หน้าแรก ทำเนียบเจ้าหน้าที่ มาตรฐานข้อกำหนด ถาม-ตอบความปลอดภัย กฎหมายความปลอดภัย ชมรมความปลอดภัย อ่านคำแนะนำติชม
มาตรฐานและข้อกำหนด










ISO 9000:2000

ในเรื่องของอนุกรมมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 ที่หลายๆบริษัทได้ดำเนินการจัดทำหรือ
กำลังขอใหม่คงจะต้องปรับตัวเพื่อรับระบบมาตรฐาน ISO ของฉบับ version 2000 (จากเดิมของปี 1994)
นั้นแน่นอนว่าระบบการบริหารคุณภาพนั้นจะถูกปรับมา ใช้ของใหม่ทั้งหมดภายในปี พ.ศ. 2546 - 2547
ประกาศเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2543

สิ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงจาก ISO 9000:1994 มาเป็น ISO 9000:2000
1. ใช้ชื่อมาตรฐาน ISO 9001:2000 :Quality management systems-Requirement
2. ใบรับรองที่ได้คือ ISO 9001:2000
3. โครงสร้างจำนวนมาตรฐานลดลงเหลือเพียง 3 ฉบับ จากเดิม 12 ฉบับ
4. มุ่งเน้นที่ลูกค้าเป็นสำคัญมากกว่าผลิตภัณฑ์
5. เน้นในเรื่องของระบบรูปแบบ มองในภาพรวมของกระบวนการครบวงจร PDCA (Plan-Do-Check-Act)
6. เน้นให้องค์กรมีระบบการบริหารงานที่ชัดเจน การทบทวนสถานะเพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
7. นำไปปรับใช้ร่วมกับมาตรฐานระบบการจัดการอื่นๆได้เช่น ISO 14000 มอก.18000
โครงสร้างของอนุกรมมาตรฐาน ISO 9000:2000
1. ข้อกำหนดในระบบการบริหารคุณภาพ Requirements นั้นคือ ISO 9001 ซึ่งครอบคลุมและปรับ
ใช้กับทุกประเภทกิจการ โดยไม่มีการแยกเหมือนของเดิมที่แบ่งตาม 3 กิจกรรม ( 9001, 9002, 9003)
2. ข้อแนะนำ Guidelines ประกอบด้วย
2.1 ISO 9000 ว่าด้วยหลักการพื้นฐาน และคำศัพท์
2.2 ISO 9004 เป็นข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อใช้ในการปรับปรุงการดำเนินการขององค์กรเพื่อเพิ่มผลประโยชน์
โดยใช้ควบคู่กับ ISO 9001
หลักการบริหารคุณภาพ Quality Management Principles
1. Customer-Focus Organization
องค์กรที่มุ่งเน้นลูกค้า
2. Leadership
ความเป็นผู้นำ
3. Involvement of People
การมีส่วนรวมของพนักงาน
4. Process Approach
การบริหารโดยวิธีการของกระบวนการ
5. System Approach to Management
การบริหารงานอย่างเป็นระบบ
6. Continual Improvement
การปรับปรงอย่างต่อเนื่อง
7. Factual Approach to Decision Making
การตัดสินใจบนพื้นฐานของข้อเท็จจริง
8. Mutually Beneficial Supplier Relationships
ความสัมพันธ์กับผู้ส่งมอบเพื่อประโยชน์ร่วมกัน
ระบบการบริหารคุณภาพ - ข้อกำหนด Quality Management System - Requirements
ข้อ1 ขอบข่าย Scope
1.1 บททั่วไป
1.2 การประยุกต์ใช้
ข้อ2 มาตรฐานอ้างอิง Normative reference
ข้อ3 คำศัพท์และคำนิยาม Terms and definitions
ข้อ 4 ระบบการบริหารคุณภาพ Quality Management System
4.1ข้อกำหนดทั่วไป
4.2 ข้อกำหนดด้านการเอกสาร
4.2.1 บททั่วไป
4.2.2 คู่มือคุณภาพ
4.2.3 การควบคุมเอกสาร
4.2.4 การควบคุมบันทึก
ข้อ 5 ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร Management rasponsibility
5.1 ความมุ่งมั่นของฝ่ายบริหาร
5.2 การมุ่งเน้นที่ลูกค้า
5.3 นโยบายคุณภาพ
5.4 การวางแผน
5.5 ความรับผิดชอบ อำนาจหน้าที่ และการสื่อสาร
5.5.1 ความรับผิดชอบและอำนาจหน้าที่
5.5.2 ตัวแทนฝ่ายบริหาร
5.5.3 การสื่อสารภายในองค์กร
5.6 การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
5.6.1 บททั่วไป
5.6.2 ข้อมูลสำหรับการทบทวน
5.6.3 ผลจากการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
ข้อ 6 การบริหารทรัพยากร Resource management
6.1 การจัดสรรทรัพยากร
6.2 ทรัพยากรบุคคล
6.3 โครงสร้างพื้นฐาน
6.4 สภาพแวดล้อมในการทำงาน
ข้อ 7 กระบวนการผลิต หรือการให้บริการ Product realization
7.1 การวางแผนกระบวนการผลิต
7.2 กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า
7.2.1 การพิจารณาข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์
7.2.2 การทบทวนข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์
7.2.3 การสื่อสารกับลูกค้า
7.3 การออกแบบและการพัฒนา
7.3.1 การวางแผนการออกแบบและการพัฒนา
7.3.2 ข้อมูลสำหรับการออกแบบและการพัฒนา
7.3.3 ผลผลิตจากการออกแบบและการพัฒนา
7.3.4 การทบทวนการออกแบบและการพัฒนา
7.3.5 การทวนสอบการออกแบบและการพัฒนา
7.3.6 การทดสอบเพื่อรับรองผลการออกแบบและการพัฒนา
7.3.7 การควบคุมในการเปลี่ยนแปลงในการออกแบบและการพัฒนา
7.4 การจัดซื้อ
7.4.1 กระบวนการจัดซื้อ
7.4.2 สารสนเทศของการจัดซื้อ
7.4.3 การทวนสอบผลิตภัณฑ์ที่จัดซื้อ
7.5 การดำเนินการผลิตและการให้บริการ
7.5.1 การควบคุมกระบวนการผลิตและกระบวนการให้บริการ
7.5.2 การทดสอบเพื่อรับรองกระบวนการผลิตและกระบวนการให้บริการ
7.5.3 การบ่งชี้และการสอบกลับได้
7.5.4 ทรัพย์สินของลูกค้า
7.5.5 การถนอมรักษาผลิตภัณฑ์
7.6 การควบคุมอุปกรณืเฝ้าติดตามและเครื่องมือวัด
ข้อ 8 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุง Measurement, analysis and improvement
8.1 บททั่วไป
8.2 การเฝ้าติดตามและการวัด
8.2.1 ความพึงพอใจของลูกค้า
8.2.2 การตรวจประเมินภายใน
8.2.3 การเฝ้าติดตามและการวัดกระบวนการ
8.2.4 การเฝ้าติดตามและการวัดผลิตภัณฑ์
8.3 การควบคุมผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อตกลง
8.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
8.5 การปรับปรุง
8.5.1 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
8.5.2 การปฎิบัติการแก้ไข
8.5.3 การปฎิบัติการป้องกัน

 

 

 

By: Crated by: ว. ลีลาวิมลวรรณ/www.thaisafety.net







เว็บไซต์แห่งถูกจัดทำขึ้นโดย สำนักงาน ศูนย์ความปลอดภัยในการทำงานพื้นที่ 2
550/10-11 ถ.พิชัยฯ ต.ปากเพรียว อ.เมือง จ.สระบุรี 18000
โทรศัพท์ 036-319214-6 แฟ็กซ์ 036-319217
Email [email protected]
1
Hosted by www.Geocities.ws

1