บทที่หนึ่ง : ดินแดน มลายู ในประวัติศาสตร์.

ดินแดน มลายู คือ หนึ่งคาบสมุทรที่ขยายออกไปทางทิศใต้และ ตั้งอยู่ที่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย และมีความครอบครองบริเวณที่กว้างขวาง นั้นก็คือ ทางเหนือของมัน เริ่มจาก เซือกืนติงกรา หรือ หาดใหญ่ ในตอนนี้ จนถึง ดินแดน มลายู หรือ ประเทศมาเลเซีย ในปัจจุบัน และ ประเทศสิงคโปร์ ทางทิศใต้ ของมัน.

ในทางเหนือคาบสมุทรนี้ เชื่อม กับ ประเทศสยามที่ตั้งอยู่กลางๆระหว่างสองราชอาณาจักร นั้นก็คือ ทางซ้ายของมันคือราชอาณาจักรพม่าและทางขวาคือราชอาณาจักรอันนัม (เวียดนาม) ที่ถูกเรียกว่า อินโดจีน-ฝรั่งเศส. ราชอาณาจักรสยาม อันนัม และพม่านี้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรที่ใหญ่ นั้นก็คือ คาบสมุทรอินโดจีน.  

ดังนั้น คาบสมุทรดินแดน มลายู นี้  มีสองส่วน นั้นก็คือ ส่วนเหนือและส่วนใต้. ส่วนเหนือของมันนั้นเริ่มจาก เซือกืนติงกราและจนถึงเขตจังหวัด สือตุล (สตูล) สิงโฆรา (สงขลา) ยะลาและบืงนรา(นราธิวาส). ในปัจจุบันจังหวัดๆเหล่านี้ถูกรวมตั้งอยู่ภายใต้อาณานิคมของราชอาณาจักรสยามหรือประเทศไทย. ส่วนใหญ่ราษฎรในทางเหนือของคาบสมุทรนี้คือ สยาม-ไทย ยกเว้น ในหกจังหวัดเท่านั้น นั้นก็คือ สือตุล ชือนัก ทิบา ปัตตานี ยะลาและบืงนรา มีจำนวนราษฎรชาวมลายูมากที่สุด

ส่วนทางภาคใต้ของคาบสมุทรนี้เริ่มจากชายแดนของจังหวัดๆในสยาม-ไทยนั้นจนถึงปลายสุดของดินแดน มลายู รวมถึงสิงคโปร์. ในส่วนนี้ประกอบด้วยราชอาณาจักรมาเลยู เคดาฮ์ ปือลิส กลันตัน ตรังกะนู เแปรัก ปะฮัง  สลางือร์ นะฆรีสืมบีลัน ยะโฮร์  มลากา ปุเลาปีนัง และสิงคโปร์.

แม้ว่าคาบสมุทรนี้ถูกเรียกว่าดินแดน มลายู แต่มันหมายความว่า ชาวมลายูที่เป็นชาวแรกเริ่มอยู่อาศัยในดินแดนแห่งนี้เพราะชาวมลายูคือชาวที่สุดท้ายที่อาศัยอยู่ในคาบสมุทร ดินแดน มลายู ภายหลังมันถูกอยู่อาศัยของชาวอื่นๆ.  

ชาวแรกที่อาศัยอยู่ในคาบสมุทร ดินแดน มลายู ตามข้อมูลในหนังสือประวัติศาสตร์คือชาวพื้นเมือง หรือ primitive. หลังจากนันมันถูกอาศัยอยู่โดยชาวฮินดูที่มาจากอินเดีย. หลังจากนันถูกครอบครองโดย สยาม-แท้ ซึงมาจากสยาม และสุดท้าย ชาวมลายูมาอยู่อาศัยจนถึงปัจจุบันนี้.

โดยสรุปแล้วข้างล่างนี้จะอธิบายทางประวัติสั้นๆเกี่ยวกับเหตุการณ์ใน ดินแดน มลายู ที่เกิดในสมัยโบราณ .

ประมาณร้อยๆปีก่อนการเกิดของคริสต์ ในเวลานั้น ดินแดน มลายูนี้ อย่างไม่ได้อาศัยโดยมนุษย์หรือคนที่มีวัฒนธรรม (ศิวิไลซ์) เหมือนกับวันนี้.  สภาพประเทศคลุมโดยป่าดงดิบทำให้มันถูกอยู่อาศัยโดยสัตว์ป่าเท่านั้น. ภายใต้ที่หลบซ่อนของป่าดงดิบที่หนาแน่นแและสัตว์ป่านั้น มีสองกลุ่มมนุษย์จากชาวพื้นเมืองที่ทำที่อยู่อาศัยของพวกเขาเอง นั้นก็คือชาวสือมัง(ปางัน)และชาวสะไก. ชาวผู้คนทั้งสองนี้เรียกว่ามนุษย์แต่ที่จริงแล้วสภาพและการดำรงชีวิตของพวกเขายังแบบเก่าและแตกต่างกับผู้คนที่มีวัฒนธรรม.

หลังจากร้อยๆปีก่อนการเกิดของคริสต์และจนถึงท่านเติบโต ชาวฮินดูจากอินเดียก็เริ่มอพยพมาถึงในดินแดน มลายู. ตอนนั้นชาวฮินดู ในเวลาเดี๋ยวกันพวกเขาก็รู้จักด้วยความระดับสูงของความก้าวหน้าและวัฒนธรรมในอินเดีย. การมาของพวกเขาใน ดินแดน มลายู เพื่อที่จะขยายการครองชีพของพวกเขาจากประเทศที่ร่ำรวย สันติภาพ และความมีชื่อเสียงของ ดินแดน มลายูนั้นเองที่ได้ดึงดูดความสนใจพวกเขาเพราะวดินแดน มลายูร่ำรวย ความเจริญและชื่อเสียงตะวันออกเอเชียนั้นเอง.  

การอพยพของชาวฮินดูใปที่ภาคเอเชียตะวันออกในเวลานั้นโดยใช้สองเส้นทางนั้นก็คือ ทางบก และทางทะเล. โดยทางบก พวกเขาเดินทางผ่านพม่าและเข้าประเทศสยามและอันนัม. และทางทะเลนั้นพวกเขาทัศนาจรจากอินเดียใช้เรือผ่านมหาสมุทรอินเดียหลังจากนั้นก็เข้าดินแดนมลายูและรวมทั้งเกาะๆทางภาคใต้ อาทิ เกาะสุมัตรา เกาะชวา บาหลี บรูไน และเกาะอื่นๆ. หลังจากนั้นพวกเขาเข้าไปในสยาม กัมพูชาและอันนัม.

ในฐานะเป็นคนที่มีวัฒนธรรมสูงในอินเดีย ชาวฮินดูจะมีศุลกากรของพวกเขาเองนั้นก็คือจารีตประเพณีและศาสนา. โดยปกติแล้วถึงแม้ว่าพวกเขาจะอยู่อาศัยที่ไหนก็ตาม ศุลกากรของพวกเขาจะรักษาและดำเนินอย่างแนบแน่นจารีตประเพณีและศาสนาของพวกเขาเหมือนกับว่าพวกเขากำลังอยู่ในอินเดีย.

โดยเหตุเพราะว่าชาวฮินดูนั้นมีวัฒนธรรมที่สูงแล้วด้วยศุลกากรจารีตประเพณีซึ่งจัดตั้งวางไหว้ดีและ เมือคนจากตะวันออกดูและเห็นความดีงามของประเพณีและศาสนาชาวฮินดู ทำให้คนเหล่านี้ก็เลียนแบบหรือตามการกระทำของชาวฮินดู. ผลสุดท้ายชาวฮินดูก็กลายเป็นอาจารย์ที่สอนจารีตประเพณีและศาสนาของพวกเขาให้กับชาวตะวันออก. ฉะนั้นเวลาต่อมาทำให้ชาวตะวันออกได้รับศุลกากรและจารีตประเพณีของชาวฮินดูอย่างสมบูรณ์และทั่วพื้นที่.

ถึงแม้ว่าศาสนาของชาวฮินจะดูหลักหลายแต่ที่มีชื่อเสียงคือศาสนาพราหมณ์และศาสนาฮินดู. ศาสนาพราหมณ์นั้นศาสนาที่บูชาพระเจ้าหรือเทพธิดาผีและจิตใจและถูกแบ่งเป็นนิกายตามชื่อพระเจ้าหกองค์ที่พวกเขาบูชา. ดังนั้นคนที่บูชาพระศิวะถูกเรียกว่าคนจากนิกายพระศิวะ. ในขณะเดียวกันคนที่บูชาพระเจ้าวิษณุเทพถูกเรียกว่าคนจากนิกายวิษณุเทพ และนิกายอื่นๆก็เหมือนกัน.  

พระเจ้าที่ชาวฮินดูบูชานั้นมีมากมายและจะกล่าวถึงพระเจ้าของพวกเขาที่นี่มันไม่มีประโยชน์. ศาสนานี้เป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในอินเดียที่ถูกบูชาและศรัทธาจนถึงนับพันปี. ในช่วงเวลาก่อนหน้านั้น สองพันปีกว่าผ่านมาจนถึงปัจจุบันก็ได้กำเนิดอาจารย์ที่ยิ่งใหญ่ในอินเดียและคนอินเดียเชื่อถือและเขาก็สอนบัญญัติความเชื่อถือใหม่ที่รู้จักว่าพุทธศาสนา.   

หลังจากนั้นเมืออาจารย์ที่ยิ่งใหญ่ของพวกเขาพระพุทธเจ้าสิ้นประชนลง ศาสนาพุทธก็ถูกแบ่งแยกเป็นนิกายๆที่ใหญ่. สองนิกายที่สำคัญ คือ นิกายหินยานและนิกายมหายาน. หินยานหมายความว่ายานพาหนะ นั้นก็คือ  คนที่นับถือนิกายหินยาน พวกเขาเพียงแค่นับถือวิชาชีพการสอนของอาจารย์ที่ยิ่งใหญ่ที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเท่านั้น. ตอนนั้นส่วนใหญ่คนที่นับถือนิกายหินยานนี้คือคนอินเดียจากทางภาคใต้และด้วยเหตุนี้เองคนที่นับถือนิกายนี้ถูกเรียก ว่า ดักศินา นิกายา ที่หมายความว่านิกายทิศใต้และในเวลาต่อมาการสอนของนิกายนี้ก็อ่อนแอลงในอินเดียจนกระทั่งในที่สุดมันหายไปยกเว้นในเกาะซิลอนทียังมีอยู่. นอกจากคนอินเดียที่นับถือนิกายนี้แล้ว ที่ยังเหลืออยู่ คือ คนสยาม-ไทยที่มีอยู่ในปัจจุบันที่นับถือนิกายนี้.

นิกายมหายานของศาสนาพุทธมีหมายความว่าพาหนะที่กว้างหรือยิ่งใหญ่และวิชาการสอนของนิกายนี้เปลี่ยนและการเปลี่ยนแปลงก็สอดคล้องกับความคิดของคนที่นับถือนั้นเอง. บางส่วนวิชาของนิกายนี้ก็ได้รวมกันกับวิชาของพราหมณ์ที่ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงจนกระทั่งเกิดความแตกต่างของสองนิกายอันหินยานและนิกายมหายานของศาสนาพุทธนี้. ตอนนั้นนิกายมหายานของศาสนาพุทธได้นับถือโดยคนอินเดียในภาคเหนือ. ดังนั้นนิกายนี้ถูกเรียก ว่า อุตารา นิกายา ที่หมายความว่านิกายทิศเหนือและคนที่นับถือนั้นถูกเรียกว่า มหา นิกายา หรือ คนของนิกายมหายาน. คำสอนของนิกายนี้ก็เผยแพร่ขยายออกไปทั่วและยังมีอยู่ในอินเดีย. ในอดีตนิกายนี้เป็นที่นิยมที่สุดของคนจากภาคตะวันออก อย่างเช่น สุมาตรา เกาะชวา บาหลี เช่นเดี๋ยวกับคาบสมุทรของดินแดน มลายู. นิกายนี้ก็ถูกศรัทธาและเชื่อถือโดยคนในอันนัม กัมพูชา จีน ญี่ปุ่น และ เกาหลี ในปัจจุบัน.

สำหรับความแพร่หลายของนิกายมหายานของศาสนาพุทธไปทางภาคตะวันออกนั้นเพราะว่าคนที่มาจากอินเดียใด้เผยแพร่ออกไปศาสนาของพวกเขา. ส่วนใหญ่คนอินเดียจากภาคเหนือของอินเดียอย่างเช่นจากแคชเมียร์และอื่นๆ นับถือนิกายยมหายาน.

ส่วนคนจากภูมิภาคตะวันออกนอกจากจะนับถือศาสนาพราหมณ์แล้ว บางส่วนก็นับถือศาสนาพุทธในนิกายมหายานยกเว้นคนสยาม-ไทย เท่านั้นที่ยังนับถือนิกายหินยานอยู่.

เมือชาวฮินดูมาถึงในภาคตะวันออกพวกเขาดำรงชีวิตเป็นกลุ่มๆ. เมือกลุ่มของพวกเขาเพิ่มขึ้นพื้นที่ที่พวกเขาอยู่อาศัยเหล่านั้นก็กลายเป็นประเทศ. ในเวลานั้นดินแดนมลายูและพื้นที่อื่นๆก็เริ่มถูกพัฒนาขึ้น. ชาวฮินดูจากอินเดียเหล่านี้มีนิสัยชอบดำรงชีวิตแบบมีราชาหรือพระมหากษัตริย์และชาวฮินดูจากกลุ่มนี้เป็นกลุ่มแรกที่อาศัยในดินแดนมลายูและวิธีชีวิตของพวกเขาแบบมีราชาก็ยังปฏิบัติอยู่. เมือพื้นที่ที่พวกเขาอยู่อาศัยนี้ถูกพัฒนาขึ้นชาวฮินดูก็เริ่มการปกครองเพือความสันติภาพและความปลอดภัยของชุมชนพวกเขาโดยจัดตั้งผู้นำหรือราชาขึ้น. ดังนั้นแต่ละครังพื้นที่ที่ถูกพัฒนาก็จะมีการจัดตั้งราชาเป็นผู้ปกครองและพื้นที่อื่นที่ถูกพัฒนาขึ้นก็เหมือนกันเมือไรที่ชาวฮินดูจะอยู่รวมเป็นกลุ่มและพื้นที่ๆแบบนี้ก็ถูกสร้างมากมายจนกระทั่งเป็นประเทศและตอนนั้นทางภาคเหนือของ ดินแดนมลายูก็ถูกสร้างเป็นประเทศ อย่างเช่น  ประเทศทัมบราลิงฆัม ฆือราฮี ตักโกลา ลังกาสุกา(เคดาฮ์). ประเทศทั้งหมดนี้ถูกชาวฮินดูปกครอง. ประเทศ ทัมบราลิงฆัม คือ นครศรีธรรมราช หรือ ลีฆอ ที่ตอนนี้ถูกประเทศไทยปกครอง.

ชาวฮินดูเป็นชาวที่จะไม่ลืมจารีตประเพณีหรือศาสนาของพวกเขาอย่างง่ายดาย. ถึงแม้ว่าพวกเขาจะอยู่ที่ไหนก็ตามพวกเขาจะสักการะเสมอ. เมือพวกเขาเริ่มปกครองดินแดนมลายูแล้ว พวกเขาก็จะสร้างสถานที่ที่สักการะขึ้น. ดังนั้นความเคลื่อนไหวที่ไหนก็ตามของชาวฮินดูก็จะได้รู้โดยสถานที่ที่เคยถูกพักอยู่อาศัยโดยชาวฮินดูจะมี่ร่องรอยจากสิงก่อสร้างอย่างเช่นสถานที่ที่สักการะ.  

เวลาที่ชาวฮินดูเคลื่อนไหวที่ไหนก็ตาม พวกเขาจะทำดีและผสมปนเปประชากรในพื้นที่และในที่สุดพวกเขาก็แต่งงานระหว่างต่างเผ่าพันธุ์จากพวกเขา.  ด้วยเหตุนี้ลูกหลานของพวกเขาก็จะขยายเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากโดยการแต่งงานระหว่างต่างเผ่าพันธุ์และลูกหลานของพวกเขาก็จะสืบทอดอำนาจทั้งหมดในภูมิภาคตะวันออก.   

ที่นี่เราจะมาตรวจสอบก่อนเรื่องเกี่ยวกับผู้อาศัยของคาบสมุทรที่สำคัญในอินโดจีน นั้นก็คือพื้นที่ที่กำเนิดหรือความเป็นมาของประเทศสยามในวันนี้ เพื่อเราจะเข้าใจเรื่องเกี่ยวกับคนมลายูเมื่อกล่าวถึงดินแดน มลายูในตอนต่อไปด้วยง่ายขึ้น.

เวลาก่อนมาถึงของชาวฮินดูในภูมิภาคตะวันออก ศูนย์กลางของคาบสมุทรอินโดจีน ซึงในเวลานั้นอาศัยโดยคนท้องถิ่นที่มีอำนาจในการปกครองและมีรัฐเป็นของตนเอง. เมือชาวฮินดูมาถึงที่นั่น สถานการณ์เดี๋ยวกันก็เกิดขึ้นต่อดินแดนมลายู นั้นก็คือชาวฮินดูถูกชุมชนท้องถิ่นยกขึ้นเป็นอาจารย์ของพวกเขา. ดังนั้น ศาสนาของพวกเขาก็ขยายอย่างง่ายดายและอิสระจนกระทั่งในที่สุดชุมชนท้องถิ่นนั้นทั้งหมดส่วนใหญ่นั้นก็นับถือศาสนาที่ชาวฮินดูศรัทธามา. คนในท้องถิ่นนั้นเคารพนับถืออย่างมากต่อชาวฮินดูจนถึงมีจากพวกเขาที่กลายเป็นผู้รับใช้และได้สละอำนาจสูงสุดของพวกเขาให้แก่ชาวฮินดู.

ในคาบสมุทรอินโดจีนในตอนนั้นมีอยู่สามราชอาณาจักร นั้นก็คือ ราชอาณาจักรเขมรในตะวันออก ราชอาณาจักรลาวอยู่กลางๆของคาบสมุทรที่กลายเป็นที่ตั้งของประเทศไทยวันนี้และที่สามคือราชอาณาจักรวันจันทร์ที่เป็นของชาวไทลิง. ถึงแม้ว่าทั้งสามนั่นจะมีกำลังในการปกครองเองแต่กิจวัตรและศาสนาของพวกเขาเหมือนกันเว้นแต่วันจันทร์และขอมที่หลงเสน่ห์ตอ่ชาวฮินดูจนกระทั่งราชาของพวกเขาก็เป็นชาวฮินดู.  

ระบบการปกครองของราชอาณาจักรลาวในตอนนั้นถูกแบ่งเป็นสี่ดินแดนและมีเมืองหลวงเป็นของตัวเอง. ระหว่างสี่ดินแดนอันเหล่านี้ดินแดนที่มีชื่อเสียงที่สุดคือดินแดนสยามและเมืองหลวงของมันนั้นตั้งอยู่ทางทิศเหนือของกรุงเทพในปัจจุบัน. ดินแดนนี่คือดินแดนที่ใหญ่ที่สุดจากสี่ดินแดนนั้น.

เมือคนไทยที่อยู่ในภาคใต้ของประเทศจีนมาโจมตีพื้นที่นั้นและคนไทยนั้นก็ให้ชื่อว่าสยามเหมือนกัน. ด้วยเหตุนี่คนไทยก็มีชื่อเสียงและยอมรับใกล้ทั่วโลกด้วยชื่อว่าสยามจนถึงวันนี้.  

แต่ทั้งสามราชอาณาจักรเหล่านี้ใด้รักษาอิทธิพลของพวกเขาอย่างแนบแน่นจนจนถึงศตวรรษที่เก้า หลังจากนั้นอิทธิพลของพวกเขาใด้เปลี่ยนแปลงโดยครอบครองของราชอาณาจักรลาวก็แพ้และถูกยึดอำนาจโดยคนขอม. หลังจากนั้นในศตวรรษที่ 12 ประเทศทั้งหมดที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของคนขอมก็ถูกยึดอำนาจโดยคนไทย. ตั้งแต่นั้นอำนาจทั้งหมดของคนขอมและคนลาวในดินแดนสยามก็ถูกยึดเหมือนกันจนหมดสิ้น.

อันที่จริงทั้งสามราชอาณาจักรเหล่านี้ใด้สร้างความสัมพันธ์กับประเทศและราชอาณาจักรอื่นในเกาะที่อยู่ทางภาคใต้ของราชอาณาจักรของเขาและในเวลาเดี๋ยวกันคนจากดินแดนสยามเริ่มเคลื่อนที่ลงทางภาคใต้และมุ่งหน้าไปในดินแดนมลายู เพือไขว้เขวชีวิตของพวกเขาที่ดีกว่า. ด้วยเหตุนี้คนในดินแดนมลายูเรียกคนที่มาจากดินแดนสยามว่าคนสยาม-แท้เพือที่จะไม่ให้สับสนกับคนไทยที่มีอยู่ในปัจจุบัน. ดังนั้นเราเรียกเขาว่าสยาม-แท้ที่หมายความว่าคนสยามที่อาศัยอยู่ตั้งแต่แรกในดินแดนสยามก่อนคนสยาม-ไทยจะมาถึงในปัจจุบัน.

การอพยพของคนสยาม-แท้มาในดินแดนมลายูนี้โดยทีละนิดทีละน้อยจากกลุ่มหนึ่งไปกลุ่มอืน. ตามข้อมูลจากหนังสือประวัติศาสตร์ พวกเขาอพยพมาดินแดนมลายูระหว่างศตวรรษที่สี่และที่ห้า.  ในช่วงระยะเวลาที่อันยาวนี้จำนวนของพวกเขาก็เพิ่มมากขึ้นในดินแดนมลายู. หลังจากคนสยาม-แท้ก็กดดันการครอบครองของชาวฮินดูโดยแต่งงานระหว่างเผ่าพันธุ์ของพวกเขาและในที่สุดเชื้อสายของคนสยาม-แท้ก็ผสมผสานกับชาวฮินดูและด้วยเหตุนี้การครอบครองของคนสยาม-แท้ต่อชาวฮินดูก็ดีขึ้น. ผลสุดท้ายของการผสมปนเปนี้ทำให้ราชาชาวฮินดูก็เปลี่ยนเป็นเชื้อสายสยาม-แท้. ในที่สุดการครอบครองของชาวฮินดูในดินแดนมลายูก็หายไปทีละน้อยและการครอบครองนั้นก็ตกถึงมือคนสยาม-แท้. 

ภายหลังคนสยาม-แท้ใด้ครอบครองดินแดนมลายู พวกเขาก็กดดันตลอดจนกระทั่งการครอบครองของพวกเขาขย่ายกวางไกลไปทางภาคใต้ของดินแดนมลายู อย่างเช่น รัฐฆือลังกายู ฆังฆา นะฆารา ปะฮัง และ รัฐอื่นๆ. ตอนนั้นสยาม-แท้ก็ใด้ครองจนทั่วดินแดน มลายู.    

ดังนั้นการครอบครองของคนสยาม-แท้ในดินแดน มลายูยืนยาวนานเป็นร้อยๆปีจนถึงศตวรรษที่เป็ด. การครอบครองของพวกเขาก็เริ่มอ่อนแอลงเพราะในเวลานั้นมีหนึ่งราชอาณาจักรของคนมลายูในเกาะสุมัตรา นั้นก็คือราชอาณาจักรศรีวิจยา. ราชอาณาจักรแห่งนี้ใด้มาเพื่อจะครอบครองรัฐของคนสยาม-แท้ในดินแดน มลายูและในที่สุดรัฐทั้งหมดในดินแดนมลายูก็ถูกครอบครองโดยราชอาณาจักรศรีวิจยาและการครอบครองของสยาม-แท้ก็หมดสิ้นไป. ในเวลาเดี๋ยวกันศูนย์การปกครองของคนในดินแดนสยามและการปกครองของคนสยาม-แท้ในดินแดนมลายูถูกยึดการปกครองมันโดยคนไทยที่มาจากทางภาคใต้ของประเทศจีน.

ตนกำเนิดของคนของไทยคือมาจากภาคใต้ของจีนอย่างเช่น จังหวัด ซีชวน (Sze Chuan) ยุนัน (Yunan) และอื่นๆ. เนื่องจากคนไทยที่อยู่ในจีนนี้ถูกกดดันโจมตีคงเส้นคงวาโดยคนจีนที่มีอิทธิพลกว่าพวกเขา ทำให้คนไทยต้องหนีอพยพลงมาทางใต้โดยผ่านกลางๆของคาบสมุทรอินโดจีนด้วยช้าๆจากหนึ่งพวกไปหนึ่งพวกอืน. ถึงแม้ว่าที่ไหนก็ตามถ้าพวกเขาพบสันติภาพและความปลอดภัยจากการกดขี่จากคนจีนพวกเขาก็จะสร้างประเทศเป็นของพวกเขาขึ้น. ภายหลังช่วงเวลายาวนานจำนวนประเทศที่ถูกสร้างก็เพิ่มขึ้นในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศสยามนั้น.

ในช่วงเวลาเดี๋ยวกันคนไทยที่เดินทางหนีอพยพนั้นใด้สร้างประเทศที่ใกล้กับพื้นที่ของดินแดนสยามที่อยู่ในการครอบครองของคนขอม. หลังจากนั้นคนไทยก็เริ่มโจมตีและอัดกำลังคนขอมจนกระทั่งในที่สุดทั้งหมดดินแดนสยามถูกครอบครองโดยคนไทย. คนขอมนั้นต้องอพยพหนีไปทางตะวันออกเฉียงใต้และพวกเขาก็สามารถสร้างหนึ่งราชอาณาจักรอีกในประเทศกัมพูชาที่ยืนยาวนานจนกระทั่งปัจจุบัน.

ดังนั้นทั้งหมดดินแดนสยามก็ถูกยืดโดยคนไทยถูกสร้างเป็นราชอาณาจักรของพวกเขาเองและราชอาณาจักรของพวกเขาใด้ยืนยาวนานและใด้รู้จักด้วยชื่อราชอาณาจักรไทยอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน.

ตอนนี้เรามาสำรวจเรื่องและงานที่เกี่ยวเชื่อสายของคนมลายูและที่มาของพวกเขาที่ใด้มาอยู่อาศัยในคาบสมุทรของดินแดนมลายู. บรรพบุรุษของคนมลายูนี้มาจาก เกาะปือร์ชา หรือ สุมัตรา. ในเวลาที่ชาวฮินดูอพยพเข้ามาในดินแดนมลายูนั้นมีบางส่วนของพวกเขา(ชาวฮินดู)ออกเดินทางทางเรือมุ่งหน้าไปที่ภาคตะวันออกจนถึงเกาะในภาคใต้และภาคตะวันออกของ ดินแดนมลายูนั้นคือเกาะสุมัตราและชาวฮินดูที่มานั้นก็ดำรงชีวิตและผสมปนเปกับคนในท้องถิ่นในเกาะนั้นจนกระทั่งพวกเขาใด้สร้างราชอาณาจักรๆที่ถูกสร้างโดยลูกหลานของชาวฮินดู.

ตอนนั้นความเป็นอยู่และการดำเนินชีวิตของคนจากน(ชนเผ่า)ที่ยังไม่มีประเทศเป็นของตนเองแต่พวกเขาใด้สร้างหมู่บ้านโดยมีการจัดตั้งผู้นำ. และการดำรงชีวิตของพวกเขาด้วยการจับปลาและอืนๆ. พวกเขาชำนาญในการสร้างและใช้เรือไปในป่าและพวกเขาก็กล้าหาญที่จะออกเดินทางด้วยเรือนั้นจนใกลถึงกลางๆมหาสมุทรเพือทำการมหากิน.  

เมือชาวฮินดูมาและผสมประสานอยู่อาศัยกับคนจากนจนถึงมีลูกมีหลานและใด้เกิดเชือสายที่ยึงใหญ่. เชือสายนี้ใด้สร้างคนกลุ่มใหม่ที่เรียกพวกเขาเองว่าคนมลายูที่หมายความว่า คนมีเกียรติยศ.

อันที่จริงคนมลายูเหล่านี้ใด้ก้าวหน้าเจริญและมีวัฒนธรรมดีกว่าบรรพบุรุษของพวกเขา เนื่องจากพวกเขาใด้สืบทอดวัฒนธรรมและความเจริญจากสองฝ่ายนั่นก็คือจากคนจากนและคนฮินดู. คนมลายูเหล่านี้นับถือศาสนาของบรรพบุรุษของพวกเขานั่นคือศาสนาพุทธจากนิกายมหายานหรือมหานิกายาและศาสนาพราหมณ์.

สภาพของคนมลายูนี้ดีขึ้นเรื่อยๆวันเว้นวันและจำนวนของพวกเขาก็เพิ่มขึ้นจนทำให้ต้องอพยพและเดินทางจนถึงทั่วพื้นที่และคนมลายูเหล่านี้เองที่พัฒนาพื้นที่สร้างประเทศในเกาะสุมัตรา. บางส่วนจากพวกเขาที่ออกไปในทะเลของสุมัตราโดยเดินทางด้วยเรือไปที่เกาะใหญ่อืนๆในทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปเอเชีย อย่างเช่น หมู่เกาะมลายู รวมทั้งเกาะของฮาวายและเกาะในญี่ปุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิคและในเกาะอันดามัน ซีลอน ไนยโคบา มาดากัสการ์ และเกาะอื่นๆในมหาสมุทรอินเดีย. บางส่วนจากการเดินทางของคนมลายูเหล่านี้ใด้จอดลงและสร้างประเทศที่ชายทะเลทางภาคใต้ของทวีปเอเชีย.  

การเดินทางนี้บางส่วนของพวกเขาแล่นกลับไปมาและบางส่วนก็อยู่อาศัยพักดำรงชีวิตอยู่ในพื้นที่เหล่านั้นจนกระทั่งพวกเขามีลูกหลานที่กลายเป็นพลเมืองในพื้นที่นั้น. ดังนั้นเกาะทั้งหมดในมหาสมุทรแปซิฟิคและมหาสมุทรอินเดียและบางพื้นที่ที่ชายทะเลของแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชียนี้เราจะเห็นว่าชุมชนของพวกเขาคือลูกหลานของคนมลายูโบราณ. นอกจากนี้เกาะอืนๆทางภาคตะวันตกถูกเรียกว่าหมู่เกาะแห่งมลายูที่มีความหมายว่าหมู่เกาะที่อยู่อาศัยโดยคนมลายูที่สืบทอดจากบรรพบุรุษโบราณของพวกเขา.

บางพื้นที่ของชายฝั่งทวีปเอเชียนี้เคยมาเยี่ยมและอาศัยอยู่โดยคนมลายูโบราณโดยเฉพาะอย่างยิ่งคาบสมุทรมลายูที่รู้จักด้วยชื่อราชอาณาจักรมลายู. แม้ว่าตอนนี้พื้นที่เหล่านี้คนมลายูจะไม่อยู่อาศัยแต่จากการบันทึกประวัติและดูจากร่องรอยและชื่อหมู่บ้านและอื่นๆมันกระนั้นชี้ว่าครั้งหนึ่งมันเคยอาศัยโดยคนมลายูในอดีต. บางส่วนจากพวกเขาอาศัยอยู่ในภาคเหนือของคาบสมุทรดินแดนมลายู นั้นก็คือภายใต้การควบคุมของสยาม-ไทยและจะเห็นว่ายังมีพื้นที่หรือหมู่บ้านที่ใช้ชื่อมาเลยูจนถึงปัจจุบัน.

จากข้อมูลประวัติของสยาม-ไทยใด้บันทึกไหว้ว่าในสิงโฆรา(หาดใหญ่)จะมีพื้นที่หนึ่งที่ฝั่งทะเลทางทิศเหนือของสิงโฆราและพื้นที่แห่งนั้นอยู่บนริมภูเขาที่มีชื่อว่าเขาแดงหรือภาษามลายูเรียกว่าบูเกะแมราฮ์. ในอดีตพื้นที่นี้ถูกอาศัยโดยคนมลายูที่สร้างประเทศเป็นของตนเองแต่ปีที่ประเทศนี้ถูกสร้างนและชื่อเก่าของมันนั้นไม่แน่ชัดและชัดเจน. ดังนั้นเราเชื่อว่าประเทศนี้ที่ถูกเรียกประเทศสิงโฆราตั้งแต่ดั้งเดิมจากอดีตเพราะสิงโฆรานั้นมีความหมายว่าภูเขา

นอกจากนั้นเราจะทราบจากประวัติเหตุการณ์ของประเทศพัทลุงมีบันทึกไหว้ว่าราชาที่ปกครองประเทศนั้นนับถือศาสนาอิสลาม ชื่อ สุลต่าน สุไลมาน. ราชอาณาจักรคนมาเลยูแห่งนี้สุดท้ายถูกศัตรูโจมตีและ สุลต่าน สุไลมาน สินประชนในสงครามนั้น. ดังนั้นพลเมืองทั้งหมดจากประเทศนั้นกระจัดกระจายลงและบางส่วนจากพวกเขาก็หนีไปทางทิศเหนือและสร้างประเทศใหม่ในพัทลุง หรือ    เบือะบือลุง ที่อยู่ภายใต้การปกครองของสยาม-ไทยในปัจจุบัน. ศพของสุลต่าน สุไลมาน ถูกฝังในประเทศของท่านเอง. บริเวณสุสานของท่านนั้นยังสามารถดูอีกวันนี้แต่มันเต็มไปด้วยต้นไม้และป่า. คนมลายูในสิงโฆราและ นครศรีธรรมราชเริยกสุสานของท่านนี้ว่าฮุมที่แปลว่าคนสุดท้ายและสุสานของท่านก็ยังถูกมาเยี่ยมโดยประชาชนจากประเทศทุกๆปี.

นอกจากนั้นยังมีอีกหนึ่งประเทศที่ใด้บันทึกในหนังสือประวัติที่กล่าวถึงประเทศที่ถูกสร้างในอินโด-ฝรั่งเศส นั้นก็คือประเทศชำปา.  ประเทศนี้ถูกสร้างโดยคนมลายูที่เข้ามาอพยพในอดีต. เมืองหลวงของมันชื่อพระอินทร์พุรา. อำนาจการปกครองของประเทศนี้มีชื่อเสียงมากในศตวรรษที่หนึ่งแต่ในปีคริสตศักราชที่ ๑๔๗๑ ประเทศนี้ถูกโจมตีโดยศัตรูและในที่สุดก็แพ้ลง. หลังจากนั้นประเทศถูกครอบครองโดยคนอันนัมจนกระทั่งประเทศชำปาก็ไม่รู้ตั้งอยู่ที่ไหนและมันก็แค่เป็นข้อมูลที่ใด้บันทึกในหนังสือประวัติเท่านั้น.

จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าความเข้มแข็งของคนมลายูยิ่งใหญ่แค่ไหนที่ใด้ครอบครองประเทศของคนอืนที่มีชื่อแตกต่างจากพวกเขาอย่างมาก.

การอพยพของคนมลายูจากสุมัตราไปในดินแดนมลายูโดยพวกเขาเริ่มด้วยการสร้างที่อยู่อาศัยที่ริมทะเล นั้นก็คือตามชายทะเลทางภาคใต้ของเกาะใกล้เคียงก่อนและมุ่งหน้าไปทางภาคเหนือของดินแดนมลายู. ถึงแม้ว่าตอนนั้นคนสยาม-แท้กำลังปกครองดินแดนมลายูแต่การปกครองของพวกเขาบริเวณที่ไกลจากสยาม-แท้เพราะโดยปกติคนสยาม-แท้ไม่ค่อยชอบอาศัยอยู่ที่ริมทะเลเท่าไร. ดังนั้นจะเห็นใด้ว่านส่วนใหญ่ประเทศที่พวกเขาสร้างจะตั้งอยู่กลางๆแผ่นดินใหญ่ไม่ใช่ไกลริมทะเล.

ดังนั้นคนมลายูที่อพยพเขามาในดินแดนมลายูนั้นชอบอาศัยอยู่ที่ริมทะเลและไม่มีการต่อสู้หรือเจตนาเป็นศัตรูกับคนสยาม-แท้กันเพราะพวกเขามีที่อยู่อาศัยและพื้นที่เป็นของตนเอง. นอกจากนี้คนมลายูในเวลานั้นนับถือศาสนาเดี๋ยวกันกับคนสยาม-แท้และด้วยเหตุนี้พวกเขาสามารถอาศัยอยู่อย่างสงบสุข. ในความเป็นจริงคนมลายูที่อพยพในตอนนั้นไม่มีเจตนาและความตั้งใจอย่างอืนนอกจากพวกเขาแค่อย่ากดำเนินชีวิตอยู่ด้วยกันในดินแดนมลายูแต่จำนวนของพวกเขาก็เพิ่มขึ้นจนกระทั่งขย่ายกวางไปทางภาคใต้และทางภาคเหนือของทะเลในดินแดนมลายู. บังเอิญในเวลานั้นอำนาจและการครอบครองของราชอาณาจักรศรีวิจยาในสุมัตรากำลังกำลังรุดหน้า. ดังนั้นเจตนาของคนมลายูก็เปลี่ยนจากแค่อย่ากจะดำรงชีวิตเป็นอย่ากจะมีอำนาจและปกครองในดินแดนมลายูเอง. เจตนาเหล่านี้เริ่มด้วยหนึ่งในเจ้าชายของศรีวิจยาที่ชื่อ ราชานิลาอุตะมา ใด้มาสร้างประเทศเตือะมาซิกซึ่งก่อนหน้านี้พื้นที่ที่เจ้าชายสร้างประเทศนั้น คนมลายูกำลังอาศัยอยู่จนกระทั่งถูกสร้างเป็นราชอาณาจักรที่ปกครองอยู่ตรงนั้นที่มีชื่อว่าสิงคโปร์และประเทศนี้คือราชอาณาจักรแรกที่ถูกสร้างโดยคนมลายูและหลังจากนั้นมันถูกยึดครองโดยราชาของคนสยาม-แท้จนทั่วในดินแดนมลายู.

ตอนนี้ให้เรามาพิจารณาสถานการณ์ของราชอาณาจักรศรีวิจยานิดหน่อย. ราชอาณาจักรศรีวิจยาโบราณในเกาะสุมัตราเป็นราชอาณาจักรแรกทีปกครองและศูนย์การปกครองของมันมีชื่อเสียงในศตวรรษที่หนึ่งที่อยู่ในรัฐปาเลมบังของประเทศอินโดนิเชียในปัจจุบัน. คนแรกที่สร้างประเทศนี้คือคนมลายูที่นับถือศาสนาฮินดูหรือที่เรียกว่าคนมลายู-ฮินดู. ราชอาณาจักรของพวกเขาถูกตระกูลๆของราชาพวกเขาปกครองและตระกูลนั้นใด้ชื่อว่าตระกูลของราชาซิเลิน. ดังนั้นถูกเชื่อว่าราชาแรกที่สร้างและปกครองจากราชอาณาจักรศรีวิจยามีชื่อว่าราชาซิเลินและเป็นสัญลักษณ์สูงสุดของการปกครองในตอนนั้น.

ราชอาณาจักรศรีวิจยาแห่งนี่ใด้เจริญจนถึงศตวรรษที่สิบสี่และอำนาจของมันถูกทำลายลง. ในเวลานั้นมันมีอำนาจการปกครองทั่วทั้งราชอาณาจักรจนกระทั้งประเทศที่คนสยาม-แท้ครอบครองอยู่ก็ถูกยึด อย่างเช่น ในดินแกนมลายู สุมัตรา เกาะชวา บาหลีและอื่นๆ. ในศตวรรษที่แปด ศรีวิจยาใด้ยึดประเทศมลากาและหลังจากนั้นในศตวรรษที่เก้าการครอบครองของศรีวิจยาก็เพิ่มขย่ายขึ้นจนกระทั่งพระองค์ใด้ครอบครองประเทศนครศรีธรรมราชและประเทศอืนๆที่อยู่ในภาคใต้จนถึงภาคเหนือของสยาม นั้นก็คือพระองค์ใด้ครอบครองนครปฐมหรือภาษามลายูเรียกว่า นิคาปธรรม ที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกของบางกอกในปัจจุบัน.

ศรีวิจยาในเวลานั้นใด้สร้างวัดที่ใหญ่ในประเทศนครศรีธรรมราชและนครปฐมและบางส่วนของวัดนั้นยังมีเหลืออยู่ในวันนี้. เริ่มจากเวลานั้นการครอบครองของสยาม-แท้ในดินแดนมลายูก็เปลี่ยนเป็นของคนมลายูจากสุมัตรา. ในเวลานั้นคนมลายูมาก็กลับไปในดินแดนมลายูอย่างอิสระจนกระทั่งพวกเขาจับกลุ่ม และสร้างประเทศใหม่ อย่างเช่น ยะโฮ สลางือร์ ตรังกะนู  เแปรัก  กลันตัน และปัตตานี. ประเทศทั้งหมดเหล่านี้อยู่ภายใต้อำนาจของศรีวิจยา.

อำนาจการปกครองของราชอาณาจักรศรีวิจยาก็ยังดำเนินยืนอยู่และขยายจนถึงศตวรรษที่สี่. หลังจากนั้นอำนาจของมันก็เริ่มอ่อนแอกำลังลงเพราะในเวลานั้นศูนย์กลางการปกครองในประเทศปาเลมบังในสุมัตราล้มลงในมือของราชอาณาจักรมจาปาฮิด นั้นก็คือราชอาณาจักรใหม่ที่อยู่ในเกาะชวาในปีคริสตศักราชที่1377. และในเวลานั้นราชอาณาจักรมจาปาฮิดใด้ยึดประเทศสิงคโปร์และประเทศๆอืนในดินแดนมลายู.

ในเวลาราชอาณาจักรศรีวิจยาเริ่มอ่อนแอกำลังลงคนไทยที่อยู่อาศัยและปกครองในดินแดนสยามก็มาโจมตีและยึดครองประเทศนครศรีธรรมราชและประเทศที่อยู่ในใต้ภาคสยาม. และในเวลานี้ทั้งหมดการครอบครองของศรีวิจยาในดินแดนมลายูและในดินแดนสยามก็ถูกยึดครองและในเวลานั้นดินแดนมลายูถูกแยกเป็นสองเขตแดน นั้นก็คือภาคเหนือถูกปกครองโดยราชอาณาจักรไทยและภาคใต้ถูกยึดครองโดยราชอาณาจักรมจาปาฮิด.

ถึงแม้ว่าทั้งหมดของประเทศของคนมาเลยูอยู่ภายใต้ราชอาณาจักรมจาปาฮิดแต่ด้วยเหตุเพราะว่าศูนย์การปกครองของมันที่ตั้งอยู่ในป็นเกาะชวาที่ตั้งอยู่ไกลจากดินแดนมลายูจนทำให้ประเทศๆในดินแดนมลายูถูกปลอยไม่สนใจจากศูนย์การปกครองทำให้ประเทศนั้นถูกปกครองโดยราชาของตนเอง. เมือราชอาณาจักรมจาปาฮิดหมดอำนาจเพราะถูกยึดครองโดยราชอาณาจักรอิสลามในเกาะชวา ประเทศๆใน ดินแดนมลายูก็ยิ่งถูกปลอยไม่สนใจ. หลังจากนั้นอำนาจการปกครองก็กลับอยู่ในมือของราชามลายูและปกครองประเทศด้วยตนเอง. ตั้งแต่นั้นราชามลายูก็ปกครองบนบัลลังก์ของพวกเขาเองอย่างเสรีและไม่ถูกรบกวนโดยอำนาจอืนๆอีก. นี้คือเป็นพื้นฐานอิสรภาพของประเทศในดินแดนมลายูจนถึงปัจจุบัน.

ในเมือศาสนาอิสลามแพร่กระจายมาถึงในคาบสมุทรอาหรับที่ถูกเผยแพร่โดยศาสดาท่านนบีมูฮัมมัดทำให้ศาสนาอิสลามกระจายมาถึงอินเดียและจากอินเดียศาสนาอิสลามถูกแพร่มาถึงในดินแดนมลายูและเกาะๆไปภาคตะวันออกนี้. นักประวัติศาสตร์ใด้บันทึกไหว้ว่าประเทศเคดาฮ์ เป็นประเทศแรกที่อาศัยอยู่โดยคนคนมุสลิมในศตวรรษที่เก้า พวกเขานั้นคือพ่อค้าชาวอาหรับ อินเดีย และเปอร์เซียที่มาทำธุรกิจในดินแดนมลายู.

ในปีคริสต์ศักราชที่ 1403  มีราชาคนหนึ่งจากมลายู-ฮินดูที่ปกครองราชอาณาจักรมลากา ด้วยความเต็มใจและความสมัครใจของพระองค์เอง ใด้เปลี่ยนศาสนาและเข้านับถือศาสนาอิสลาม. ตอนที่พระองค์ยังนับถือศาสนาฮินดูพระองค์มีพระนามว่า ราชาพระเมซวาราและเมือพระองค์นับถือศาสนาอิสลามใด้ตั้งนามว่า สุลต่าน มูฮัมมัด ซะฮ์. หลังจากนั้น  ราชามหาวังซา ที่ปกครองประเทศเคดาฮ์ก็ใด้นับถือศาสนาอิสลามและตั้งนามว่า สุลต่าน มันโซร์ ซะฮ์. หลังจากนั้นศาสนาอิสลามก็แพร่กระจายจนทั่วประเทศในดินแดนมลายูจนถึงประเทศที่ภายใต้การปกครองของสยาม. และมีบางส่วนจากคนสยามที่นับถือศาสนาอิสลามที่เรียกพวกเขาว่าคน ซัม-ซัม.

Hosted by www.Geocities.ws

1