3 Volt Speaker Amplifier
เป็นวงจรขยายที่ใช้ไฟเลี้ยง 3 Volt วงจรนี้ใช้กับวงจรที่ให้กำลังน้อยๆ โดยเฉพาะกับวิทยุหรือเทปที่ไม่มีลำโพงภายในตัว

2 Stage Speaker Amplifier
วงจรนี้ไม่ต้องการ input transformer แต่ต้องการ transformer ที่ลำโพงที่เป็น output เช่นเดียวกัน วงจรนี้ใช้กับวงจรที่ให้กำลังน้อยๆ โดยเฉพาะกับวิทยุหรือเทปที่ไม่มีลำโพงภายในตัว

Microphone Preamplifier
วงจร Preamplifierใช้เพื่อการบันทึกเสียง

Audio Mixer
ใช้เพื่อนำสัญญาณสองสัญญาณหรือมากกว่า มารวมกัน

Audio Oscillator
วงจรสร้างสัญญาณให้มีความถี่ได้หลายๆพันเฮิร์ต การปรับความถึ่ทำได้โดยปรับค่า R3 ในกรณีที่ต้องการใช้สร้างความถี่ตำๆ ให้เพิ่มค่า C1

Metronome


Logic Probe


Adjustable Siren
การปิดวงจรโดยการกดสวิทช์ S1 จะทำให้โทนเสียงสูงขึ้น แต่ถ้าเปิดวงจรโดยการปล่อยสวิทช์จะทำให้โทนเสียงลดลงมา S2 และ R4 จะควบคุมขอบเขตของโทนเสียง

Audio Noise Generator
วงจรสร้าง Sound Effects หรือ Noise เพื่อใช้ทดสอบในห้องอัด โดยตัวทดสอบคือ sound meter

Switch Debouncer
วงจรสร้างสัญญาณทริกเกอร์ให้กับวงจรลอจิกการกดสวิทช์หนึ่งครั้งจะสร้างสัญญาณทริกเกอร์หนึ่งลูก หากต้องการให้สัญญาณที่ทริกออกไปยังคงอยู่ในช่วงเวลาหนึ่งให้ต่ C1 220uF ที่เอ้าพุท

Pulse Generator
สร้างพัลซ์ออกมา โดยมีแอมพลิจูดประมาณ 10 โวลท์ถ้าใช้ supply 12.5 โวลท์

Light Activated Flasher
แสงที่เข้ามาที่ ทรานซิสเตอร์ Q1 จะทำให้ LED กระพริบ แต่ถ้าไม่มีแสงมาที่ Q1 LED จะไม่ทำงาน

Dark Activated Flasher
LED จะกระพริบในตอนกลางคืน หรือเมื่อไม่มีแสงมากระทบกับ Q1(Photo Transistor) C1 จะควบคุมอัตราการกระพริบของ LED

High Brightness Flasher
วงจรนี้เป็นวงจรไฟกระพริบอีกวงจรหนึ่งที่ให้กระแสค่อนข้างเยอะ ซึ่งจะทำให้ L1 กระพริบ ไม่ควรปล่อยให้ L1 เปิดตลอดเวลาเพราะอาจจะทำให้หลอดเสียได้ อัตราการกระพริบประมาณทุกๆวินาที ส่วนการควบคุมอัตราการกระพริบให้ปรับค่า R1

LED Transmitter/Receiver
วงจรนี้ทำงานเมื่อมีแสงมากระทบที่ Q1 (Phototransistor) เมื่อมีแสงกระทบ วงจรภาครับจะทำให้มีสัญญาณเสียงที่ Piezo Alerter วงจรนี้สามารถนำไปใช้ในการวัดปริมาณชิ้นงานหรือวัดบางสิ่งที่สามารถบดบังแสงจาก LED ในภาคส่งได้

1
Hosted by www.Geocities.ws