ความเป็นมาของปัญหา

                               ในการผลิตไอศครีมโดยทั่วไปเราใช้น้ำแข็งกับเกลือ เป็นตัวทำความเย็น ซึ่งระหว่างการผลิต น้ำแข็งกับเกลือจะละลายไปทำให้ความเย็นลดลง ดังนั้นจึงมีแนวคิดที่จะผลิตเครื่องปั่นไอศครีม โดยใช้ระบบทำความเย็นของน้ำยา ทำความเย็นของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ (Motor Compessor) เป็นตัวทำความเย็นแทนน้ำแข็งกับเกลือ ซึ่งมีความเย็นสม่ำเสมอกว่าและยังลดต้นทุนการผลิตที่สิ้นเปลืองไปกับน้ำแข็งกลับเกลือ และยังประหยัดเวลาในการควบคุมการผลิต ซึ่งเราสามารถใช้วเวลาในการผลิตแบบใหม่นี้ไปทำงานอย่างอื่นได้

จุดมุ่งหมายของการวิจัย

     1. เพื่อสามารถผลิตไอศครีมได้
     2. เพื่อศึกษาอุณภูมและเวลาที่ใช้ในการผลิตไอศครีมได้
     3. เพื่อศึกษาส่วนผสมต่างๆ ในการผลิตไอศครีมได้
     4. เพื่อศึกษาส่วนผสมต่างๆในการผลิต ไอศครีมได้
     5. เพื่อศึกษาอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ในการผลิตไอศครีม
     6. เพื่อสามารถนำมอเตอร์สปิทเฟสมาประยุกต์ใช้งานในการผลิตไอศครีม
     7. เพื่อศึกษาการทำงานของคอมเพรสเซอร์ (Motor Compressor)
     8. เพื่อนำคอมเพรสเซอร์มาประยุกต์ใช้งาน
     9. เพื่อศึกษาวงจรไฟฟ้าของคอมเพรสเซอร์
     10. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการทำความเย็น
     11. เพื่อสามารถนำเทคโนโลยีของมอเตอร์และระบบทำความเย็นมาประยุกต์ใช้ในการผลิตเครื่องทำความเย็นมาประยุกต์ใช้ในการผลิตเครื่องทำไอศครีมได้

ความสำคัญของการวิจัย

        การวิจัยครั้งนี้จะเป็นข้อมูลสำหรับสถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปพัฒนาและปรับปรุงเครื่องปั่นไอศครีมแบบคอมเพรสเซอร์ (compressor ) แทนการใช้น้ำแข็งกับเกลือให้มีประสิทธิภาพและพัฒนายิ่งขึ้นต่อไป

ขอบเขตของการวิจัย

     1. การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาและพัฒนาเครื่องปั่นไอศครีมที่ใช้คอมเพรสเซอร์เป็นตัวทำความเย็นแทนการใช้น้ำแข็งกับเกลือ
     2. เครื่องปั่นไอศครีมแบบใช้คอมเพรสเซอร์นี้สามารถปรับอุณภูมิและตั้งเวลาในการทำไอศครีมได้

คุณลักษณะเครื่องผสมสารเคมีสำหรับหอมแบบใช้ไฟฟ้า

     1. เครื่องผลิตไอศครีม มีความสามารถปั่นไอศครีมได้ 4 –5 กิโลกรัม ต่อ 1 ครั้ง
     2. สามารถทำความเย็นได้สม่ำเสมอกว่าเครื่องที่ใช้น้ำแข็งกับเกลือ
     3. ใช้แมคเนติคในการควบคุมมอเตอร์
     4. ใช้เทอร์โมสตัท (Thermostat ) ในการควบคุมอุณภูมิ
     5. สามารถเคลื่อนย้ายได้

 

 

 

     

  



รอรูปอยู่ครับผม.... :)

รูปเครื่องเครื่องเพิ่มออกซิเจนในบ่อปลา
แบบคอมเพรสเซอร์


รูปขั้นตอนการดำเนินการ

รอรูปอยู่ครับผม....:)

รูปขณะกำลังวัดหาขนาดโครงสร้าง



รูปขณะทำการตกแต่งขึ้นโครงสร้างของเครื่อง

    


              
 

    คณะผู้จัดทำ        

 

นายวนาสัณฑ์ หรั่งเมือง
นายวินัย ทิมขาว
นายสุชาติ บุญก้ำ
นายอนุพงศ์  ทานท่า 

   นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีอุตสาหกรรม เอกไฟฟ้าเทคโนโลยี
  สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์

อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์อุดม  สมบรูณ์

  

 

Hosted by www.Geocities.ws

1