ความเป็นมาของปัญหา

                       คุณภาพของน้ำในบ่อปลาเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออัตราการเจริญเติบโต การเกิดโรคและปรสิต การผสมพันธุ์วางไข่ และการตายของปลาถ้าปลาได้อาศัยอยู่ในน้ำที่มีคุณภาพดีเหมาะสม ต่อชนิดและขนาดของปลาก็จะทำให้ปลาดำเนินชีวิตได้ดีเจริญเติโตอย่างปราศจากโรค ดังนั้นจึงจำเป็นต้องเติมออกซิเจน หรืออากาศให้กับน้ำที่อยู่ในบ่อปลา แต่การเติมอากาศให้กับน้ำในบ่อปลาจำเป็นต้องเติมตล อดเวลาโดยไม่มีการหยุดพัก จึงทำให้เครื่องเติมออกซิเจนประเสบกับปัญหาประสิทธิภาพแลอายุการใช้งานน้อยลงหรือสั้นลง
        ดังนั้นจึงมีความคิดที่จะลดสภาวะการทำงานของเครื่องอัดอากาศหรือหยุดพักการทำงานโดยที่มีการจ่ายลมให้กับบอ่ปลาโดยตลอดและยังได้นำ คอมเพรสเซอร์ มมทำการอัดอาากาศเพื่อนำมาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องเพิ่มออกซิเจนในปัจจุบัน

จุดมุ่งหมายของการวิจัย

     1. เพื่อศึกษาการเพิ่มออกซิเจนในบ่อปลา
     2. เพื่อออกแบบสร้างเครื่องเพิ่มออกซิเจนในบ่อปลา
     3. เพื่อหาประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องออกซิเจนในบ่อเลี้ยงปลา

ความสำคัญของการวิจัย

        ผลการวิจัยครั้งนี้จะเป็นข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงปลาหรือสัตว์น้ำชนิดอื่นและผู้ที่เกี่ยวข้อง นำไปพัฒนาและปรับปรุงใช้ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ขอบเขตของการวิจัย

     1. สามารถจ่ายลมได้ตลอดเวลา
     2. สามารถผลิตลมปริมาณ 50 ปอนด์ ได้ภายในเวลา 45 วินาที
     3. การผลิตลมของเครื่องเป็นแบบอัตโนมัติ
     4. มีอุปการณ์ป้องกันลมเกินเพื่อความปลอดภัย

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

     
1. คาดว่าจะได้เครื่องเพิ่มออกซิเจนในบ่อปลาที่สามารถผลิตลมปริมาณ 50 ปอนด์ได้ภายในเวลา 45 วินาที
     2. คาดว่าจะได้เครื่องเพิ่มออกซิเจนที่สามารถทำงานได้ตลอดเวลา
     3. คาดว่าจะได้เครื่องเพิ่มออกซิเจนที่สามารถให้ออกซิเจนได้ในน้ำลึกประมาณ 1 เมตร
     4. คาดว่าจะสามารถนำเครื่องเพิ่มออกซิเจนในบ่อปลาที่ได้ปมาประยุกต์ใช้เป็นเครื่องพ่นสี (Paint Brush) หรือเครื่องเติมลม

คุณลักษณะเครื่องผสมสารเคมีสำหรับหอมแบบใช้ไฟฟ้า

     1. เครื่องเพิ่มออกซิเจนในบ่อเลี้ยงปลาโดยใช้คอมเพรสเซอร์ ใช้สำหรับผลิตลมปริมาณ 50 ปอนด์ ได้ภายในเวลา 45 วินาที
     2. การทำงานของเครื่องสามารถทำงานได้ตลอดเวลา
     3. การทำงานของเครื่องเพิ่มออกซิเจนในบ่อเลี้ยงปลาเป็นแบบอัตโนมัติ
     4. ติดตั้งอุปกรณ์ปรับปริมาณลมออกสำหรับปรับปริมาณลมที่นำออกไปใช้งาน
     5. ติดตั้งหัวจ่ายลม 3 หัวจ่ายและใน 1 หัวจ่ายแยกออกไปใช้งานได้ 2 ทาง
     6. ใช้โปโลลมเป็นอุปกรณ์ป้องกันสำหรับระบายปริมาณลมที่เกิน เนื่องจากเพรสเซอร์สวิทช์ไม่ทำงาน
     7. ใช้เซอร์กิตเบรกเกอร์สำหรับตัดตอนระบบวงจรไฟฟ้า

 

 

     

  



รอรูปอยู่ครับผม.... :)

รูปเครื่องเครื่องเพิ่มออกซิเจนในบ่อปลา
แบบคอมเพรสเซอร์


รูปขั้นตอนการดำเนินการ

รอรูปอยู่ครับผม....:)

รูปขณะกำลังวัดหาขนาดโครงสร้าง



รูปขณะทำการตกแต่งขึ้นโครงสร้างของเครื่อง

    


                คณะผู้จัดทำ          
 
นายจะเร   โสรส
    นายทรงกต  ปั้นจาด
         นายรณรงค์    เกตุถาวร
    นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีอุตสาหกรรม 
เอกไฟฟ้าเทคโนโลยี
  สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์

อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ชัชพล เกษวิริยะกิจ

 

Hosted by www.Geocities.ws

1