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๘๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

วิปปยุตตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๔ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๔ วาระ

ติกนัย

สหชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " " มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย " " มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " " มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย " " มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย " " มี ๑ วาระ ฯลฯ

สัตตกนัย
สหชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
นสมนันตรปัจจัย และนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ

นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๘๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ

ทวาทสกนัย
สหชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตร-
ปัจจัย นสมนันตรปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัย นอุปนิสสยปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย
นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย และนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ

นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ

จุททสกนัย
สหชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย นวิปาก-
ปัจจัย และนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ

นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ

เอกวีสกนัย
สหชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย
นวิปากปัจจัย นอาหารปัจจัย นอินทรียปัจจัย ฯลฯ โนวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ

นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (ย่อ)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๘๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
นอารัมมณทุกนัย

[๓๑๕] เหตุปัจจัย กับนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๕ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๕ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๕ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๕ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๕ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๕ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๕ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๕ วาระ

ติกนัย

สหชาตปัจจัย กับนอารัมมณปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " " มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย " " มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " " มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย " " มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " " มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๘๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

อัตถิปัจจัย กับนอารัมมณปัจจัย และนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย " " มี ๑ วาระ (ย่อ)

นอธิปติทุกนัย

[๓๑๖] เหตุปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๗ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๗ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๘๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
ติกนัย

อารัมมณปัจจัย กับนอธิปติปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย " " มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย " " มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " " มี ๔ วาระ
นิสสยปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " " มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อาเสวนปัจจัย " " มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย " " มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย " " มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย " " มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย " " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อัตถิปัจจัย " " มี ๔ วาระ
นัตถิปัจจัย " " มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย " " มี ๔ วาระ

จตุกกนัย
สหชาตปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๑
วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๘๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
ทุกนัยมีนอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๑๗] ...กับนอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัย และ
นอุปนิสสยปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับนอารัมมณปัจจัย)

นปุเรชาตทุกนัย

[๓๑๘] เหตุปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๗ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๙๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
ติกนัย

อารัมมณปัจจัย กับนอธิปติปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย " " มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย " " มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " " มี ๔ วาระ
นิสสยปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " " มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อาเสวนปัจจัย " " มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย " " มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย " " มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย " " มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย " " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อัตถิปัจจัย " " มี ๔ วาระ
นัตถิปัจจัย " " มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย " " มี ๔ วาระ

จตุกกนัย
สหชาตปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๑
วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๙๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
นปัจฉาชาตทุกนัย

[๓๑๙] เหตุปัจจัย กับนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๗ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๙๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
ติกนัย

อารัมมณปัจจัย กับนปัจฉาชาตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย " " มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย " " มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " " มี ๔ วาระ
นิสสยปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " " มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อาเสวนปัจจัย " " มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย " " มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย " " มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย " " มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย " " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อัตถิปัจจัย " " มี ๔ วาระ
นัตถิปัจจัย " " มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย " " มี ๔ วาระ

จตุกกนัย
สหชาตปัจจัย กับนปัจฉาชาตปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี
๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๙๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
นอาเสวนทุกนัย

[๓๒๐] เหตุปัจจัย กับนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑๗ วาระ

ติกนัย

อารัมมณปัจจัย กับนอาเสวนปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย " " มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๙๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

สมนันตรปัจจัย กับนอาเสวนปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " " มี ๔ วาระ
นิสสยปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " " มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย " " มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย " " มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย " " มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย " " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อัตถิปัจจัย " " มี ๔ วาระ
นัตถิปัจจัย " " มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย " " มี ๔ วาระ

จตุกกนัย
สหชาตปัจจัย กับนอาเสวนปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๑
วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (ย่อ)

นกัมมทุกนัย

[๓๒๑] เหตุปัจจัย กับนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๙๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

อธิปติปัจจัย กับนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๗ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ

ติกนัย

อารัมมณปัจจัย กับนกัมมปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย " " มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย " " มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " " มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๙๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

อุปนิสสยปัจจัย กับนกัมมปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " " มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย " " มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " " มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย " " มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย " " มี ๑ วาระ

จตุกกนัย

สหชาตปัจจัย กับนกัมมปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๑

วาระ

อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (ย่อ)

นวิปากทุกนัย

[๓๒๒] เหตุปัจจัย กับนวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๙๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

สมนันตรปัจจัย กับนวิปากปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๗ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑๗ วาระ

ติกนัย

อารัมมณปัจจัย กับนวิปากปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย " " มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย " " มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " " มี ๔ วาระ
นิสสยปัจจัย " " มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๙๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

อุปนิสสยปัจจัย กับนวิปากปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อาเสวนปัจจัย " " มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อาหารปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย " " มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย " " มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย " " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อัตถิปัจจัย " " มี ๔ วาระ
นัตถิปัจจัย " " มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย " " มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย " " มี ๔ วาระ

จตุกกนัย

สหชาตปัจจัย กับนวิปากปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๑

วาระ

อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (ย่อ)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๑๙๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
นอาหารทุกนัย

[๓๒๓] สหชาตปัจจัย กับนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ (ย่อ)

นอินทรียทุกนัย

[๓๒๔] สหชาตปัจจัย กับนอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ (ย่อ)

นฌานทุกนัย

[๓๒๕] อารัมมณปัจจัย กับนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๐๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

ปุเรชาตปัจจัย กับนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ ฯลฯ

จตุกกนัย

สหชาตปัจจัย กับนฌานปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๑

วาระ

อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (ย่อ)

นมัคคทุกนัย

[๓๒๖] อารัมมณปัจจัย กับนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๐๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

สมนันตรปัจจัย กับนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ ฯลฯ

จตุกกนัย
สหชาตปัจจัย กับนมัคคปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย
มี ๑ วาระ

อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๐๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (ย่อ)

นสัมปยุตตทุกนัย

[๓๒๗] เหตุปัจจัย กับนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๕ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๕ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๕ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๕ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๕ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๕ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๕ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๕ วาระ

ติกนัย

สหชาตปัจจัย กับนสัมปยุตตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย " " มี ๑ วาระ (ย่อ)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๐๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
นวิปปยุตตทุกนัย

[๓๒๘] เหตุปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ

ติกนัย

อารัมมณปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย " " มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย " " มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย " " มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๐๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

อัญญมัญญปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย " " มี ๒ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " " มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย " " มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย " " มี ๒ วาระ
อาหารปัจจัย " " มี ๒ วาระ
อินทรียปัจจัย " " มี ๒ วาระ
ฌานปัจจัย " " มี ๒ วาระ
มัคคปัจจัย " " มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " " มี ๒ วาระ
อัตถิปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นัตถิปัจจัย " " มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย " " มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย " " มี ๒ วาระ

จตุกกนัย
สหชาตปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี
๑ วาระ

อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (ย่อ)

... กับโนนัตถิปัจจัยและโนวิคตปัจจัย... (ปัจจัยนี้เหมือนกับนอารัมมณปัจจัย)
ปัจจนียานุโลมในปัจจยวาร จบ
ปัจจยวาร จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๐๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๔. นิสสยวาร
๑. กุสลติกะ ๔. นิสสยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
อนุโลมเหตุปัจจัย
[๓๒๙] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อิงอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อิงอาศัย
ขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อิงอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
กุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๓๓๐] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อิงอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อิง
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศล
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อกุศลเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๓๓๑] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๐๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๔. นิสสยวาร
อิงอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอิงอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเกิดขึ้น
ขันธ์ ๑ และกฏัตตารูปอิงอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอิงอาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอิงอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อิงอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
มหาภูตรูป ๓ อิงอาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อิงอาศัยมหาภูตรูป ๓
เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อิงอาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอิงอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบาก
และที่เป็นอัพยากตกิริยาอิงอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลอิงอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะเหตุ
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลอิงอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลอิงอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น จิตต-
สมุฏฐานรูปอิงอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลอิงอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น จิตต-
สมุฏฐานรูปอิงอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๕)
[๓๓๒] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อิงอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลและอิงอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อิงอาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลและอิงอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๐๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๔. นิสสยวาร
สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่
เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อิงอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล
และอิงอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อิงอาศัยขันธ์ ๒ และอิงอาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลและอิงอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อิงอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลและอิงอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อิงอาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลและ
อิงอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศล
และที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อิงอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อกุศลและอิงอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อิงอาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลและอิงอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
(พึงขยายให้พิสดารเหมือนในปัจจยวาร)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๓๓] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๐๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๔. นิสสยวาร

อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ

(พึงขยายให้พิสดารเหมือนในปัจจยวาร)
อนุโลมในนิสสยวาร จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๓๓๔] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอิงอาศัย
ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๐๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๔. นิสสยวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง
เป็นอัพยากตวิบากและอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัย
ขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิ-
ขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอิงอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอิงอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอิงอาศัย
ขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อิงอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อิงอาศัยมหาภูตรูป ๑
เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอิงอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ...
สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อิงอาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอิงอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จักขุวิญญาณอิงอาศัย
จักขายตนะเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณอิงอาศัยกายายตนะเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็น
อเหตุกะซึ่งเป็นอัพยากตวิบากและอัพยากตกิริยาอิงอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอิงอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
อิงอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและอิงอาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น (๑)
(พึงขยายให้พิสดารเหมือนในปัจจยวาร)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๓๕] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๑๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๔. นิสสยวาร

นอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

ปัจจนียะในนิสสยวาร จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๓๓๖] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย " มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๑๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๔. นิสสยวาร

นสมนันตรปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย " มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๕ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๕ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๑๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๕ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย " มี ๕ วาระ (ย่อ)

อนุโลมปัจจนียะในนิสสยวาร จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๓๓๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๔ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๔ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๔ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๔ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๑๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

วิปากปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๔ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๔ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๔ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๔ วาระ (ย่อ)

ปัจจนียานุโลมในนิสสยวาร จบ
(ที่เป็นปัจจยวาร ได้แก่ นิสสยวาร ที่เป็นนิสสยวาร ได้แก่ ปัจจยวาร)
นิสสยวาร จบ

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๓๘] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๓
ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๓
ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๑๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็น
อัพยากตกิริยา ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก ขันธ์ ๑
เกิดระคนกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑)

อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๓๓๙] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะ
อารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย (ไม่มีอธิปติปัจจัยในปฏิสนธิขณะ) เพราะ
อนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย
เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย (บททั้งหมดเหมือนเหตุมูลกนัย)

ปุเรชาตปัจจัย
[๓๔๐] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะปุเรชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์
๓ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ขันธ์เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเพราะปุเรชาตปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๓
ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ขันธ์เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ
ปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็น
อัพยากตกิริยา ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ขันธ์
เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะปุเรชาตปัจจัย (๑)

อาเสวนปัจจัย
[๓๔๑] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศล ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๑๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ
อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตกิริยา ฯลฯ

กัมมปัจจัย
[๓๔๒] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะกัมม-
ปัจจัย ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ฯลฯ

วิปากปัจจัย
[๓๔๓] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
เพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก
ฯลฯ

อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๓๔๔] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะอาหาร-
ปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตต-
ปัจจัย (บทเหล่านี้เหมือนกับเหตุปัจจัย)

วิปปยุตตปัจจัย
[๓๔๕] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะวิป-
ปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ฯลฯ ขันธ์ ๒
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ขันธ์เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะวิปปยุตตปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ฯลฯ ขันธ์
เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะวิปปยุตตปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ฯลฯ
ขันธ์เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะวิปปยุตตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๑๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๓๔๖] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะอัตถิ-
ปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือน
กับเหตุปัจจัย)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๔๗] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๑๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

เหตุทุกนัย

[๓๔๘] อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงขยายเหตุมูลกนัยให้
พิสดาร)

อาเสวนทุกนัย

[๓๔๙] เหตุปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๑๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

อัตถิปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ

วิปากทุกนัย

[๓๕๐] เหตุปัจจัย กับวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๑ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ ฯลฯ

อนุโลมในสังสัฏฐวาร จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๑๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๓๕๑] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเพราะนเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับ
ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นอัพยากตวิบาก
และอัพยากตกิริยา ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก
ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑)

นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๓๕๒] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะ
นอธิปติปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคน
กับขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒

นปัจฉาชาตปัจจัย
[๓๕๓] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะนปัจฉาชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ

นกัมมปัจจัย
[๓๕๔] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะนกัมม-
ปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นกุศลเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นกุศล (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๑๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเพราะนกัมมปัจจัย
ได้แก่ เจตนาที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นอกุศล (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นอัพยากต-
กิริยา (๑)

นวิปากปัจจัย
[๓๕๕] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศล ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ
นวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตกิริยา
(นกัมมปัจจัยและนวิปากปัจจัยในปัจจนียวิภังค์สังสัฏฐวารไม่มีปฏิสนธิ มีแต่
่ในปัจจัยที่เหลือ)

นฌานปัจจัย
[๓๕๖] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
เพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ
ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑)

นมัคคปัจจัย
[๓๕๗] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
เพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง
เป็นอัพยากตวิบากและอัพยากตกิริยา ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ใน
ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๒๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
นวิปปยุตตปัจจัย
[๓๕๘] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะนวิป-
ปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเพราะนวิปปยุตต-
ปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็น
อัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยา ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์
๒ (ไม่มีปฏิสนธิในนวิปปยุตตปัจจัย) (๑)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๕๙] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๒๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
นเหตุทุกนัย

[๓๖๐] นอธิปติปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๒ วาระ
lนอาเสวนปัจจัย " มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๒ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๒ วาระ

ติกนัย

นปุเรชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นฌานปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " " มี ๒ วาระ

จตุกกนัย
นปัจฉาชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย และนปุเรชาตปัจจัย มี ๒
วาระ

นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๒๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ ฯลฯ

ฉักกนัย
นกัมมปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาต-
ปัจจัย และนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ

นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ

สัตตกนัย
นวิปากปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาต-
ปัจจัย นอาเสวนปัจจัย และนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ

นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ

นวกนัย
นวิปปยุตตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย
นวิปากปัจจัย และนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ

นอธิปติทุกนัย

[๓๖๑] นเหตุปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๒๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นกัมมปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ

ติกนัย

นปุเรชาตปัจจัย กับนอธิปติปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นฌานปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " " มี ๒ วาระ (ย่อ)

นปุเรชาตทุกนัย

[๓๖๒] นเหตุปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๒๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
ติกนัย

นอธิปติปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นมัคคปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " " มี ๒ วาระ (ย่อ)

นปัจฉาชาตะและนอาเสวนทุกนัย
[๓๖๓] นเหตุปัจจัย กับนปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ นอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ

นอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ

ติกนัย

นอธิปติปัจจัย กับนอาเสวนปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย " " มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๒๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นวิปากปัจจัย กับนอาเสวนปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นฌานปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " " มี ๒ วาระ (ย่อ)

นกัมมทุกนัย

[๓๖๔] นเหตุปัจจัย กับนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ

ติกนัย

นอธิปติปัจจัย กับนกัมมปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " " มี ๑ วาระ (ย่อ)

นวิปากทุกนัย

[๓๖๕] นเหตุปัจจัย กับนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๒๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นปุเรชาตปัจจัย กับนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ ฯลฯ

สัตตกนัย
นกัมมปัจจัย กับนวิปากปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย
นปัจฉาชาตปัจจัย และนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ

นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ (ย่อ)

นฌานทุกนัย

[๓๖๖] นเหตุปัจจัย กับนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ ฯลฯ

ฉักกนัย
นมัคคปัจจัย กับนฌานปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย
และนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ

นมัคคทุกนัย

[๓๖๕] นเหตุปัจจัย กับนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๒๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นปุเรชาตปัจจัย กับนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ (ย่อ)

นวิปปยุตตทุกนัย

[๓๖๘] นเหตุปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ

ติกนัย

นอธิปติปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นมัคคปัจจัย " " มี ๑ วาระ ฯลฯ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๒๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
นวกนัย
นมัคคปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย
นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย และนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๓๖๙] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ

ติกนัย

นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัยและอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " " มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " " มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๒๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
จตุกกนัย
นปุเรชาตปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย และอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ

นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ ฯลฯ

เอกาทสกนัย
นปัจฉาชาตปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย อธิปติปัจจัย อนันตรปัจจัย
สมนันตรปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
และปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ

นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ

ทวาทสกนัย (สาเสวนะ)
นปัจฉาชาตปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย และ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ

นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ ฯลฯ

เตวีสกนัย (สาเสวนะ)
นปัจฉาชาตปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย
อาเสวนปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๓๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
เตรสกนัย (สวิปากะ)
นปัจฉาชาตปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย และวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ

เตวีสกนัย (สวิปากะ)
นปัจฉาชาตปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย วิปากปัจจัย อาหารปัจจัย ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ

อารัมมณทุกนัย

[๓๗๐] นเหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ

ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับอารัมมณปัจจัยและเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๓๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
อธิปติทุกนัย

[๓๗๑] นปุเรชาตปัจจัย กับอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ

ติกนัยเป็นต้น
... กับอธิปติปัจจัย และเหตุปัจจัย (ย่อ)

อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๗๒] ... กับอนันตรปัจจัย สมนันตรปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญ-
ปัจจัย นิสสยปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (พึงขยายให้พิสดารเหมือนวาระที่มี
อารัมมณปัจจัยเป็นมูล)

ปุเรชาตทุกนัย

[๓๗๓] นเหตุปัจจัย กับปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๓๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
ติกนัย

นอธิปติปัจจัย กับปุเรชาตปัจจัยและเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " " มี ๓ วาระ (ย่อ)

อาเสวนทุกนัย

[๓๗๔] นเหตุปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ

ติกนัย

นอธิปติปัจจัย กับอาเสวนปัจจัยและเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " " มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " " มี ๓ วาระ (ย่อ)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๓๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
กัมมทุกนัย

[๓๗๕] นเหตุปัจจัย กับกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ

ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับกัมมปัจจัย และเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ)

วิปากทุกนัย

[๓๗๖] นเหตุปัจจัย กับวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ

ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับวิปากปัจจัย และเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๓๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
อาหารทุกนัย

[๓๗๗] นเหตุปัจจัย กับอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ

ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับอาหารปัจจัย และเหตุปัจจัยมี ๓ วาระ (ย่อ)

อินทรียทุกนัย

[๓๗๘] นเหตุปัจจัย กับอินทรียปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๓๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับอินทรียปัจจัย และเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ)

ฌานทุกนัย

[๓๗๙] นเหตุปัจจัย กับฌานปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ

ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับฌานปัจจัย และเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ)

มัคคทุกนัย

[๓๘๐] นเหตุปัจจัย กับมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๓๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับมัคคปัจจัย และเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ)

สัมปยุตตทุกนัย

[๓๘๑] นเหตุปัจจัย กับสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ

ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับสัมปยุตตปัจจัย และเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ)

วิปปยุตตทุกนัย

[๓๘๒] นเหตุปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๓๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
ติกนัย

นอธิปติปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัยและเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " " มี ๓ วาระ

จตุกกนัย
นอธิปติปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย เหตุปัจจัย และอารัมมณปัจจัย มี ๓
วาระ

นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ ฯลฯ

ทวาทสกนัย
นปัจฉาชาตปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย เหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ฯลฯ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ

นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ ฯลฯ

เตวีสกนัย (สาเสวนะ)
นปัจฉาชาตปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย เหตุปัจจัย ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย
อาเสวนปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๓๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
เตวีสกนัย (สวิปากะ)
นปัจฉาชาตปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย เหตุปัจจัย ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย วิปากปัจจัย อาหารปัจจัย ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ

ทุกนัยมีอัตถิปัจจัยเป็นต้นเป็นอาทิ
[๓๘๓] ... กับอัตถิปัจจัย นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย และอวิคตปัจจัย ... (พึง
ขยายให้พิสดารเหมือนวาระที่มีอารัมมณปัจจัยเป็นมูล)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๓๘๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๒ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๒ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๒ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๓๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

อินทรียปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๒ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๒ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๒ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๒ วาระ

ติกนัย

อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย " " มี ๒ วาระ (ทุกปัจจัย

มีปัจจัยละ ๒ วาระ)

จตุกกนัย

อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย และนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๔๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ ฯลฯ

สัตตกนัย
อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉา-
ชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย และนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ

อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๔๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
ทสกนัย
อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉา-
ชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย นวิปากปัจจัย นมัคคปัจจัย และ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ

อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ

(นวิปากปัจจัย นมัคคปัจจัย และนวิปปยุตตปัจจัย เหมือนกับนกัมมปัจจัย)

นอธิปติทุกนัย

[๓๘๕] เหตุปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๔๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
ติกนัย

อารัมมณปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย และนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ

(พึงทำวาระที่มีนอธิปติปัจจัยเป็นมูล ให้เหมือนกับวาระที่มีนเหตุปัจจัยเป็นมูล
โดยยึดนเหตุปัจจัยเป็นหลัก)

นปุเรชาตทุกนัย

[๓๘๖] เหตุปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๓ วาระ ฯลฯ
อาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ

(พึงขยายให้พิสดารทุกบท ในบทที่ไม่ได้เขียนไว้ มี ๓ วาระเหล่านี้ ในวาระ
ที่มีนปุเรชาตปัจจัยเป็นมูล ผู้รู้พึงยึดนเหตุปัจจัยเป็นหลักแล้วเพิ่ม ๑ วาระ ใน
อาเสวนปัจจัยและมัคคปัจจัย ส่วนที่เหลือเหมือนกับนเหตุปัจจัย พึงทำนปัจฉาชาต-
ปัจจัยให้บริบูรณ์เหมือนกับนอธิปติปัจจัย)

นกัมมทุกนัย

[๓๘๗] เหตุปัจจัย กับนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๔๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

อุปนิสสยปัจจัย กับนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ

ติกนัย

อารัมมณปัจจัย กับนกัมมปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย " " มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย " " มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " " มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " " มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย " " มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๔๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

สัมปยุตตปัจจัย กับนกัมมปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย " " มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย " " มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย " " มี ๑ วาระ ฯลฯ

ปัญจกนัย

อารัมมณปัจจัย กับนกัมมปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย และ

นปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ

อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ

(พึงขยายบทที่เหลือให้พิสดารโดยอุบายนี้ ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๔๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
นวิปากทุกนัย

[๓๘๘] เหตุปัจจัย กับนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ พึงเพิ่มให้บริบูรณ์)
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ

ปัญจกนัย

อารัมมณปัจจัย กับนวิปากปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย และนปุเร-

ชาตปัจจัย มี ๒ วาระ

อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ

(วาระที่มีนวิปากปัจจัยเป็นมูล มีข้อแตกต่างกันเท่านี้ ส่วนที่เหลือเหมือนกับ
นัยที่มีนเหตุปัจจัยเป็นมูล)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๔๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
นฌานทุกนัย

[๓๘๙] อารัมมณปัจจัย กับนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ ฯลฯ

สัตตกนัย
อารัมมณปัจจัย กับนฌานปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปัจฉา-
ชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย และนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ

อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๔๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ

นมัคคทุกนัย

[๓๙๐] อารัมมณปัจจัย กับนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๔๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

อาหารปัจจัย กับนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ ฯลฯ

ปัญจกนัย
อารัมมณปัจจัย กับนมัคคปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย และนปุเร-
ชาตปัจจัย มี ๑ วาระ

อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๔๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ

ฉักกนัยเป็นต้น
... กับนมัคคปัจจัยและนเหตุปัจจัย (ย่อ)

นวิปปยุตตทุกนัย

[๓๙๑] เหตุปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๕๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

สัมปยุตตปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ

ติกนัย

อารัมมณปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย " " มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย " " มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย " " มี ๒ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย " " มี ๒ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " " มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย " " มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย " " มี ๒ วาระ
อาหารปัจจัย " " มี ๒ วาระ
อินทรียปัจจัย " " มี ๒ วาระ
ฌานปัจจัย " " มี ๒ วาระ
มัคคปัจจัย " " มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " " มี ๒ วาระ
อัตถิปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นัตถิปัจจัย " " มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย " " มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย " " มี ๒ วาระ ฯลฯ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๕๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
นวกนัย
อารัมมณปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเร-
ชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย (แม้วาระที่มีนอาเสวนปัจจัยเป็นมูล ก็เหมือนกับวาระ
ที่มีนเหตุปัจจัยเป็นมูล) นกัมมปัจจัย นวิปากปัจจัย และนมัคคปัจจัย (มูลทั้ง ๓
นี้เป็นเหมือนกับมูลเดียวกัน) มี ๑ วาระ

อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
สังสัฏฐวาร จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๕๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๖. สัมปยุตตวาร
๑. กุสลติกะ ๖. สัมปยุตตวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๙๒] สภาวธรรมที่เป็นกุศลสัมปยุตกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ สัมปยุตกับขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑
สัมปยุตกับขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ สัมปยุตกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
[๓๙๓] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลสัมปยุตกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ สัมปยุตกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ สัมปยุต
กับขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ สัมปยุตกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
[๓๙๔] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตสัมปยุตกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ สัมปยุตกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก
และที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ สัมปยุตกับขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
สัมปยุตกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ สัมปยุตกับขันธ์ ๑ ที่เป็น
อัพยากตวิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ สัมปยุตกับขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ สัมปยุตกับ
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (ย่อ) (๑)

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๙๕] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๕๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๖. สัมปยุตตวาร

นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๓๙๖] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลสัมปยุตกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
สัมปยุตกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น
[๓๙๗] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตสัมปยุตกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ สัมปยุตกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ ซึ่ง
เป็นอัพยากตวิบากและอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ สัมปยุตกับขันธ์ ๓
เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ สัมปยุตกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ขันธ์ ๓ สัมปยุตกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ สัมปยุตกับ
ขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ สัมปยุตกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๕๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๖. สัมปยุตตวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๙๘] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ)

ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๓๙๙] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ (ย่อ)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๕๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๖. สัมปยุตตวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๔๐๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๒ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๒ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๒ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๒ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๒ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๒ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๒ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๒ วาระ (ย่อ)

ปัจจนียานุโลม จบ
สัมปยุตตวาร จบ
(สังสัฏฐวาร ได้แก่ สัมปยุตตวาร สัมปยุตตวาร ได้แก่ สังสัฏฐวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๕๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๐๑] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐาน-
รูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๔๐๒] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐาน-
รูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๔๐๓] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็น
อัพยากตวิบากเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๑)

อารัมมณปัจจัย
[๔๐๔] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๕๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน พระเสขะ
พิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พระเสขะหรือ
ปุถุชนเห็นแจ้งกุศลโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา บุคคลรู้จิตของบุคคล
ผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นกุศลด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนกุศล
เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกุศลโดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนกุศลเป็น
ปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เป็นกุศลเป็น
ปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
และอนาคตังสญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
[๔๐๕] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วยินดี
เพลิดเพลินกุศลนั้น เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคล
ยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น
ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึง
เกิดขึ้น บุคคลออกจากฌานแล้วยินดีเพลิดเพลินฌาน เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินฌานนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะ
จึงเกิดขึ้น สำหรับท่านผู้มีวิปฏิสาร เมื่อฌานเสื่อมแล้ว โทมนัสจึงเกิดขึ้น (๒)
[๔๐๖] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอรหันต์ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณา
กุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว เห็นแจ้งกุศลโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นกุศลด้วยเจโตปริยญาณ พระเสขะ
หรือปุถุชน เห็นแจ้งกุศลโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เมื่อกุศล
ดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ บุคคลยินดีเพลิดเพลิน
กุศล เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่ออกุศลดับแล้ว จิตตุป-
บาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ อากาสานัญจายตนกุศลเป็นปัจจัยแก่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๕๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิญญาณัญจายตนวิบากและกิริยาโดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนกุศลเป็น
ปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนวิบากและกิริยาโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เป็น
กุศลเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๓)
[๔๐๗] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะ เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินราคะนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะ
จึงเกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิ เพราะปรารภความ
ยินดีเพลิดเพลินทิฏฐินั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น
อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภวิจิกิจฉา วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภอุทธัจจะ
อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น เพราะ
ปรารภโทมนัส โทมนัสจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึง
เกิดขึ้น (๑)
[๔๐๘] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ พระเสขะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้
กิเลสที่เคยเกิดขึ้น พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้งอกุศลโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็น
ทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นอกุศลด้วยเจโต-
ปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ และอนาคตังสญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
[๔๐๙] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอรหันต์พิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น
เห็นแจ้งอกุศลโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มี
ความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นอกุศลด้วยเจโตปริยญาณ พระเสขะหรือปุถุชนเห็น
แจ้งอกุศลโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เมื่ออกุศลดับแล้ว จิตตุป-
บาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ บุคคลยินดีเพลิดเพลินอกุศล เพราะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๕๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินอกุศลนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึง
เกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่ออกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็น
วิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ ขันธ์ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย (๓)
[๔๑๐] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอรหันต์พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพาน
เป็นปัจจัยแก่ผลและอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอรหันต์เห็นแจ้งจักษุโดย
เป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ ฆานะ ฯลฯ ชิวหา
ฯลฯ กาย ฯลฯ รูป ฯลฯ เสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ รส ฯลฯ โผฏฐัพพะ
ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นอัพยากตวิบากและที่
เป็นอัพยากตกิริยาด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนกิริยาเป็นปัจจัยแก่
วิญญาณัญจายตนกิริยาโดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนกิริยาเป็นปัจจัยแก่
เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาโดยอารัมมณปัจจัย รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุ-
วิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย สัททายตนะเป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ คันธายตนะ
เป็นปัจจัยแก่ฆานวิญญาณ รสายตนะเป็นปัจจัยแก่ชิวหาวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่
อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และ
อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
[๔๑๑] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระเสขะพิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็น
ปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน และมรรค โดยอารัมมณปัจจัย พระเสขะหรือปุถุชน
เห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ
ฆานะ ฯลฯ ชิวหา ฯลฯ กาย ฯลฯ รูป ฯลฯ เสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ รส ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๖๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากต-
กิริยาโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นอัพยากต-
วิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัย
แก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ และอนาคตังสญาณ
โดยอารัมมณปัจจัย (๒)
[๔๑๒] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะ
จึงเกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลิน โสตะ ฯลฯ ฆานะ ฯลฯ
ชิวหา ฯลฯ กาย ฯลฯ รูป ฯลฯ เสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ รส ฯลฯ โผฏฐัพพะ
ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยา เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น (๓)

อธิปติปัจจัย
[๔๑๓] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอธิปติ-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น พระเสขะพิจารณาโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาโวทาน
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
อธิปติปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๖๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๔๑๔] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอธิปติ-
ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถ ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำ
ความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึง
เกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคลออกจากฌานแล้วยินดีเพลิดเพลินฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินฌานนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยอธิปติปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นกุศล
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๔)
[๔๑๕] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินทิฏฐินั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๖๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
อธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอกุศล
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๔๑๖] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผลโดยอธิปติ-
ปัจจัย
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากต-
กิริยาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระเสขะพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่
โคตรภู โวทาน และมรรคโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ยินดี เพลิดเพลินโสตะ ... ฆานะ ...
ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ
... ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๖๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อนันตรปัจจัย
[๔๑๗] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน
โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ กุศลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลมของพระเสขะเป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอกุศลซึ่งเกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ อกุศลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาซึ่งเกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต กิริยาเป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะ อนุโลมของพระอรหันต์เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญา-
ยตนกิริยาของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นกุศลโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอกุศลโดยอนันตรปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๖๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สมนันตรปัจจัย
[๔๑๘] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยสมนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยสมนันตรปัจจัยอนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน
โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยสมนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยสมนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ กุศลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลมของพระ
เสขะเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลของท่านผู้ออกจาก
นิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยสมนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยสมนันตรปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอกุศลซึ่งเกิดหลัง ๆ
โดยสมนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยสมนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ อกุศลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยสมนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดย
สมนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาซึ่งเกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยสมนันตรปัจจัย ภวังคจิตเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต กิริยาเป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะ อนุโลมของพระอรหันต์เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตน-
กิริยาของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยสมนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยสมนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นกุศลโดยสมนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยสมนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอกุศลโดยสมนันตรปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๖๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตปัจจัย
[๔๑๙] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยสหชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๓
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย
สหชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยสหชาตปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
สหชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยสหชาตปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๓
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย
สหชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยสหชาตปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐาน-
รูปโดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
สหชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยสหชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๖๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปโดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑
และกฏัตตารูปโดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป
โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยสหชาตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยสหชาต-
ปัจจัย มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๒
เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นภายนอก
เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป
๑ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดยสหชาตปัจจัย
มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่อุปาทายรูปโดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัย
แก่มหาภูตรูป ๑ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดย
สหชาตปัจจัย มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่อุปาทายรูปโดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๑
ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัย แก่มหาภูตรูป ๓ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๓
เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูต-
รูป ๒ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่อุปาทายรูปโดยสหชาตปัจจัย
สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดย
สหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ โดยสหชาตปัจจัย
มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูปเป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยสหชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อัพยากฤตโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อัพยากฤตโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย (๑)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๖๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อัญญมัญญปัจจัย
[๔๒๐] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอัญญ-
มัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย
ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยอัญญมัญญปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
โดยอัญญมัญญปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอัญญมัญญปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ขันธ์ ๓
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยอัญญมัญญปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย
อัญญมัญญปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอัญญ-
มัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยอัญญมัญญปัจจัย
ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่
เป็นอัพยากตวิบากเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ขันธ์ ๓
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๒ และหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยอัญญมัญญ-
ปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยอัญญมัญญปัจจัย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัย
แก่มหาภูตรูป ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑
โดยอัญญมัญญปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดยอัญญมัญญ-
ปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน
... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดย
อัญญมัญญปัจจัย มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ โดยอัญญมัญญปัจจัย
ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดยอัญญมัญญปัจจัย (๑)

นิสสยปัจจัย
[๔๒๑] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยนิสสย-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๖๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย
นิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสย-
ปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๓
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย
นิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสย-
ปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยนิสสย-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐาน-
รูปโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๖๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
กฏัตตารูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปโดยนิสสย-
ปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยนิสสยปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
โดยนิสสยปัจจัย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยนิสสยปัจจัย
มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ โดยนิสสยปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็น
ปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดยนิสสยปัจจัย มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยนิสสยปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหาร
เป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหา-
ภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยนิสสยปัจจัย มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัย
แก่มหาภูตรูป ๑ โดยนิสสยปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒
โดยนิสสยปัจจัย มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทายรูปโดยนิสสย-
ปัจจัย จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยนิสสยปัจจัย โสตายตนะ ฯลฯ
ฆานายตนะ ฯลฯ ชิวหายตนะ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดย
นิสสยปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากต-
กิริยาโดยนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นกุศลโดยนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอกุศลโดยนิสสยปัจจัย (๓)
[๔๒๒] สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นกุศลโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์
๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อัพยากฤตโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๗๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศล
โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยนิสสยปัจจัย
ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อัพยากฤตโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (๒)

อุปนิสสยปัจจัย
[๔๒๓] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ
อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น พระเสขะพิจารณาโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาโวทาน
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น
อนันตรูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นกุศลซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอุปนิสสยปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม
เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดย
อุปนิสสยปัจจัย
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษา
อุโบสถ ทำฌานให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำอภิญญา
ให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีล ฯลฯ สุตะ ฯลฯ จาคะ ฯลฯ
ปัญญาแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้
เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธา ...
ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ
... ปัญญาโดยอุปนิสสยปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๗๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
บริกรรมปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ปฐมฌานโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมทุติย-
ฌานเป็นปัจจัยแก่ทุติยฌานโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมตติยฌานเป็นปัจจัยแก่
ตติยฌานโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมจตุตถฌานเป็นปัจจัยแก่จตุตถฌานโดย
อุปนิสสยปัจจัย บริกรรมอากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่อากาสานัญจายตนะ
โดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมวิญญานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญานัญจายตนะ
โดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมอากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่อากิญจัญญายตนะ
โดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญา-
นาสัญญายตนะโดยเป็นอุปนิสสยปัจจัย ปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ทุติยฌานโดย
อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ จตุตถฌานเป็นปัจจัยแก่อากาสานัญจายตนะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญานัญจายตนะ ... วิญญานัญจายตนะ
เป็นปัจจัยแก่อากิญจัญญายตนะ ... อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญา-
นาสัญญายตนะโดยอุปนิสสยปัจจัย
บริกรรมทิพพจักขุเป็นปัจจัยแก่ทิพพจักขุโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมทิพพ-
โสตธาตุเป็นปัจจัยแก่ทิพพโสตธาตุโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมอิทธิวิธญาณเป็น
ปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมเจโตปริยญาณเป็นปัจจัยแก่
เจโตปริยญาณโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมปุพเพนิวาสานุสสติญาณเป็นปัจจัยแก่
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมยถากัมมูปคญาณเป็นปัจจัย
แก่ยถากัมมูปคญาณโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมอนาคตังสญาณเป็นปัจจัยแก่
อนาคตังสญาณโดยอุปนิสสยปัจจัย
ทิพพจักขุเป็นปัจจัยแก่ทิพพโสตธาตุโดยอุปนิสสยปัจจัย ทิพพโสตธาตุเป็น
ปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณโดยอุปนิสสยปัจจัย อิทธิวิธญาณเป็นปัจจัยแก่เจโตปริย-
ญาณโดยอุปนิสสยปัจจัย เจโตปริยญาณเป็นปัจจัยแก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณโดย
อุปนิสสยปัจจัย ปุพเพนิวาสานุสสติญาณเป็นปัจจัยแก่ยถากัมมูปคญาณโดย
อุปนิสสยปัจจัย ยถากัมมูปคญาณเป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณโดยอุปนิสสยปัจจัย
บริกรรมปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมทุติยมรรค
เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค
โดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมจตุตถมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๗๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย ทุติยมรรคเป็นปัจจัยแก่ตติย-
มรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย
พระเสขะอาศัยมรรคทำสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว เห็น
แจ้งสังขารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา มรรคของพระเสขะเป็น
ปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ธัมมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา ปฏิภาณปฏิสัมภิทา
และความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและมิใช่ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ
อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิด
เพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น เพราะ
ยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำ
ความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึง
เกิดขึ้น บุคคลออกจากฌานแล้วยินดีเพลิดเพลินฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
แล้ว เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินฌานนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วมีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ
สุตะ ฯลฯ จาคะ ฯลฯ ปัญญาแล้วมีมานะ ถือทิฏฐิ ศรัทธา ... ศีล ... สุตะ ...
จาคะ ... ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ...
ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ
อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
อนันตรูปนิสสยะ ได้แก่ กุศลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล
อนุโลมของพระเสขะเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลของ
ท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๗๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วทำตนให้เดือดร้อน ให้ร้อนรน
เสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูล อาศัยศีล ฯลฯ สุตะ ฯลฯ จาคะ ฯลฯ ปัญญา
แล้วทำตนให้เดือดร้อน ให้ร้อนรน เสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูล ศรัทธา ... ศีล
... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาเป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ทุกข์ทางกายและผลสมาบัติ
โดยอุปนิสสยปัจจัย กรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่วิบากโดยอุปนิสสยปัจจัย พระ
อรหันต์อาศัยมรรคแล้วทำกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้ากิริยาสมาบัติที่เกิด
ขึ้นแล้วเห็นแจ้งสังขารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา มรรคของ
พระอรหันต์เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ธัมมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา
ปฏิภาณปฏิสัมภิทา และความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและมิใช่ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย
มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ
อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินทิฏฐินั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขี้น
อนันตรูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นอกุศลซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอุปนิสสยปัจจัย
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะแล้วฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ พูดเท็จ พูด
ส่อเสียด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ งัดแงะ ปล้นไม่ให้เหลือ ปล้นเรือนหลังเดียว
ดักจี้ที่ทางเปลี่ยว ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ฆ่าชาวบ้าน ฆ่าชาวนิคม ฆ่ามารดา ฆ่าบิดา
ฆ่าพระอรหันต์ มีจิตประทุษร้ายทำพระโลหิตของพระตถาคตให้ห้อ ทำลายสงฆ์ให้
แตกกัน อาศัยโทสะ ฯลฯ โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา
แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน ราคะ ฯลฯ โทสะ ฯลฯ โมหะ ฯลฯ
มานะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ โทสะ ฯลฯ
โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๗๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปาณาติบาตเป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาตโดยอุปนิสสยปัจจัย ปาณาติบาตเป็น
ปัจจัยแก่อทินนาทาน ฯลฯ กาเมสุมิจฉาจาร ฯลฯ มุสาวาท ฯลฯ ปิสุณาวาจา
ฯลฯ ผรุสวาจา ฯลฯ สัมผัปปลาปะ ฯลฯ อภิชฌา ฯลฯ พยาบาท ฯลฯ
มิจฉาทิฏฐิโดยอุปนิสสยปัจจัย อทินนาทานเป็นปัจจัยแก่อทินนาทาน ... กาเมสุ-
มิจฉาจาร ... มุสาวาท ... (ย่อ) มิจฉาทิฏฐิ ... ปาณาติบาตโดยอุปนิสสยปัจจัย
(พึงผูกให้เป็นจักกนัย)
กาเมสุมิจฉาจาร ฯลฯ มุสาวาท ฯลฯ ปิสุณาวาจา ฯลฯ ผรุสวาจา ฯลฯ
สัมผัปปลาปะ ฯลฯ อภิชฌา ฯลฯ พยาบาท ฯลฯ มิจฉาทิฏฐิเป็นปัจจัย
แก่มิจฉาทิฏฐิโดยอุปนิสสยปัจจัย มิจฉาทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่ปาณาติปาต ฯลฯ
อทินนาทาน ฯลฯ กาเมสุมิจฉาจาร ฯลฯ มุสาวาท ฯลฯ ปิสุณาวาจา ฯลฯ
ผรุสวาจา ฯลฯ สัมผัปปลาปะ ฯลฯ อภิชฌา ฯลฯ พยาบาทโดยอุปนิสสยปัจจัย
มาตุฆาตกรรมเป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย มาตุฆาตกรรม
เป็นปัจจัยแก่ปิตุฆาตกรรม ... อรหันตฆาตกรรม ... โลหิตุปปาทกรรม ...
สังฆเภทกรรม ... นิยตมิจฉาทิฏฐิโดยอุปนิสสยปัจจัย ปิตุฆาตกรรมเป็นปัจจัยแก่
ปิตุฆาตกรรม ... อรหันตฆาตกรรม ... โลหิตุปปาทกรรม ... สังฆเภทกรรม ...
นิยตมิจฉาทิฏฐิ ... มาตุฆาตกรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย
อรหันตฆาตกรรมเป็นปัจจัยแก่อรหันตฆาตกรรม ... โลหิตุปปาทกรรม ฯลฯ
โลหิตุปปาทกรรมเป็นปัจจัยแก่โลหิตุปปาทกรรม ฯลฯ สังฆเภทกรรมเป็นปัจจัย
แก่สังฆเภทกรรม ฯลฯ นิยตมิจฉาทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่นิยตมิจฉาทิฏฐิโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย นิยตมิจฉาทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย ... เป็น
ปัจจัยแก่ปิตุฆาตกรรม ฯลฯ อรหันตฆาตกรรม ฯลฯ โลหิตุปปาทกรรม ฯลฯ
สังฆเภทกรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงทำให้เป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะแล้วจึงให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น
ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยโทสะ ... โมหะ ... มานะ ...


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๗๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ทิฏฐิ ... ความปรารถนาจึงให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานให้เกิดขึ้น
ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิด
ขึ้น ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาเป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธา ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาโดยอุปนิสสยปัจจัย
บุคคลฆ่าสัตว์แล้วประสงค์จะลบล้างปาณาติบาตกรรมนั้น จึงให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถ ทำฌานให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำ
อภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิด ขึ้น บุคคลลักทรัพย์ พูดเท็จ ... พูดส่อเสียด
... พูดคำหยาบ ... พูดเพ้อเจ้อ ... งัดแงะ ... ปล้นไม่ให้เหลือ ... ปล้นเรือนหลังเดียว
... ดักจี้ที่ทางเปลี่ยว ... ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ... ฆ่าชาวบ้าน ... ฆ่าชาวนิคม
ประสงค์จะลบล้างกรรมชั่วนั้น จึงให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานให้
เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น ฆ่ามารดา ประสงค์จะลบล้างมาตุฆาตกรรมนั้น จึงให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถ ฆ่าบิดา ... ฆ่าพระอรหันต์ ... มีจิตประทุษร้ายทำพระโลหิตของ
พระตถาคตให้ห้อ ... ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน ประสงค์จะลบล้างสังฆเภทกรรมนั้น
จึงให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ ได้แก่ อกุศลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะแล้วทำตนให้เดือดร้อนให้ร้อนรนเสวย
ทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูล อาศัยโทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความ
ปรารถนา ทำตนให้เดือดร้อนให้ร้อนรน เสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูล ราคะ ...
โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย
ทุกข์ทางกายและผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย กรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่
วิบากโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๗๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่น พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผลโดย
อุปนิสสยปัจจัย
อนันตรูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาซึ่ง
เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอุปนิสสยปัจจัย ภวังคจิตเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต กิริยาเป็นปัจจัย
แก่วุฏฐานะ อนุโลมของพระอรหันต์เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญา-
ยตนกิริยาของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ สุขทางกายเป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย
และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย ทุกข์ทางกายเป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ทุกข์
ทางกายและผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย อุตุเป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ทุกข์ทาง
กายและผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย โภชนะเป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ทุกข์ทาง
กายและผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ทุกข์
ทางกายและผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ...
โภชนะ ... เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ทุกข์ทางกายและผลสมาบัติโดย
อุปนิสสยปัจจัย ผลสมาบัติเป็นปัจจัยแก่สุขทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย
พระอรหันต์อาศัยสุขทางกายแล้วทำกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้า
กิริยาสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว เห็นแจ้งสังขารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา อาศัยทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะแล้ว ทำกิริยาสมาบัติ
ที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้ากิริยาสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว เห็นแจ้งสังขารโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ
อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่ พระเสขะพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภูโวทาน
และมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๗๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อนันตรูปนิสสยะ ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นกุศลโดย
อุปนิสสยปัจจัย
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกายแล้วให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถ ทำฌานให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำ
อภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ...
เสนาสนะแล้ว จึงให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานให้เกิดขึ้น ทำ
วิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น
สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ
อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ...
กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่เป็น
อัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำ
ความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
อนันตรูปนิสสยะ ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอกุศลโดย
อุปนิสสยปัจจัย
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกายแล้วฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ พูดเท็จ
พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ งัดแงะ ปล้นไม่ให้เหลือ ปล้นเรือนหลังเดียว
ดักจี้ที่ทางเปลี่ยว ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ฆ่าชาวบ้าน ฆ่าชาวนิคม ฆ่ามารดา ฆ่าบิดา
ฆ่าพระอรหันต์ มีจิตประทุษร้ายทำพระโลหิตของพระตถาคตให้ห้อ ทำลายสงฆ์ให้
แตกกัน


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๗๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อาศัยทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะแล้วฆ่าสัตว์ (ย่อ)
ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน
สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ราคะ
... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

ปุเรชาตปัจจัย
[๔๒๔] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระอรหันต์เห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง
... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย สัททายตนะเป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ ...
คันธายตนะเป็นปัจจัยแก่ฆานวิญญาณ ... รสายตนะเป็นปัจจัยแก่ชิวหาวิญญาณ ...
โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
โสตายตนะ เป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ ... ฆานายตนะเป็นปัจจัยแก่ฆานวิญญาณ ...
ชิวหายตนะเป็นปัจจัยแก่ชิวหาวิญญาณ ... กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
โดยปุเรชาตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็น
อัพยากตกิริยาโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสขะหรือปุถุชน เห็นแจ้งจักษุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย
... รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นกุศลโดยปุเรชาตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๗๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยปุเรชาต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ เพราะปรารภความ
ยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น
อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิดเพลินโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ...
กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึง
เกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอกุศลโดยปุเรชาต-
ปัจจัย (๓)

ปัจฉาชาตปัจจัย
[๔๒๕] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยปัจฉา-
ชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาซึ่งเกิด
ภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

อาเสวนปัจจัย
[๔๒๖] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอาเสวน-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน
โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๘๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอาเสวนปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอกุศลซึ่งเกิดหลัง ๆ
โดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดย
อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัพยากตกิริยาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นอัพยากตกิริยาซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑)

กัมมปัจจัย
[๔๒๗] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยกัมมปัจจัย
ได้แก่ เจตนาที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก และ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยกัมม
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมม-
ปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๘๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยา-
กฤตโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยกัมม-
ปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็น
อัพยากตวิบากเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย เจตนาเป็น
ปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยกัมมปัจจัย (๑)

วิปากปัจจัย
[๔๒๘] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
โดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐาน-
รูปโดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
วิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และกฏัตตารูปโดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และกฏัตตารูปโดย
วิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปโดยวิปากปัจจัย ขันธ์
เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปากปัจจัย (๑)

อาหารปัจจัย
[๔๒๙] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอาหาร-
ปัจจัย ได้แก่ อาหารที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอาหารปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอาหารปัจจัย
ได้แก่ อาหารที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๘๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอาหารปัจจัย
ได้แก่ อาหารที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอาหารปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอาหารปัจจัย
ได้แก่ อาหารที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดย
อาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
อาหารที่เป็นอัพยากตวิบากเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยอาหารปัจจัย
กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอาหารปัจจัย (๑)

อินทรียปัจจัย
[๔๓๐] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอินทรีย-
ปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอินทรียปัจจัย
ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอินทรียปัจจัย
ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอินทรียปัจจัย
ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๘๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดย
อินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
อินทรีย์ที่เป็นอัพยากตวิบากเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย
จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย โสตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
โสตวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย ฆานินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ฆานวิญญาณโดยอินทรีย-
ปัจจัย ชิวหินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ชิวหาวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย กายินทรีย์เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดย
อินทรียปัจจัย (๑)

ฌานปัจจัย
[๔๓๑] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยฌานปัจจัย
ได้แก่ องค์ฌานที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยฌานปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยฌานปัจจัย
ได้แก่ องค์ฌานที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยฌานปัจจัย ได้แก่
องค์ฌานที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยฌานปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยฌานปัจจัย
ได้แก่ องค์ฌานที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๘๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยฌาน-
ปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ องค์ฌานที่เป็น
อัพยากตวิบากเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยฌานปัจจัย (๑)

มัคคปัจจัย
[๔๓๒] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยมัคคปัจจัย
ได้แก่ องค์มรรคที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยมัคคปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยมัคคปัจจัย
ได้แก่ องค์มรรคที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยมัคคปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยมัคคปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยมัคคปัจจัย ได้แก่
องค์มรรคที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยมัคคปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยมัคคปัจจัย
ได้แก่ องค์มรรคที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยมัคคปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยมัคคปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยมัคค-
ปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยมัคคปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ องค์มรรคที่เป็น
อัพยากตวิบากเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยมัคคปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๘๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สัมปยุตตปัจจัย
[๔๓๓] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยสัมปยุตต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ขันธ์
๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยสัมปยุตตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
โดยสัมปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยสัมปยุตตปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ขันธ์ ๓
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยสัมปยุตตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย
สัมปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดย
สัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยา
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดย
สัมปยุตตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสัมปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ขันธ์ ๓
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยสัมปยุตตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย
สัมปยุตตปัจจัย (๑)

วิปปยุตตปัจจัย
[๔๓๔] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
วิปปยุตตปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๘๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบาก
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดย
วิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย
โสตายตนะเป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย ฆานายตนะเป็นปัจจัย
แก่ฆานวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย ชิวหายตนะเป็นปัจจัยแก่ชิวหาวิญญาณ
โดยวิปปยุตตปัจจัย กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย
หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาโดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มี อย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
กุศลโดยวิปปยุตตปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอกุศล
โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๘๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อัตถิปัจจัย
[๔๓๕] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอัตถิปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๑ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิ-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน-
รูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๑ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิ-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน-
รูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๘๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอัตถิ-
ปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยา
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก
เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑
และกฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปโดย
อัตถิปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยอัตถิปัจจัย
มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็น
ปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑
เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่มหาภูต-
รูป ๑ โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดยอัตถิปัจจัย
มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
ปุเรชาตะ ได้แก่ พระอรหันต์เห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา เห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ ฆานะ ฯลฯ ชิวหา ฯลฯ กาย ฯลฯ รูป ฯลฯ
เสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ รส ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย สัททายตนะ
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย จักขายตนะเป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย โสตายตนะเป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ ฯลฯ
ฆานายตนะเป็นปัจจัยแก่ฆานวิญญาณ ฯลฯ ชิวหายตนะเป็นปัจจัยแก่ชิวหา-
วิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาโดยอัตถิปัจจัย


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๘๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยา
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้
โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้งจักษุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ ฆานะ ฯลฯ ชิวหา
ฯลฯ กาย ฯลฯ รูป ฯลฯ เสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ รส ฯลฯ โผฏฐัพพะ
ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นกุศลโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น
อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิดเพลินโสตะ ฯลฯ ฆานะ ฯลฯ ชิวหา
ฯลฯ กาย ฯลฯ รูป ฯลฯ เสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ รส ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ
หทัยวัตถุ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอกุศลโดยอัตถิปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศล
โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
อัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อัพยากฤตโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยอัตถิปัจจัย


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๙๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้
โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป
โดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อกุศลโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์
๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อัพยากฤตโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้
โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป
โดยอัตถิปัจจัย (๒)

นัตถิปัจจัย
[๔๓๖] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยนัตถิปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเกิดหลัง ๆ
โดยนัตถิปัจจัย (ย่อ)
(พึงขยายให้พิสดารเหมือนอนันตรปัจจัย)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๙๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิคตปัจจัย
[๔๓๗] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยวิคตปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
วิคตปัจจัย (ย่อ)
(พึงขยายให้พิสดารเหมือนอนันตรปัจจัย)

อวิคตปัจจัย
[๔๓๘] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอวิคตปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอวิคตปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยอวิคตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอวิคตปัจจัย
(ย่อ)
(พึงขยายให้พิสดารเหมือนอัตถิปัจจัย)
วิภังค์แห่งปัญหาวาร จบ

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๓๙] เหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๙๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ

เหตุสภาคนัย

[๔๔๐] อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๙๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

สัมปยุตตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ (๑๑)

เหตุสามัญญฆฏนา (๙)
[๔๔๑] ปัจจัย ๕ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓
วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

สอินทรียมัคคฆฏนา (๙)
[๔๔๒] ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๔ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๙๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และ อวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๒ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

สาธิปติอินทรียมัคคฆฏนา (๖)
[๔๔๓] ปัจจัย ๘ คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๔ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ (อวิปากะ ๓ )
ปัจจัย ๙ คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๙๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๑๑ คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)
เหตุมูลกนัย จบ

อารัมมณสภาคนัย

[๔๔๔] อธิปติปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๗)

อารัมมณฆฏนา (๕)
[๔๔๕] ปัจจัย ๓ คือ อารัมมณะ อธิปติ และอุปนิสสยะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อารัมมณะ ปุเรชาตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อารัมมณะ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อารัมมณะ อธิปติ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อารัมมณะ อธิปติ นิสสยะ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (๕)
อารัมมณมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๙๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อธิปติสภาคนัย

[๔๔๖] เหตุปัจจัย กับอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๘ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๔ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๘ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๘ วาระ (๑๕)

มิสสกฆฏนา (๓)
[๔๔๗] ปัจจัย ๓ คือ อธิปติ อัตถิ และอวิคตะ มี ๘ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อธิปติ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๘ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อธิปติ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๔ วาระ

ปกิณณกฆฏนา (๓)
[๔๔๘] ปัจจัย ๓ คือ อธิปติ อารัมมณะ และอุปนิสสยะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อธิปติ อารัมมณะ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อธิปติ อารัมมณะ นิสสยะ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๙๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตฉันทาธิปติฆฏนา (๖)
[๔๔๙] ปัจจัย ๕ คือ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗
วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๓ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๖ คือ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑
วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)

จิตตาธิปติฆฏนา (๖)
[๔๕๐] ปัจจัย ๗ คือ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อาหาระ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อาหาระ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๘ คือ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๙๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๙ คือ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ อินทรียะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)

วีริยาธิปติฆฏนา (๖)
[๔๕๑] ปัจจัย ๗ คือ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๘ คือ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)

วีมังสาธิปติฆฏนา (๖)
[๔๕๒] ปัจจัย ๘ คือ อธิปติ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๔ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อธิปติ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อธิปติ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๙ คือ อธิปติ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๒๙๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๑๑ คือ อธิปติ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อธิปติ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)
อธิปติมูลกนัย จบ

อนันตรสภาคนัย

[๔๕๓] สมนันตรปัจจัย กับอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ (๖)

อนันตรฆฏนา (๓)
[๔๕๔] ปัจจัย ๕ คือ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ อาเสวนะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ กัมมะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๑ วาระ (๓)
อนันตรมูลกนัย จบ

สมนันตรสภาคนัย

[๔๕๕] อนันตรปัจจัย กับสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

อาเสวนปัจจัย กับสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ

สมนันตรฆฏนา (๓)
[๔๕๖] ปัจจัย ๕ คือ สมนันตระ อนันตระ อุปนิสสยะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ สมนันตระ อนันตระ อุปนิสสยะ อาเสวนะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ สมนันตระ อนันตระ อุปนิสสยะ กัมมะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๑ วาระ (๓)
สมนันตรมูลกนัย จบ

สหชาตสภาคนัย

[๔๕๗] เหตุปัจจัย กับสหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปปยุตตปัจจัย กับสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๙ วาระ (๑๔)

สหชาตฆฏนา (๑๐)
[๔๕๘] ปัจจัย ๔ คือ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๙ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ (อวิปากะ ๕)
ปัจจัย ๕ คือ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ สหชาตะ อัญญมัญญะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สหชาตมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อัญญมัญญสภาคนัย

[๔๕๙] เหตุปัจจัย กับอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๑๔)

อัญญมัญญฆฏนา (๖)
[๔๖๐] ปัจจัย ๕ คือ อัญญมัญญะ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อัญญมัญญะ สหชาตะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อัญญมัญญะ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๖ คือ อัญญมัญญะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๗ คือ อัญญมัญญะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อัญญมัญญะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)
อัญญมัญญมูลกนัย จบ

นิสสยสภาคนัย

[๔๖๑] เหตุปัจจัย กับนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๘ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑๓ วาระ (๑๗)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
นิสสยมิสสกฆฏนา (๖)
[๔๖๒] ปัจจัย ๓ คือ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑๓ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ นิสสยะ อธิปติ อัตถิ และอวิคตะ มี ๘ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๕ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ นิสสยะ อธิปติ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๔ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ

ปกิณณกฆฏนา (๔)
[๔๖๓] ปัจจัย ๕ คือ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ นิสสยะ อารัมมณะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ นิสสยะ อารัมมณะ อธิปติ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ นิสสยะ ปุเรชาตะ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ

สหชาตฆฏนา (๑๐)
[๔๖๔] ปัจจัย ๔ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๙ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๕ คือ นิสสยะ สหชาตะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ (อวิปากะ ๕)
ปัจจัย ๕ คือ นิสสยะ สหชาตะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ นิสสยะ สหชาตะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
นิสสยมูลกนัย จบ

อุปนิสสยสภาคนัย

[๔๖๕] อารัมมณปัจจัย กับอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๗ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นัตถิปัจจัย กับอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ (๑๓)

อุปนิสสยฆฏนา (๗)
[๔๖๖] ปัจจัย ๓ คือ อุปนิสสยะ อารัมมณะ และอธิปติ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อุปนิสสยะ อารัมมณะ อธิปติ ปุเรชาตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อุปนิสสยะ อารัมมณะ อธิปติ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อุปนิสสยะ อนันตระ สมนันตระ นัตถิ และวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อุปนิสสยะ อนันตระ สมนันตระ อาเสวนะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๒ คือ อุปนิสสยะ และกัมมะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อุปนิสสยะ อนันตระ สมนันตระ กัมมะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๑ วาระ
อุปนิสสยมูลกนัย จบ

ปุเรชาตสภาคนัย

[๔๖๗] อารัมมณปัจจัย กับปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

อัตถิปัจจัย กับปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๘)

ปุเรชาตฆฏนา (๗)
[๔๖๘] ปัจจัย ๓ คือ ปุเรชาตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ ปุเรชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ ปุเรชาตะ อารัมมณะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ ปุเรชาตะ อารัมมณะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ ปุเรชาตะ อารัมมณะ อธิปติ อุปนิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ปุเรชาตะ อารัมมณะ อธิปติ นิสสยะ อุปนิสสยะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ ปุเรชาตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปุเรชาตมูลกนัย จบ

ปัจฉาชาตสภาคนัย

[๔๖๙] วิปปยุตตปัจจัย กับปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๓)

ปัจฉาชาตฆฏนา (๑)

[๔๗๐] ปัจจัย ๔ คือ ปัจฉาชาตะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อาเสวนสภาคนัย

[๔๗๑] อนันตรปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๕)

อาเสวนฆฏนา (๑)
[๔๗๒] ปัจจัย ๖ คือ อาเสวนะ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ นัตถิ
และวิคตะ มี ๓ วาระ
อาเสวนมูลกนัย จบ

กัมมสภาคนัย

[๔๗๓] อนันตรปัจจัย กับกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๒ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ (๑๔)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
กัมมปกิณณกฆฏนา (๒)
[๔๗๔] ปัจจัย ๒ คือ กัมมะ และอุปนิสสยะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ กัมมะ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๑ วาระ

สหชาตฆฏนา (๙)
[๔๗๕] ปัจจัย ๖ คือ กัมมะ สหชาตะ นิสสยะ อาหาระ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ กัมมะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ กัมมะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ กัมมะ สหชาตะ นิสสยะ อาหาระ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ กัมมะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ กัมมะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ กัมมะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ กัมมะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ กัมมะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
กัมมมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปากสภาคนัย

[๔๗๖] เหตุปัจจัย กับวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ (๑๔)

วิปากฆฏนา (๕)
[๔๗๗] ปัจจัย ๕ คือ วิปากะ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ วิปากะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ วิปากะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ วิปากะ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ วิปากะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
วิปากมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อาหารสภาคนัย

[๔๗๘] อธิปติปัจจัย กับอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ (๑๑)

อาหารมิสสกฆฏนา (๑)
[๔๗๙] ปัจจัย ๓ คือ อาหาระ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ

สหชาตสามัญญฆฏนา (๙)
[๔๘๐] ปัจจัย ๕ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๖ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑
วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

สกัมมฆฏนา (๙)
[๔๘๑] ปัจจัย ๖ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ กัมมะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ กัมมะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ กัมมะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ กัมมะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ กัมมะ วิปากะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ กัมมะ วิปากะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ กัมมะ วิปากะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ กัมมะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ กัมมะ วิปากะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

สอินทรียฆฏนา (๙)
[๔๘๒] ปัจจัย ๖ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สาธิปติอินทรียฆฏนา (๖)
[๔๘๓] ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)
อาหารมูลกนัย จบ

อินทรียสภาคนัย

[๔๘๔] เหตุปัจจัย กับอินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

ฌานปัจจัย กับอินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ (๑๔)

อินทรียมิสสกฆฏนา (๓)
[๔๘๕] ปัจจัย ๓ คือ อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อินทรียะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อินทรียะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ

ปกิณณกฆฏนา (๑)
[๔๘๖] ปัจจัย ๖ คือ อินทรียะ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ

สหชาตสามัญญฆฏนา (๙)
[๔๘๗] ปัจจัย ๕ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๖ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑
วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

สมัคคฆฏนา (๙)
[๔๘๘] ปัจจัย ๖ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

สฌานฆฏนา (๙)
[๔๘๙] ปัจจัย ๖ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ ฌานะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ ฌานะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
ฌานะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

สฌานมัคคฆฏนา (๙)
[๔๙๐] ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ ฌานะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๗ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ ฌานะ มัคคะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ มัคคะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

สาหารฆฏนา (๙)
[๔๙๑] ปัจจัย ๖ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ อาหาระ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ อาหาระ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

สาธิปติอาหารฆฏนา (๖)
[๔๙๒] ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อาหาระ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อาหาระ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อาหาระ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สาธิปติมัคคฆฏนา (๖)
[๔๙๓] ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)

สเหตุมัคคฆฏนา (๙)
[๔๙๔] ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๔ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๒ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

สเหตุอธิปติมัคคฆฏนา (๖)
[๔๙๕] ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๔ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๑ คือ อินทรียะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
วิปากะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)
อินทรียมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ฌานสภาคนัย

[๔๙๖] สหชาตปัจจัย กับฌานปัจจัย มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ (๑๐)

สามัญญฆฏนา (๙)
[๔๙๗] ปัจจัย ๕ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๖ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑
วาระ
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

สอินทรียฆฏนา (๙)
[๔๙๘] ปัจจัย ๖ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สมัคคฆฏนา (๙)
[๔๙๙] ปัจจัย ๖ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

สอินทรียมัคคฆฏนา (๙)
[๕๐๐] ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
ฌานมูลกนัย จบ

มัคคสภาคนัย

[๕๐๑] เหตุปัจจัย กับมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สัมปยุตตปัจจัย กับมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ (๑๒)

มัคคสามัญญฆฏนา (๙)
[๕๐๒] ปัจจัย ๕ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗
วาระ
ปัจจัย ๖ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๖ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑
วาระ
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สอินทรียฆฏนา (๙)
[๕๐๓] ปัจจัย ๖ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

สฌานฆฏนา (๙)
[๕๐๔] ปัจจัย ๖ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ ฌานะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ ฌานะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

สอินทรียฌานฆฏนา (๙)
[๕๐๕] ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ ฌานะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ ฌานะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ ฌานะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ ฌานะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ ฌานะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
ฌานะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
ฌานะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ ฌานะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
ฌานะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

สาธิปติอินทรียฆฏนา (๖)
[๕๐๖] ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)

สเหตุอินทรียฆฏนา (๙)
[๕๐๗] ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๔ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๒ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

สเหตาธิปติอินทรียฆฏนา (๖)
[๕๐๘] ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๔ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๑๑ คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
วิปากะ อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)
มัคคมูลกนัย จบ

สัมปยุตตสภาคนัย

[๕๐๙] เหตุปัจจัย กับสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๑๓)

สัมปยุตตฆฏนา (๒)
[๕๑๐] ปัจจัย ๖ คือ สัมปยุตตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๑)
ปัจจัย ๗ คือ สัมปยุตตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๑)
สัมปยุตตมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปปยุตตสภาคนัย

[๕๑๑] เหตุปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๕ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๕ วาระ (๑๗)

วิปปยุตตมิสสกฆฏนา (๔)
[๕๑๒] ปัจจัย ๓ คือ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๕ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ วิปปยุตตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๕ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ วิปปยุตตะ อธิปติ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๔
วาระ
ปัจจัย ๕ คือ วิปปยุตตะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓
วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกิณณกฆฏนา (๕)
[๕๑๓] ปัจจัย ๔ คือ วิปปยุตตะ ปัจฉาชาตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓
วาระ
ปัจจัย ๕ คือ วิปปยุตตะ นิสสยะ ปุเรชาตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓
วาระ
ปัจจัย ๖ คือ วิปปยุตตะ อารัมมณะ นิสสยะ ปุเรชาตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ วิปปยุตตะ อารัมมณะ อธิปติ นิสสยะ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ วิปปยุตตะ นิสสยะ ปุเรชาตะ อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ

สหชาตฆฏนา (๔)
[๕๑๔] ปัจจัย ๕ คือ วิปปยุตตะ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ วิปปยุตตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ (อวิปากะ ๒)
ปัจจัย ๖ คือ วิปปยุตตะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ วิปปยุตตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๒)
วิปปยุตตมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อัตถิสภาคนัย

[๕๑๕] เหตุปัจจัย กับอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๘ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๕ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑๓ วาระ (๑๘)

อัตถิมิสสกฆฏนา (๑๑)
[๕๑๖] ปัจจัย ๒ คือ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑๓ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อัตถิ นิสสยะ และอวิคตะ มี ๑๓ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อัตถิ อธิปติ และอวิคตะ มี ๘ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อัตถิ อธิปติ นิสสยะ และอวิคตะ มี ๘ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อัตถิ อาหาระ และอวิคตะ มี ๗ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๓ คือ อัตถิ อินทรียะ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อัตถิ นิสสยะ อินทรียะ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อัตถิ วิปปยุตตะ และอวิคตะ มี ๕ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อัตถิ นิสสยะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ มี ๕ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อัตถิ อธิปติ นิสสยะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ มี ๔ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อัตถิ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ มี ๓ วาระ

ปกิณณกฆฏนา (๘)
[๕๑๗] ปัจจัย ๔ คือ อัตถิ ปัจฉาชาตะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อัตถิ ปุเรชาตะ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อัตถิ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อัตถิ อารัมมณะ ปุเรชาตะ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อัตถิ อารัมมณะ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อัตถิ อารัมมณะ อธิปติ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อัตถิ อารัมมณะ อธิปติ นิสสยะ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ
วิปปยุตตะ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อัตถิ นิสสยะ ปุเรชาตะ อินทรียะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ

สหชาตฆฏนา (๑๐)
[๕๑๘] ปัจจัย ๔ คือ อัตถิ สหชาตะ นิสสยะ และอวิคตะ มี ๙ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อัตถิ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ และอวิคตะ มี ๓
วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๖ คือ อัตถิ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อัตถิ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ มี ๓
วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อัตถิ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปปยุตตะ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ (อวิปากะ ๕)
ปัจจัย ๕ คือ อัตถิ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อัตถิ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อัตถิ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อัตถิ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อัตถิ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
อัตถิมูลกนัย จบ

นัตถิสภาคนัย

[๕๑๙] อนันตรปัจจัย กับนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ (๖)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
นัตถิฆฏนา (๓)
[๕๒๐] ปัจจัย ๕ คือ นัตถิ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ และวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ นัตถิ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ อาเสวนะ และวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ นัตถิ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ กัมมะ และวิคตะ
มี ๑ วาระ
นัตถิมูลกนัย จบ

วิคตสภาคนัย

[๕๒๑] อนันตรปัจจัย กับวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ (๖)

วิคตฆฏนา (๓)
[๕๒๒] ปัจจัย ๕ คือ วิคตะ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ และนัตถิ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ วิคตะ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ อาเสวนะ และ
นัตถิ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ วิคตะ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ กัมมะ และนัตถิ
มี ๑ วาระ
วิคตมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อวิคตสภาคนัย

[๕๒๓] เหตุปัจจัย กับอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๘ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑๓ วาระ (๑๘)

อวิคตมิสสกฆฏนา (๑๑)
[๕๒๔] ปัจจัย ๒ คือ อวิคตะ และอัตถิ มี ๑๓ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อวิคตะ นิสสยะ และอัตถิ มี ๑๓ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อวิคตะ อธิปติ และอัตถิ มี ๘ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อวิคตะ อธิปติ นิสสยะ และอัตถิ มี ๘ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อวิคตะ อาหาระ และอัตถิ มี ๗ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๓ คือ อวิคตะ อินทรียะ และอัตถิ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อวิคตะ นิสสยะ อินทรียะ และอัตถิ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อวิคตะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี ๕ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อวิคตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี ๕ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อวิคตะ อธิปติ นิสสยะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี ๔ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อวิคตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี ๓ วาระ

ปกิณณกฆฏนา (๘)
[๕๒๕] ปัจจัย ๔ คือ อวิคตะ ปัจฉาชาตะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี ๓
วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อวิคตะ ปุเรชาตะ และอัตถิ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อวิคตะ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี ๓
วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อวิคตะ อารัมมณะ ปุเรชาตะ และอัตถิ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อวิคตะ อารัมมณะ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ และ
อัตถิ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อวิคตะ อารัมมณะ อธิปติ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ และ
อัตถิ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อวิคตะ อารัมมณะ อธิปติ นิสสยะ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ
วิปปยุตตะ และอัตถิ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อวิคตะ นิสสยะ ปุเรชาตะ อินทรียะ วิปปยุตตะ และอัตถิ
มี ๑ วาระ

สหชาตฆฏนา (๑๐)
[๕๒๖] ปัจจัย ๔ คือ อวิคตะ สหชาตะ นิสสยะ และอัตถิ มี ๙ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ และอัตถิ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๖ คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ และ
อัตถิ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อวิคตะ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี ๓
วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปปยุตตะ และ
อัตถิ มี ๑ วาระ (อวิปากะ ๕)
ปัจจัย ๕ คือ อวิคตะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ และอัตถิ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ และอัตถิ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
และอัตถิ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อวิคตะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ และอัตถิ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ
และอัตถิ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
อวิคตมูลกนัย จบ
การนับอนุโลมแห่งปัญหาวาร จบ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๕๒๗] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอารัมมณปัจจัย
และอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยสหชาตปัจจัย (๔)
[๕๒๘] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอารัมมณปัจจัย
และอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยสหชาตปัจจัย (๔)
[๕๒๙] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอารัมมณ-
ปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอารัมมณ-
ปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
[๕๓๐] สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นกุศล มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)
[๕๓๑] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นอกุศล มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อัพยากฤต มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)
ปัจจนียุทธารแห่งปัญหาวาร จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๓๒] นเหตุปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๑๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๑๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
นเหตุทุกนัย

[๕๓๓] นอารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสหชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอาหารปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย " มี ๙ วาระ

ติกนัย

นอธิปติปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นสมนันตรปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นสหชาตปัจจัย " " มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย " " มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย " " มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " " มี ๑๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " " มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
นกัมมปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
นวิปากปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
นอาหารปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
นฌานปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
นมัคคปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " " มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " " มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย " " มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย " " มี ๙ วาระ ฯลฯ

ฉักกนัย

นสหชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
และนสมนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ

สัตตกนัย
นอัญญมัญญปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
นสมนันตรปัจจัย และนสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯ ลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ

อัฏฐกนัย

นนิสสยปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
นสมนันตรปัจจัย นสหชาตปัจจัย และนอัญญมัญญปัจจัย

มี ๑๑ วาระ

นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ

นวกนัย

นอุปนิสสยปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
นสมนันตรปัจจัย นสหชาตปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัย และ
นนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ


นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ

ทสกนัย

นปุเรชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
นสมนันตรปัจจัย นสหชาตปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัย
นนิสสยปัจจัย และนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ

เอกาทสกนัย

นปัจฉาชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
นสมนันตรปัจจัย นสหชาตปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัย นนิสสย-
ปัจจัย นอุปนิสสยปัจจัย และนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ

ทวาทสกนัย

นอาเสวนปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
นสมนันตรปัจจัย ฯลฯ นปุเรชาตปัจจัย และนปัจฉาชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ

นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ ฯลฯ

จุททสกนัย

นวิปากปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นปัจฉาชาตปัจจัย
นอาเสวนปัจจัย และนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ

สัตตรสกนัย

นมัคคปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย นวิปาก-
ปัจจัย นอาหารปัจจัย และนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ

เอกวีสกนัย

โนวิคตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นอาหารปัจจัย
นฌานปัจจัย นมัคคปัจจัย นสัมปยุตตปัจจัย นวิปปยุตตปัจจัย
และโนนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ

โสฬสกนัย (สอินทรียะ)

นฌานปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย
นวิปากปัจจัย และนอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปุนเอกวีสกนัย
โนวิคตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย
นวิปากปัจจัย นอินทรียปัจจัย นฌานปัจจัย นมัคคปัจจัย นสัมปยุตตปัจจัย
นวิปปยุตตปัจจัย และโนนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ
นเหตุมูลกนัย จบ

นอารัมมณทุกนัย

[๕๓๔] นเหตุปัจจัย กับนอารัมมณปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสหชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอาหารปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๒ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

โนอัตถิปัจจัย กับนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย " มี ๙ วาระ ฯลฯ

สัตตกนัย
นอัญญมัญญปัจจัย กับนอารัมมณปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
นสมนันตรปัจจัย และนสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ

นนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ ฯลฯ

(พึงขยายให้พิสดารเหมือนนเหตุมูลกนัย)
นอารัมมณมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๓ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๕๓๕] ... กับนอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย และนสมนันตรปัจจัย ...
(พึงขยายให้พิสดารเหมือนนเหตุมูลกนัย)

นสหชาตทุกนัย

[๕๓๖] นเหตุปัจจัย กับนสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอนันตรปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย " มี ๙ วาระ ฯลฯ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๔ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
จตุกกนัย

นอธิปติปัจจัย กับนสหชาตปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย
มี ๑๑ วาระ

นอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ

... กับนสหชาตปัจจัยและนเหตุปัจจัย (ย่อ)
นสหชาตมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๕ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
นอัญญมัญญทุกนัย

[๕๓๗] นเหตุปัจจัย กับนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอนันตรปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นสหชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย " มี ๙ วาระ ฯลฯ

จตุกกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนอัญญมัญญปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย
มี ๑๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๖ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ ฯลฯ

อัฏฐกนัย

นนิสสยปัจจัย กับนอัญญมัญญปัจจัย นเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติ-
ปัจจัย นอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย และนสหชาตปัจจัย

มี ๑๑ วาระ

นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๗ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ (ย่อ)

นอัญญมัญญมูลกนัย จบ

นนิสสยทุกนัย

[๕๓๘] นเหตุปัจจัย กับนนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอนันตรปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นสหชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๘ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย " มี ๙ วาระ ฯลฯ

จตุกกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนนิสสยปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย
มี ๑๑ วาระ

นอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๙ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ ฯลฯ

ทสกนัย
นปุเรชาตปัจจัย กับนนิสสยปัจจัย นเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย
นอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย นสหชาตปัจจัย
นอัญญมัญญปัจจัย และนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ

นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๖๐ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ (ย่อ)

นนิสสยมูลกนัย จบ

นอุปนิสสยทุกนัย

[๕๓๙] นเหตุปัจจัย กับนอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสหชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอาหารปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย " มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๖๑ }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

โนนัตถิปัจจัย กับนอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย " มี ๙ วาระ ฯลฯ

จตุกกนัย

นอธิปติปัจจัย กับนอุปนิสสยปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย

มี ๑๓ วาระ

นอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ ฯลฯ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๖๒ }


>>>>> หน้าต่อไป >>>>>





eXTReMe Tracker