กะเหรี่ยงคือใครมาจากไหน
ตำนานการเกิดของกะเหรี่ยง กะเหรี่ยงก่อนรัตนโกสินทร์
การอพยพครั้งใหญ่สู่ไทย กะเหรี่ยงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
กะเหรี่ยง-กรมป่าไม้ใครบุกรุกใคร
กะเหรี่ยงทำลายป่าจริงหรือ?
เชิงอรรถ
" กะเหรี่ยง " ความสัมพันธ์อันยาวนานกับไทย

เชิงอรรถ

        1. นายมณเฑียร ศรีวนาพันธุ์ บ้านองหลุ ตำบลนาสวน อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ผู้เล่า
       2. ยังคงปฏิบัติกันอยู่ในกะเหรี่ยงภาคเหนือ แต่กะเหรี่ยงภาคกลางไม่มีแล้ว
       3. Aye Mya Kyew, A briet Outline on The Traditional Backgroud of The Lehkai (Ariya) religious sect เอกสารโรเนียว, หน้า 2-3.
       4. สุริยา รัตนกุล, เพลงกะเหรี่ยง การวิจัยเรื่องภาษากะเหรี่ยง, มหาวิทยาลัยมหิดล, หน้า 73-74.
       5. กะหร่างเป็นคนที่กะเหรี่ยงโปในภาคกลางใช้เรียกกะเหรี่ยงสะกอ ส่วนกะเหรี่ยงสะกอในภาคเหนือก็เรียกกะเหรี่ยงโปในภาคกลางว่ากะหร่างเช่นกัน โดยต่างฝ่ายต่างว่าตนเองคือกะเหรี่ยงแท้ ส่วนอีกฝ่ายไม่ใช่กะเหรี่ยงแท้ เป็นกะหร่าง
       6. สมเกียรติ จำลอง, "ตำนานการอพยพของกะเหรี่ยงในเขต จ.อุทัยธานีและใกล้เคียง" , ข่าวสารสถาบันวิจัยชาวเขา 9 (ม.ค.-มี.ค. 2538) หน้า 80.
       7. สุริยา รัตนกุล, เรื่องเดียวกัน, หน้า 72.
       8. ราญ ฤนาท, ศึกษาประวัติศาสตร์กะเหรี่ยงในพม่า เอกสารโรเนียว, หน้า 3 และ 7.
       9. บุญช่วย ศรีสวัสดิ์, ชาวเขาในประเทศไทย, โอเดียนสโตร์, 2506, หน้า 65.
       10. ลิลลี่ สุทธิ, "กะเหรี่ยงในประวัติศาสตร์", ข่าวสารศูนย์วิจัยชาวเขา 3 (ก.ค.-ก.ย.2521) หน้า 33.
       11. สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการปฏิบัติการจิตวิทยาแห่งชาติ, ชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง, ไม่ปรากฏสถานที่ พิมพ์, 2518, หน้า 33.
       12. สมภพ ลาชโรจน์, ประวัติความเป็นมาของกะเหรี่ยง พ.ศ.2393-2475 เอกสารทางวิชาการ, 2526, หน้า 5
       13. กรมประชาสงเคราะห์, ประวัติความเป็นมา การกระจายตัวประชากรและการโยกย้ายของชาวเขาในประเทศไทย เอกสารทางวิชาการ, โรเนียว หน้า 7.
       14. บุญช่วย ศรีสวัสดิ์, เรื่องเดียวกัน, หน้า 6-7.
       15. สมเกียรติ จำลอง, เรื่องเดียวกัน, หน้า 80.
       16. ลุงปุ บ้านน้ำพุ ตำบลเขาโจด อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ผู้เล่า.
       17. สมเกียรติ จำลอง, เรื่องเดียวกัน, หน้า 80.
       18. เจดีย์นี้เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ศูนย์รวมจิตใจของกะเหรี่ยง อยู่ที่เมืองทิอ่อง ในประเทศพม่า
       19. คนกะเหรี่ยงเชื่อกันว่าหากนำมาแช่น้ำจะทำให้เกิดฝนดี
       20. สมเกียรติ จำลอง, เรื่องเดียวกัน, หน้า 80-81.
       21. ลุงปุ บ้านน้ำพุ ตำบลเขาโจด อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ผู้เล่า.
       22. จากหนังสือกะเหรี่ยงที่บ้านตะเพินคี่ ตำบลองค์พระ อำเภอด่านช้าง จังหวัดเพชรบุรี
       23. บุญช่วย ศรีสวัสดิ์, เรื่องเดียวกัน, หน้า109.
       24. สมภพ ลาชโรจน์, เรื่องเดียวกัน, หน้า 4-5.
       25. ศรีศักร วัลลิโภดม, "ลัวะ ละว้าและกะเหรี่ยง ของเผ่าในที่สูงกับความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ - การเมืองกับรัฐในที่ราบ", เมืองโบราณ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2529) หน้า 60.
       26. สมภพ ลาชโรจน์, เรื่องเดียวกัน, หน้า 6-8.
       27. กรมประชาสงเคราะห์, เรื่องเดียวกัน, หน้า 7.
       28. สมภพ ลาชโรจน์, เรื่องเดียวกัน, หน้า 6-8.
       29. สมภพ ลาชโรจน์, เรื่องเดียวกัน, หน้า 67.
       30. สมภพ ลาชโรจน์, เรื่องเดียวกัน, หน้า 7-10.
       31. ชาลี เอี่ยมกระสินธุ์, "สยามยุครัตนโกสินทร์", นครไทย 9 (พ.ศ.2531) หน้า 20-21.
       32. ชาลี เอี่ยมกระสินธุ์, "หาดูยาก", เรื่องจริง 475 (9 ก.ย. 2530) หน้า 26-27.
       33. จันทรบูรณ์ สุทธิ, "ข้าวในการเกษตรแบบตัดฟืนโค่นเผา", ข่าวสารศูนย์วิจัยชาวเขา 6 (ต.ค. - ธ.ค. 2525) หน้า 46.
       34. จันทรบูรณ์ สุทธิ, เรื่องเดียวกัน, หน้า 47.
       35. ประวิตร โพธิอาสน์, "ปากท้องของกะเหรี่ยง", ข่าวสารศูนย์วิจัยชาวเขา, 2 (ต.ค. - ธ.ค. 2521) หน้า 47.
กลับหน้าแรก > >
© 2000-2001 by Karen Studies and Development Centre. Report technical problems to [email protected] . This document was build on: 22/06/2001 . Best view in IE4x or higher,800x600 pix.Font Medium.
Hosted by www.Geocities.ws