กองศัลยกรรม

 

ภารกิจ

1.    ตรวจรักษาผู้ป่วยทางศัลยกรรม ในสาขาต่างๆ ได้แก่ ศัลยกรรมทั่วไป ศัลยกรรมเฉพาะทาง
และอุบัติเหตุตลอดจนผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุจากความร้อน และบาดทะยัก

2.    ปฏิบัติหน้าที่ศัลยแพทย์เวร ทั้งในและนอกเวลาราชการ

3.    ให้การศึกษาอบรมแก่แพทย์ประจำบ้านสาขาศัลยศาสตร์ สาขาประสาทศัลยศาสตร์ แพทย์ฝึกหัด
นิสิตแพทย์ ร่วมกับ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

4.    ร่วมออกหน่วยรับบริจาคโลหิตให้กับกองบริการโลหิต

5.    ออกหน่วยปฏิบัติงานพิเศษต่างๆ เช่น หน่วยมิตรประชา, กรป.กลาง, หน่วยศัลยแพทย์อาสา เป็นต้น

6.    ออกใบชันสูตรบาดแผล

7.    ให้การสนับสนุนหน่วยภายในและภายนอก กรมแพทย์ทหารอากาศ ในด้านการให้การรักษาพยาบาล
ด้านศัลยกรรม

 

การจัดหน่วย

กองศัลยกรรมแบ่งการจัดหน่วยได้ดังนี้

1.    หน่วยรักษาพยาบาล แบ่งเป็น

                     ~ ศัลยกรรมทั่วไป~ ศัลยกรรมประสาท  ~ ศัลยกรรมอุบัติเหตุ

                     ~ ศัลยศาสตร์ยูโร~ ศัลยกรรมทรวงอก  ~ ศัลยกรรมตกแต่ง

                     ~ศัลยกรรมเด็ก                    

2.    งานธุรการ แบ่งเป็น

                     ~ งานสารบรรณ ด้านกำลังพล ด้านพัสดุ

                     ~  ด้านการฝึกศึกษานิสิตแพทย์ ด้านการฝึกศึกษาแพทย์ประจำบ้าน

 

สถานภาพกำลังพลปัจจุบัน

ตำแหน่ง

เงินเดือน

เหล่าทหาร

จำนวน

ผู้อำนวยการกอง

น.อ.พิเศษ

พ.

1

นายแพทย์

น.อ.

พ.

3

นายแพทย์

น.ท.

พ.

7

นายแพทย์

น.ต.

พ.

6

นายแพทย์

ร.อ.

พ.

6

นายแพทย์

ร.ท.

พ.

1

นายแพทย์

ร.ต.

พ.

1

นายทหารธุรการ ชั้นสัญญาบัตร

ร.อ.

พ.

1

นายทหารธุรการ ชั้นประทวน

พ.อ.อ.

สบ.

1

นายทหารธุรการ ชั้นประทวน

จ.ต.

สบ.

1

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ศักยภาพ/ขีดความสามารถในการรักษาพยาบาล

 

1.จำนวนเตียง และสถิติผู้ป่วย

       1.1   จำนวนเตียงผู้ป่วยศัลยกรรม  รวม          122   เตียง

       1.2   จำนวนเตียงหออภิบาลผู้ป่วยหนัก            22   เตียง

       1.3   จำนวนห้องผ่าตัดใหญ่ แบ่งออกเป็น

              -  ศัลยกรรมทั่วไป                         2        ห้อง

              -  ศัลยกรรมประสาท                      1        ห้อง

              -  ศัลยกรรมระบบปัสสาวะ                1        ห้อง

              -  ศัลยกรรมเด็ก                           1        ห้อง

              -  ศัลยกรรมทรวงอก                      1        ห้อง

              -  ศัลยกรรมตกแต่ง                       1        ห้อง

 

2.จำนวนเครื่องมืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ  หรือการดูแลรักษาผู้ป่วย

2.1   Gastrointestinal endoscopy  มีการตรวจดังนี้

                    Upper GI endoscopy                     

                    Rigid sigmoidoscopy

                    Flexible Sigmoidoscopy

                    Colonoscopy                               

                    ERCP  

                    Intraoperative choledochoscopy

2.2  Laparoscopic surgery                                                     

2.3 Basic laboratory studies.

Blood chemistry(BS,BUN, Creatinine , electrolytes, amylase ) CBC ,Urine analysis. สามารถตรวจได้ตลอด  24  ชั่วโมง

2.4  Arterial blood gas  analysis. สามารถตรวจได้ตลอด 24 ชั่วโมง

2.5Bacterial Culture/Sensitivity test. ตรวจเฉพาะในเวลาราชการ ถ้าจะทำในช่วงวันหยุดจะCulture

          ลงในMediaไว้ก่อน แช่ตู้เย็น และส่งในวันรุ่งขึ้น

2.6 ธนาคารเลือด ให้บริการโลหิตตลอด 24 ชั่วโมง

2.7  ขีดความสามารถในหออภิบาลผู้ป่วยหนัก (ICU)

2.6.1  Ventilator: Pressure – cycle ventilator ,Volume – cycle ventilator          

          Time – cycle ventilator  โดยVentilator อยู่ในความดูแลของหน่วยช่วยการหายใจ ซึ่งทำ

หน้าที่จัดหาและบำรุงรักษาเครื่องช่วยหายใจทั้งหมดของโรงพยาบาล

2.6.2  Monitor

2.6.3  Cardiac defibrillator               

2.6.4  สัดส่วนพยาบาลในหออภิบาล : จำนวนเตียงผู้ป่วย = 1 : 2

3.การบริการที่เป็นปัจจัยเกื้อหนุน

3.1  กองพยาธิกรรม

          3.1.1  จำนวนพยาธิแพทย์         7        คน

                            นิติเวช                  2        คน                        

          3.1.2  คุณภาพและขีดความสามารถ

                   3.1.2.1.1  การตรวจชิ้นเนื้อโดยการย้อมH&E                                                               

                       3.1.2.1.2  การทำFrozen section                                                                                        

                       3.1.2.1.3  การศึกษาทางCytology                                                                                         

                       3.1.2.1.4  การตรวจศพ  (Autopsy)

          3.1.3  เวลาใช้ในการตรวจชิ้นเนื้อจนถึงการรายงานผล7วันทำการ

          3.1.4  การจัดประชุมร่วมกับภาควิชา/แผนก/กองศัลยกรรมจำนวน1ครั้ง/เดือน

          3.1.5  แพทย์ประจำบ้านศัลยศาสตร์ที่หมุนเวียนมาปฏิบัติงานมีหลักสูตรที่กำหนดแน่นอนให้แก่แพทย์

ประจำบ้านสาขาศัลยศาสตร์ที่มีปฏิบัติงานอย่างเป็นรูปธรรม    

       

3.2  กองรังสีกรรม

          3.2.1  จำนวนอาจารย์รังสีแพทย์รวม           15      คน

                    รังสีวินิจฉัย                                    10      คน

                    รังสีรักษา                                     3        คน

                    เวชศาสตร์นิวเคลียร์                       1        คน

                    Intervention radiology                 1        คน

          3.2.2คุณภาพ และขีดความสามารถในเวลาราชการ

                    Diagnosticradiology

                   Barium study           

                    Ultrasonography                 

                    Angiography                      

                    Interventional radiology                          

                    Mammography / Stereotactic guide biopsy  

                   CT  scan                           

MRI / MRA /MRCP                                           

                    Radiation oncology                                

          3.2.3กิจกรรมทางวิชาการกับทางภาควิชา/ กองศัลยกรรม

3.2.4.มีหลักสูตรที่เป็นรูปธรรมแก่แพทย์ประจำบ้านสาขาศัลยศาสตร์ เช่น การสอน การทำและการอ่าน

Ultrasound การสอนการอ่าน Plain film, Barium study มีการอบรม Ultrasound แก่แพทย์ประจำบ้านหลักสูตร 1 เดือน (ให้มีการการทำด้วยตนเองภายใต้การควบคุมของรังสีแพทย์) 

3.3   กองวิสัญญี และห้องผ่าตัด

          3.3.1  จำนวนวิสัญญีแพทย์                                  12      คน

                             พยาบาลวิสัญญี                               37      คน

          3.3.2  คุณภาพและขีดความสามารถ                 

                   การให้การบริการทางวิสัญญี : GA , LA , peripheral nerve block

                   การรับปรึกษาผู้ป่วยก่อนการให้บริการวิสัญญี

                   Pain clinic

            3.3.3  การจัดกิจกรรมทางวิชาการภายในภาควิชา/แผนก/กองวิสัญญีมีวิชาการทุกวันพุธเวลา8.00-9.00น.

3.3.4  การจัดกิจกรรมทางวิชาการนอกภาควิชา/แผนก/กองวิสัญญีกับกองศัลยกรรม

          3.3.5 แพทย์ประจำบ้านศัลยศาสตร์ที่หมุนเวียนมาปฏิบัติงาน

                   มีหลักสูตรของแพทย์ประจำบ้านสาขาศัลยศาสตร์ที่มาปฏิบัติงาน

-          ระยะเวลาการปฏิบัติงานนาน              1       เดือน

-          จำนวนแพทย์ประจำบ้านมาครั้งละ       1       คน

-          ให้ปฏิบัติงานห้องผ่าตัด สัปดาห์ที่ 1เข้าห้องผ่าตัดศัลยกรรม , สัปดาห์ที่ 2  เข้าห้องผ่าตัด ENT (เพื่อดูเรื่อง Airway Maintainment )  สัปดาห์ที่ 3เข้าห้องผ่าตัด Ortho ,  สัปดาห์ที่ 4  เข้าห้องผ่าตัดตามสายงานของแพทย์ประจำบ้าน  

                                                                                                                                                                                                           

3.4สถาบันสมทบ : ไม่มีโดยตรง  แต่มีการส่งแพทย์ประจำบ้านไปรับการฝึกอบรมยังสถาบันฝึกอบรมอื่น  คือ

ภาควิชาศัลยศาสตร์รพ.จุฬาลงกรณ์          2  เดือน

          ภาควิชาศัลยศาสตร์  รพ.ศิริราช              1  เดือน

          กลุ่มงานศัลยกรรมเด็ก สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี 1 เดือน 

 

4.ปริมาณของทรัพยากรในการเรียนรู้  (Quality of learning resources )

          4.1  จำนวนตำราทางศัลยศาสตร์

                    Schwartz                                    

                    Sabiston                                               

                    Greenfield                                  

                    Maingot                                               

Atlas of Operative Procedure          

ตำราศัลยศาสตร์ต่างประเทศอื่นๆ 

                    ตำราศัลยศาสตร์ภาษาไทย, ศัลยศาสตร์วิวัฒน์

4.2  ระบบสารสนเทศ

          Electronic Library

Internet Facility:  มีระบบ wifiที่สามารถ connect ผ่าน BHU Corporate โดยใช้ User name และ Passwordของแพทย์ซึ่งสามารถใช้ได้ตลอด 24 ชั่วโมง